SlideShare a Scribd company logo
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิชาโปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
ครูฌามาดา จันดาอาจ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพบ้านไผ่
Unit 4
รหัสวิชา 3204-2104
ครั้งที่ 1
4.1 แบบทดสอบ (Test)
แบบอัตนัย (Subjective Test)
1. แบบไม่จากัดคาตอบ (Essay - Extended Response)
2. แบบจากัดคาตอบ (Essay – Restricted Response)
3. แบบตอบอย่างสั้น หรือแบบเติมคา (Short Answer or Completion)
4.1 แบบทดสอบ (Test)
แบบปรนัย (Objective Test)
1. แบบถูกผิด (True – False)
2. แบบจับคู่ (Matching)
3. แบบเลือกตอบ (Multiple – Choice)
4.2 แบบสัมภาษณ์ (Interview Form)
1. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview)
2. การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Interview)
3. ส่วนประกอบของแบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์ (Interview Form)
3. ส่วนประกอบของแบบสัมภาษณ์
1) ส่วนแรก เป็นส่วนของโครงการวิจัยและสภาพทั่วไปของการสัมภาษณ์
2) ส่วนที่สอง เป็นส่วนของสภาพทั่วไปของผู้ถูกสัมภาษณ์ที่จาเป็น
3) เป็นส่วนของข้อคาถามและเนื้อที่ว่างที่ใช้บันทึกคาตอบจากการสัมภาษณ์
4.3 แบบสังเกต (Observation Form)
แบบของการสังเกต
1. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation)
2. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participant Observation )
4.3 แบบสังเกต (Observation Form)
3. ลักษณะของการสังเกตที่ดี
ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้
แบบสังเกต (Observation Form)
3. ลักษณะของการสังเกตที่ดี
1) กาหนดจุดมุ่งหมายของการสังเกตให้แน่นอน
2) วางแผนการสังเกตไว้ล่วงหน้าและวิเคราะห์สิ่งที่จะสังเกต
3) ควรสังเกตโดยที่ผู้ถูกสังเกตไม่รู้ตัว
4) ผู้สังเกตควรทาการสังเกตในขณะที่มีความพร้อม
5) ควรระวังโดยเฉพาะอย่างยิ่งความลาเอียงที่เกิดขึ้นโดยไม่ตั้งใจ
6) ควรสังเกตซ้าหลาย ๆ ครั้ง และในสถานการณ์ต่างกัน
7) ควรมีการบันทึกการสังเกตทุกครั้งเพื่อกันการลืม
4.3 แบบสังเกต (Observation Form)
4. ประเภทของการสังเกต แบบบันทึกการสังเกตที่ใช้กันทั่วไป ได้แก่
1) แบบตรวจสอบรายการ (Checklists)
2) แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Ration Scales)
3) แบบบันทึกความถี่
4) แบบบันทึกพฤติกรรมโดยใช้รหัส
5) บันทึกโดยการเขียนบรรยายสิ่งที่สังเกตพบอย่างละเอียด
4.4 แบบบันทึกตรวจสอบรายการ (Check Lists)
แบบตรวจสอบรายการ เป็นมาตรที่ใช้วัดพฤติกรรมโดยมีรายการ
ให้ตรวจสอบ
4.4 แบบบันทึกตรวจสอบรายการ (Check Lists)
วิธีการสร้างแบบบันทึกตรวจสอบรายการ
1. กาหนดจุดมุ่งหมายของการสังเกต
2. กาหนดและอธิบายการกระทาหรือพฤติกรรมที่บ่งชี้คุณลักษณะของสิ่งที่จะ
ประเมิน
3. เขียนรายการ (ข้อความ) ที่บ่งชี้การกระทาหรือพฤติกรรม
4. จัดเรียงรายการที่แสดงลาดับของการกระทาหรือพฤติกรรม
5. นาไปทดลองกับสถานการณ์จริง และนามาปรับปรุงแก้ไข
4.4 แบบบันทึกตรวจสอบรายการ (Check Lists)
การนาแบบบันทึกตรวจสอบรายการไปใช้
แบบตรวจสอบรายการใช้ในการประกอบการสังเกตพฤติกรรมและ
แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมหรือการปฏิบัติเฉพาะเรื่องเป็นการมุ่งตรวจสอบว่ามี
การกระทาหรือมีพฤติกรรมต่าง ๆ เกิดขึ้นหรือไม่อย่างไร
4.4 แบบบันทึกตรวจสอบรายการ (Check Lists)
