SlideShare a Scribd company logo
1 of 103
สถานศึกษา ชนั้เรียน 
คาอธิบายรายวิชา โครง 
สร้างรายวิชา 
หน่วยการ 
เรียนรู้ 
แผนการจัด 
การเรียนรู้
โครงสร้างรายวิชา เป็นการกาหนดขอบข่ายของรายวิชา 
ที่จะจัดสอนเพื่อช่วยให้ผู้สอนและผู้เกี่ยวข้อง เห็นภาพรวมของ 
แต่ละรายวิชาว่า ประกอบด้วย หน่วยการเรียนรู้ จา นวนเท่าใด 
เรื่องใดบ้าง แต่ละหน่วยพัฒนาให้ผู้เรียนบรรลุตัวชี้วัดใด 
เวลาที่ใช้จัดการเรียนการสอน และสัดส่วนการเก็บคะแนนของ 
รายวิชานั้นเป็นอย่างไร
การจัดทาโครงสร้างรายวิชาจะช่วยให้ครูผู้สอน 
เห็นความสอดคล้องเชื่อมโยงของลา ดับการเรียนรู้ 
ของรายวิชาหนึ่ง ๆ ว่าครูจะสอนอะไร ใช้เวลาสอน 
เรื่องนั้นเท่าไร และจัดเรียงลา ดับสาระการเรียนรู้ 
ต่างๆอย่างไร ทาให้มองเห็นภาพรวมของรายวิชา 
อย่างชัดเจน
*องค์ประกอบของโครงสร้างรายวิชา 
ที่ 
ชื่อหน่วย 
การเรียนรู้ 
มฐ./ 
ตัวชี้วัด 
สาระสาคัญ/ 
ความคิดรวบยอด 
เวลา 
เรียน 
น้าหนัก 
คะแนน 
1 
2 
3 
. 
รวมตลอดปี/ภาคเรียน
หน่วย 
ที่ 
ชื่อหน่วย 
การเรียนรู้ 
มฐ./ 
ตัวชี้วัด 
สาระสา คัญ/ความคิด 
รวบยอด 
เวลา 
(ชั่วโมง) 
น้าหนัก 
คะแนน 
๑
หน่วย 
ที่ 
ชื่อหน่วย 
การเรียนรู้ 
มฐ./ 
ตัวชี้วัด 
สาระสา คัญ/ 
ความคิดรวบยอด 
เวลา 
(ชั่วโมง) 
น้าหนัก 
คะแนน 
๒. 
๓. 
๔. 
๕ 
๖ 
๗ 
๘
หน่วย 
ที่ 
ชื่อหน่วย 
การเรียนรู้ 
มฐ./ 
ตัวชี้วัด 
สาระสา คัญ/ 
ความคิดรวบยอด 
เวลา 
(ชั่วโมง) 
น้าหนัก 
คะแนน 
รวมระหว่างปี ๗๗ ๘๐ 
ปลายภาค ๓ ๒๐ 
รวม ๘๐ ๑๐๐
กิจกรรมที่ 1 
การวิพากษ์การจัดทาโครงสร้างรายวิชา
การนิเทศการเขียนสาระสาคัญ
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
สู่การกา หนดสาระสาคัญ
สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด 
เป็นความรู้ ความคิด ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง 
หรือความรู้ที่เป็นแก่น เป็นหลักการของเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 
ทเี่กิดจากการหลอมรวมของมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัดใน 
หน่วยการเรียนรู้
ตัวชี้วัด 
ตัวชี้วัด ๑ 
ตัวชี้วัด ๒ 
ตัวชี้วัด ๓ 
วิเคราะห์ความคิด 
หลักตัวชี้วัด
๑. ศาสนาเป็นศูนยร์วม 
จติใจของศานกิชน 
๒. พุทธประวตัหิรอืประวตัิ 
ศาสดาทนี่บัถอื 
๓. การประพฤตตินตาม 
แบบพุทธสาวก 
๔. ประวตัศิาสดาของ 
ศาสนาอนื่ 
๕. การมสี่วนร่วมในการ 
บารุงรกัษาศาสนสถาน 
ของศาสนาทตี่นนบัถอื
หน่วย 
ที่ 
ชื่อหน่วย 
การเรียนรู้ 
มฐ./ 
ตัวชี้วัด 
สาระสา คัญ/ 
ความคิดรวบยอด 
เวลา 
(ชั่วโมง) 
น้าหนัก 
คะแนน 
๑
ตัวชี้วัด 
ตัวชี้วัด ๑ 
ตัวชี้วัด ๒ 
ตัวชี้วัด ๓ 
วิเคราะห์ความคิด 
หลักตัวชี้วัด
หลกัสูตรแกนกลางการศกึษาขนั้พนื้ฐาน พุทธศกัราช 2551 
วสิยัทศัน ์ จุดหมาย มาตรฐานการเรยีนรู/้ตวัชี้วดั
หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน คือ หน่วยการเรียนรู้ที่มี 
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด เป็นเป้าหมายของหน่วย 
และองค์ประกอบภายในหน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ มาตรฐาน 
การเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสา คัญ สาระการเรียนรู้ ชิ้นงาน 
หรือภาระงานท่กีา หนดให้ผู้เรียนปฏิบัติ กิจกรรมการเรียน 
การสอนและเกณฑ์การประเมินผล ทุกองค์ประกอบของ 
หน่วยการเรียนรู้ จะต้องเชื่อมโยงกับมาตรฐาน/ตัวชี้วัด 
ที่เป็นเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้
1.ชื่อหน่วย 
การเรียนรู้ 
6.คุณลักษณะ 
อันพึงประสงค์ 
2.มาตรฐาน 
การเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
3.สาระสาคัญ/ 
ความคิดรวบยอด 
4.สาระการเรียนรู้ 
7.ชิ้นงาน/ภาระงาน 
5.สมรรถนะสาคัญ 
ของผ้เูรียน 
8.การวัดและประเมินผล 
9.กิจกรรมการเรียนรู้
2.มาตรฐาน 
การเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
3.สาระสาคัญ/ 
ความคิดรวบยอด 
5.สมรรถนะสาคัญ 
ของผู้เรียน 
6.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
7.ชิ้นงาน/ภาระงาน 
8.การวัดและประเมินผล 
9.กิจกรรมการเรียนรู้ 
4.สาระการเรียนรู้ 
เป้ าหมายการเรียนรู้ 
หลักฐานการเรียนรู้ 
กิจกรรมการเรียนรู้ 
1.ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 
10.เวลา
37 
เป้ าหมาย 
การเรียนรู้ 
หลักฐาน 
การเรียนรู้ 
กิจกรรม 
การเรียนรู้
*ขนั้ตอนการออกแบบ 
หน่วยการเรยีนรู้ 
1. กาหนดเป้าหมายการเรยีนรู้ 
2.กาหนดหลกัฐานแสดงผลของการเรยีนรู้ 
3. วางแผนการจดักจิกรรมการเรยีนรู้
* 
คา ถามสา คญั 
 ผูเ้รยีนมคีวามรูค้วามเขา้ใจ ความสามารถ 
อะไรบา้ง(มฐ.แกนกลาง) 
 เนอื้หาแบบไหนทคี่วรค่าแก่การเรยีนรู้ 
 ความเขา้ใจทลี่กึซงึ้ควรมอีะไรบา้ง
*การจดัลาดบัความสาคญัของผลการเรยีนรู้ 
สงิ่ทมี่คีุณค่าและน่าจะรู้ 
สงิ่ทจี่า เป็นตอ้งรู้ 
และทาได้ 
ความเขา้ใจทลีุ่่มลกึและยงั่ยนื 
“Enduring understanding”
* 
คา ถามสา คญั 
จะรูไ้ดอ้ย่างไรว่าผูเ้รยีนเกดิ 
การเรยีนรู้ 
ชนิ้งานแบบไหนทมี่คีุณภาพ
การ 
ตรวจสอบ 
ความ 
เขา้ใจ 
อย่าง 
ไม่เป็ น 
ทางการ 
การ 
สงัเกต 
หรอื 
พูดคุย 
การ 
ทดสอบ 
การใหโ้จทย ์ 
หรอืประเด็น 
ปัญหา ให้ 
นกัเรยีน 
ไปขบคดิ 
การลงมอื 
ปฏบิตั/ิ 
โครงงาน 
* 
หลกัฐานทบี่่งชี้ว่าผูเ้รยีนไดบ้รรลุเป้าหมายการเรยีนรู้ 
ทกี่าหนด ดว้ยวธิีการทหี่ลากหลาย
* ความสมัพนัธร์ะหว่าง 
การจดัลาดบัผลการเรยีนรูแ้ละการ 
ประเมนิผล 
สงิ่ทมี่คีุณค่า 
และน่าจะรู้ 
สงิ่ทจี่า เป็นตอ้งรู้ 
และทาได้ 
ความเขา้ใจทลีุ่่มลกึ 
และยงั่ยนื 
รูปแบบการประเมนิ 
• แบบทดสอบต่าง ๆ 
* การเลอืกคา ตอบ 
* คา ตอบทมี่โีครงสรา้ง 
•โครงงาน/การลงมอืปฏบิตัิ 
ในสถานการณ์จรงิ 
* คาถามปลายเปิด 
* ชนิ้งาน/สถานการณ์ทซี่บัซ้อน 
* ปฏบิตังิานในสถานการณ์จรงิ
* 
คา ถามสาคญั 
 ความรูแ้ละทกัษะอะไรจะช่วยใหผู้เ้รยีน 
มคีวามสามารถตามเป้าหมายทกี่าหนดไว้ 
 กจิกรรมอะไรจะช่วยพฒันาผูเ้รยีนไปสู่ 
เป้าหมาย ทกี่าหนด 
 สอื่การสอนอะไรจงึจะเหมาะสมสาหรบักจิกรรม 
การเรยีนรูข้า้งตน้ 
 การออกแบบโดยรวมสอดคลอ้งและลงตวัหรอืไม่
จากเป้าหมาย เป้าหมายการเรยีนรู้ 
และหลกัฐาน 
คดิยอ้นกลบั 
สู่จุดเรมิ่ตน้ 
ของกจิกรรม 
หลกัฐาน 
ผลของการเรยีนรู้ 
4 กจิกรรม 
3 กจิกรรม 
2 กจิกรรม 
1 กจิกรรม 
จากกจิกรรม 
ทลีะขนั้บนัได 
สู่หลกัฐานและ 
เป้ าหมาย 
การเรยีนรู้
ประเด็นการนิเทศ การจัดทา หน่วยการเรียนรู้
1. ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 
จะต้องสะท้อนให้เห็นสาระสาคัญของ 
หน่วยการเรียนรู้ น่าสนใจ เหมาะสมกับวัย 
มีความหมายและสอดคล้องกับชีวิตจริงของผู้เรียน
ครูควรทาอย่างไร
มาตรฐานการเรียนรู้/ 
ตัวชี้วัด 
สมรรถนะสา คัญ 
ของผู้เรียน 
คุณลักษณะ 
อันพึงประสงค์
ตัวชี้วัด 
ผู้เรียนรู้อะไร/ 
ทาอะไรได้ 
นาไปสู่ 
ผู้เรียนรู้อะไร 
ผู้เรียนทา อะไรได้
9.ตีความและประเมิน 
คุณค่าแนวคิดที่ได้ 
จากงานเขียนอย่าง 
หลากหลายเพื่อ 
นาไปใช้แก้ปัญหาใน 
ชีวิต 
ผู้เรียนรู้อะไร 
การอ่านตีความและ 
การประเมินค่าแนวคิด 
ที่ได้จากงานเขียนอย่าง 
หลากหลายทั้งด้านการ 
ใช้ภาษา วิธีการเขียน
9.ตีความและ 
ประเมินคุณค่า 
แนวคิดท่ไีด้ 
จากงานเขียน 
อย่างหลากหลาย 
เพื่อนาไปใช้ 
แก้ปัญหาในชีวิต 
1. ความสามารถ 
ในการสื่อสาร 
2.ความสามารถ 
ในการคิด 
3.ความสามารถ 
ในการแก้ปัญหา 
1.ใฝ่เรียนรู้ 
2.วิเคราะห์เพิ่มเติม 
ได้จากคุณลักษณะ 
ที่เป็นจุดเน้นของ 
เขตพื้นที่หรือ 
สถานศึกษา หรือ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 
และข้อคิดใน 
การดารงชีวิต 
ผู้เรียนทา อะไรได้ 
ตีความและประเมิน 
คุณค่าแนวคิดที่ได้รับ 
จากการอ่าน นาไป 
ประยุกต์ใช้และ 
แก้ ปัญหาในชีวิต
๑.บอกประโยชน์ 
และปฏิบัติตนเป็น 
สมาชิก ท่ดีีของ 
ครอบครัวและ 
โรงเรียน 
ผู้เรียนรู้อะไร 
การเป็นสมาชิกที่ดี 
ของครอบครัวและ 
โรงเรียนทา ให้อยู่ 
ร่วมกันอย่างมี 
ความสุข 
ผู้เรียนทา อะไรได้ 
ปฏิบัติตนเป็นสมาชิก 
ที่ดีของครอบครัว 
และโรงเรียน
ชิ้นงานหรือภาระงานเป็นหลักฐาน / ร่องรอยว่านักเรียน 
บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัดในหน่วยการเรียนรู้ 
นั้น ๆ อาจเกิดจากผู้สอนกา หนดให้ หรืออาจให้ผู้เรียน 
ร่วมกันกาหนดขึ้นจากการวิเคราะห์ตัวชี้วัดในหน่วย 
การเรียนรู้
ชิ้นงาน 
 งานเขียน 
- เรียงความ 
- จดหมาย 
- โคลงกลอน 
- การบรรยาย 
- การเขียนตอบ
 ภาพ / แผนภูมิ 
- แผนผัง 
- แผนภูมิ 
- ภาพวาด 
- กราฟ 
- ตาราง
 สิ่งประดิษฐ์ 
- งานประดิษฐ์ 
- งานแสดงนิทรรศการ 
- หุ่นจา ลอง
ภาระงาน 
 การพูด / รายงานปากเปล่า 
(การอ่าน กล่าวรายงาน โต้วาที 
ร้องเพลง สัมภาษณ์ บทบาทสมมุติ 
เล่นดนตรี การเคลื่อนไหวร่างกาย)
งานที่มีลักษณะผสมผสานระหว่าง 
ชิ้นงาน / ภาระงาน 
 การทดลอง 
 การสาธิต 
 ละคร 
 วีดิทัศน์ 
ฯลฯ
มาตรฐาน/ 
ตัวชี้วัด 
หลักฐานการเรียนรู้วิธีการวัด เครื่องมือวัด
การประเมินโดยใช้รูบริค (rubric) 
เป็นการประเมินที่เน้นคุณภาพของชิ้นงาน 
หรือภาระงานทชีี่้ให้เห็นระดับความรู้ 
ความสามารถของผู้เรียน
รูปแบบของเกณฑ์การประเมิน 
 เกณฑ์การประเมินในภาพรวม (Holistic 
Rubric) พิจารณาจากภาพรวมของชิ้นงานโดยมีคา อธิบาย 
ลกัษณะของงานแต่ละระดบัอย่างชดัเจน (3-6 ระดบั) 
เกณฑ์การประเมินแบบแยกองค์ประกอบ (Analytic 
Rubric) พิจารณาจากองค์ประกอบย่อยของงาน โดย 
กา หนดแนวทางการให้คะแนนของแต่ละองค์ประกอบย่อยไว้ 
อย่างชดัเจน
ขนั้ตอนการสรา้งเกณฑ์การประเมิน 
 ระบุคุณลักษณะของชิ้นงานที่ 
มีคุณภาพดี และชิ้นงานที่ 
มีคุณภาพต ่า 
 ระบุรายการที่เป็นเกณฑ์ จากคุณลักษณะของชิ้นงานที่ 
มีคุณภาพดี 
 บรรยายลักษณะของชิ้นงานที่ 
ดีที่ 
สุดและมีคุณภาพต ่า 
ที่ 
สุดก่อน แล้วจึงบรรยายลักษณะที่ 
อยู่ระหว่างกลาง
การสรา้งเกณฑ์การประเมินในภาพรวม 
วิธีที่ 1 แบ่งงานตามคุณภาพ 
- แบ่งงานเป็น 3 กอง ไดแ้ก่ 
สูง กลาง ต ่า 
- เขียนอธิบายคุณลกัษณะของงาน 
แต่ละกอง
วิธีที่ 2 กา หนดระดบัความผิดพลาด พิจารณา 
ความบกพร่องของชิ้นงานแลว้หกัจากระดบัคะแนน 
สูงสุดลงมาทีละระดบั 
ตวัอย่าง เกณฑ์ประเมินการแกโ้จทย์ปัญหา 
4 = คา ตอบถูก แสดงเหตุผลถูกต้อง แนวคิดชดัเจน 
3 = คา ตอบถูก เหตุผลถูกต้อง อาจมีขอ้ผิดพลาดเล็กนอ้ย 
2 = เหตุผล/การคา นวณผิดพลาด แต่มีแนวทางไปสู่คา ตอบ 
1 = แสดงวิธีคิดเล็กนอ้ยแต่ไม่ไดค้า ตอบ 
0 = ไม่ตอบหรือตอบไม่ถูก
วิธีที่ 3 อธิบายคุณภาพตามระดบัจากสูงสุดถึงต่า สุด 
ตวัอย่าง เกณฑ์ประเมินความสามารถในการแกโ้จทย์สมการ 
4(ดีมาก) - ระบุสิ่ง 
ที่ 
โจทย์กา หนด ไม่ต้องกา หนด / ไม่ได้ 
กาหนด และสิ่งที่ 
โจทย์ถามไดค้รบถว้น 
- เขียนสมการจากโจทย์ไดถู้กต้อง 
- คิดคา นวณหาคา ตอบไดถู้กต้อง 
- แก้โจทย์ที่ 
ผิด/สรา้งโจทย์ใหม่ให้ถูกต้อง 
กะทดัรดั
การสรา้งเกณฑ์การประเมินรายองค์ประกอบ 
มีส่วนประกอบสา คญั 2 ส่วน ไดแ้ก่ 
จะ 
องค์ประกอบ / คุณลักษณะของงานที่ 
ประเมิน 
คา อธิบายลกัษณะคุณภาพของงานในแต่ละ 
องค์ประกอบ
ตวัอย่าง เกณฑ์ประเมินความสามารถในการแกโ้จทย์สมการ 
1. การแปลความโจทย์ 
ดี (2) ระบุสิ่งที่โจทย์ต้องกา หนด ไม่ต้อง 
กาหนด ไม่ได้กาหนด สิ่งที่ 
โจทย์ 
ถามได้ 
ผ่าน (1) ระบุสิ่งที่ 
โจทย์กาหนดและสิ่งที่ 
โจทย์ถามได้ 
ไม่ผ่าน (0) เขียนผิด
2. การเขียนสมการ 
ดี (2) เขียนไดถู้กต้อง สนั้ คา นวณไดเ้ร็ว 
ผ่าน (1) เขียนไดถู้กต้อง แต่ใชวิ้ธีการไม่กะทดัรดั 
ไม่ผ่าน (0) เขียนผิด 
3. ความสามารถในการคานวณ 
ดี (2) ทา ไดถู้กต้องเกิน 80%จากจา นวนขอ้ทงั้หมดผ่าน 
(1) ทา ไดถู้กต้อง50-79%จากจา นวนขอ้ทงั้หมด ไม่ผ่าน 
(0) ทาได้ถูกต ่ากว่า50%จากจา นวนขอ้ทงั้หมด
ตัวอย่าง : เกณฑ์การให้คะแนน 
75
ระดบั 5 ระดบั 4 ระดบั 3 ระดบั 2 ระดบั 1 
76 
นาเสนอเรื่องราวตาม 
จุดประสงค์ได้อย่างชัดเจน 
มีประสิทธิภาพ 
นาเสนอเรื่องราว 
ตามจุดประสงค์ 
ที่ต้องการได้ 
มีการกา หนดจุดประสงค์แต่ 
ไม่สามารถนาเสนอเรื่องราว 
ได้อย่างสมบูรณ์ 
พยายามกาหนดจุดประสงค์ 
แต่ไม่สามารถนาเสนอ 
เรื่องราวตามจุดประสงค์ได้ 
ไม่กาหนดจุดประสงค์ 
และไม่มีการนาเสนอ 
เรื่องราวตามจุดประสงค์ 
ผู้เขียนปรับการนาเสนอ 
ให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้อ่าน 
แต่ละกลุ่ม 
ผู้เขียนตระหนกั 
ในความสา คัญ 
ของผู้อ่าน 
ผู้เขียนตระหนกัในความ 
สา คัญของผู้อ่าน 
ผู้เขียนให้ความสา คัญ กับ 
ผู้อ่านน้อยมาก 
ไม่ให้ความสา คัญ 
กับผู้อ่านเลย 
การนาเสนอความคิด 
เหตุการณ์ตามลา ดับ 
เรื่องราวเป็นไปอย่างมี 
ประสิทธิภาพ 
การนาเสนอ 
ความคิดเป็นไป 
ตามเหตุการณ์ 
ลา ดับที่เหมาะสม 
การนาเสนอความคิด 
เหตุการณ์ส่วนใหญ่เป็นไป 
ตามลา ดับที่ เหมาะสม 
การนาเสนอความคิด 
เหตุการณ์บางส่วนที่เป็นไป 