ข้อดีและข้อเสียของแบบบันทึกตรวจสอบรายการ
ข้อดี: แบบตรวจสอบรายการโดยการสังเกต
1) สามารถนาไปใช้สังเกตพฤติกรรม หรือการปฏิบัติได้อย่างละเอียดชัดเจน
2) ประเมินพฤติกรรม หรือการปฏิบัติเป็นรายบุคคลสามารถนาไปปรับปรุงได้ดี
3) ข้อมูลที่ได้น่าเชื่อถือเพราะได้จากสถานการณ์จริง
4) ได้ข้อมูลปฐมภูมิจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
5) ไม่ได้รบกวนหรือก่อความราคาญแก่ผู้ถูกสังเกต
ข้อดี:แบบตรวจสอบรายการโดยการสอบถาม/ทาเป็นแบบสอบถาม
6) ช่วยให้ผู้ตอบ ตอบได้เร็ว ประหยัดเวลา ข้อมูลที่ได้ มีความเชื่อถือได้สูง
7) สามารถถามคาถามได้มากข้อและครอบคลุม
8). ความสามารถและทักษะในการเขียนของผู้ตอบไม่ เป็นปัญหามากนักในการตอบเนื้อหาที่ต้องการทั้งหมด
4.4 แบบบันทึกตรวจสอบรายการ (Check Lists)
ข้อดีและข้อเสียของแบบบันทึกตรวจสอบรายการ
ข้อเสีย: แบบตรวจสอบรายการโดยการสังเกต
1) ทาให้เสียเวลามากเพราะพฤติกรรมบางอย่างเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่สั้นมาก
2) ความคลาดเคลื่อนของผู้สังเกตมีโอกาสเกิดขึ้นได้มาก
ข้อเสีย:แบบตรวจสอบรายการโดยการสอบถาม/ทาเป็นแบบสอบถาม
3) ถ้าเป็นแบบตรวจสอบรายการ แบบสอบถามผู้ทาแบบสอบถามอาจเบียดเบียนข้อคาตอบจริงได้
4) ผู้ตอบไม่ได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่
5) อาจได้ข้อมูลไม่ครบถ้วน สมบูรณ์ เพราะตัวเลือกที่กาหนดไว้ไม่ครอบคลุม
4.5 แบบสอบถาม (Questionnaire)
ในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์มีอยู่ 3 ชนิด คือ
1. แบบวัดทัศนคติ (Attitude)
2. แบบวัดความรู้ (Knowledge)
3. แบบวัดพฤติกรรม (behavior)
แบบสอบถาม (Questionnaire)
1. แบบวัดทัศนคติ (Attitude)
การสร้างมาตราวัดทัศนคติตามวิธีของลิเคิร์ท มีขั้นตอนดังนี้
1) ตั้งจุดมุ่งหมายของการศึกษา
2) ให้ความหมายของทัศนคติต่อสิ่งที่จะศึกษานั้นให้แจ่มชัด
3) สร้างข้อความให้ครอบคลุมคุณลักษณะที่สาคัญ ๆ ของสิ่งที่จะศึกษา
4) ตรวจสอบข้อความที่สร้างขึ้น
5) ทาการทดลองขั้นต้นก่อนที่จะนาไปใช้จริง
6) กาหนดการให้คะแนนการตอบของแต่ละตัวเลือก
แบบสอบถาม (Questionnaire)
2. แบบวัดความรู้ (Knowledge)
ระดับของความรู้ แบ่งได้ 6 ระดับดังนี้
1) ความรู้ความจา
2) ความเข้าใจ
3) การนาไปใช้
4) การวิเคราะห์
5) การสังเคราะห์
6) การประเมินค่า
แบบสอบถาม (Questionnaire)
2. แบบวัดความรู้ (Knowledge)
จุดประสงค์ในการวัดความรู้ มีดังนี้
1) เพื่อวัดว่า ผู้ตอบมีความรู้หรือไม่มีความรู้ในเรื่องใด
2) เพื่อวัดว่า ระดับความรู้ของผู้ตอบในเรื่องนี้มีระดับมากน้อย
เพียงใด
3) เพื่อวัดว่า ผู้ที่มีความรู้และไม่มีความรู้เรื่องนั้นกี่คน จานวนมาก
น้อยเพียงใด
แบบสอบถาม (Questionnaire)
2. แบบวัดความรู้ (Knowledge)
วิธีที่ใช้ในการวัดความรู้ มี 2 วิธีใหญ่ ๆ คือ
1) แบบอิงเกณฑ์ (Criterion-Referenced Test)
2) แบบอิงกลุ่ม (Norm-Referenced Test)
แบบสอบถาม (Questionnaire)
2. แบบวัดความรู้ (Knowledge)
ลักษณะของแบบที่ใช้ในการวัดความรู้ มี 2 แบบใหญ่ ๆ คือ
1) แบบอัตนัย เป็นแบบที่มีเฉพาะคาถามและให้ผู้ตอบตอบเอง
2) แบบปรนัย เป็นแบบที่มีคาถามและคาตอบให้ผู้ตอบเลือก
แบบสอบถาม (Questionnaire)
2. แบบวัดความรู้ (Knowledge)
ขั้นตอนการสร้างแบบที่ใช้ในการวัดความรู้ มีขั้นตอนดังนี้คือ
1) กาหนดเนื้อหาที่ต้องการวัด
2) เลือกชนิดและรูปแบบของคาถาม
3) ร่างคาถาม
4) ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัด
5) ปรับปรุงแก้ไข
6) นาไปใช้จริง
แบบสอบถาม (Questionnaire)
3. แบบวัดพฤติกรรม (behavior)
สามารถจาแนกได้ 2 ความหมายตามลักษณะของพฤติกรรม คือ
1) พฤติกรรมภายนอก คือ พฤติกรรมที่เป็นการกระทา
2) พฤติกรรมภายใน คือ พฤติกรรมที่เป็นความรู้ ความสามารถ
แบบสอบถาม (Questionnaire)
3. แบบวัดพฤติกรรม (behavior)
โครงสร้างของการวัดพฤติกรรม มีการวัดใน 3 ลักษณะ ดังนี้ คือ
1) วัดความสามารถและทักษะในวิธีการปฏิบัติ (Procedure)
2) วัดผลการปฏิบัติ (Product)
3) พฤติกรรมการปฏิบัติ (Typical Behaviors)
4.6 การสร้างแบบสอบถามเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลในแบบสอบถาม
1. ข้อคาถามไม่ควรยาวจนเกินไป
2. ข้อความ หรือภาษาที่ใช้ในข้อความต้องชัดเจน เข้าใจง่าย
3. ค่าเฉลี่ยในการตอบแบบสอบถามไม่ควรเกินหนึ่งชั่วโมง
4. ไม่ถามเรื่องที่เป็นความลับ
5. ไม่ควรใช้ข้อความที่มีความหมายกากวม
4.6 การสร้างแบบสอบถามเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลในแบบสอบถาม
6. ไม่ถามในเรื่องที่รู้แล้ว
7. ข้อคาถามต้องเหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่าง
8. ข้อคาถามหนึ่งๆ ควรถามเพียงประเด็นเดียว
9. คาตอบหรือตัวเลือกในข้อคาถามควรมีมากพอ
10. ควรหลีกเลี่ยงคาถามที่เกี่ยวกับค่านิยม
11. คาตอบที่ได้ต้องสามารถนามาแปลงออกมาในรูปของปริมาณและใช้สถิติอธิบาย
ข้อเท็จจริงได้
4.6 การสร้างแบบสอบถามเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
รูปแบบข้อคาถามในแบบสอบถาม
ข้อคาถามในแบบสอบถามอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. คาถามปลายเปิด (Open Ended Question)
2. คาถามปลายปิด (Close Ended Question)
4.6 การสร้างแบบสอบถามเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อเด่นและข้อด้อยของการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม
ข้อเด่นของการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามมีดังนี้ คือ
1) ถ้ากลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่ จะเป็นวิธีการที่สะดวกและประหยัดกว่าวิธีอื่น
2) ผู้ตอบมีเวลาตอบมากกว่าวิธีการอื่น
3) ไม่จาเป็นต้องฝึกอบรมพนักงานเก็บข้อมูลมาก
4) ไม่เกิดความลาเอียง
5) สามารถส่งแบบสอบถามให้ผู้ตอบทางไปรษณีย์ได้
6) ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูล
4.6 การสร้างแบบสอบถามเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อเด่นและข้อด้อยของการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม
ข้อด้อยของการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม มีดังนี้คือ
1) ในกรณีที่ส่งทางไปรษณีย์ มักจะได้แบบสอบถามกลับคืนมาน้อย
2) จะใช้ได้เฉพาะกับกลุ่มประชากรเป้าหมายที่อ่านและเขียนหนังสือได้เท่านั้น
3) จะได้ข้อมูลจากัดเฉพาะที่จาเป็นจริงๆ เท่านั้น
4) การส่งทางไปรษณีย์ หน่วยตัวอย่างอาจไม่ได้เป็นผู้ตอบแบบสอบถามเอง
5) ถ้าผู้ตอบไม่เข้าใจคาถามหรือเข้าใจคาถามผิดก็จะทาให้ข้อมูลมีความคลาดเคลื่อน
6) ผู้ที่ตอบกลับคืนมาทางไปรษณีย์ อาจเป็นกลุ่มที่มีลักษณะแตกต่างจากกลุ่มผู้ที่ไม่
ตอบแบบสอบถามกลับคืนมา
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
จบการนาเสนอบทเรียน
ครูฌามาดา จันดาอาจ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพบ้านไผ่
Unit 4
ครั้งที่ 1

More Related Content

What's hot

teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
sangkom
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
josodaza
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
kaew393
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
Sani Satjachaliao
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
khuwawa2513
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
Rungnapha Thophorm
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
ืnattakamon thongprung
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
Saiiew
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
yuapawan
 

What's hot (19)

teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัดSpss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
 
การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
ซิกถถถ
ซิกถถถซิกถถถ
ซิกถถถ
 
ซิกถถถ
ซิกถถถซิกถถถ
ซิกถถถ
 
Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01
Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01
Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
 

Similar to วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย

งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
nwichunee
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
tuphung
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
tuphung
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
tuphung
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
JeeraJaree Srithai
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
Anny Hotelier
 
Backward Design
Backward  DesignBackward  Design
Backward Design
krumew
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
Sarawut Tikummul
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
Sarawut Tikummul
 

Similar to วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย (20)

วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 
Backward Design
Backward  DesignBackward  Design
Backward Design
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 

More from Chamada Rinzine

ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)
ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)
ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)
Chamada Rinzine
 

More from Chamada Rinzine (20)

ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
 
ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)
ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)
ภาพที่ 9-5 ตัวอย่างบทความวิจัย (Research Article)
 
ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)
ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)
ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)
 
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
 
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
 
แนะนำบทเรียน
แนะนำบทเรียนแนะนำบทเรียน
แนะนำบทเรียน
 

วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย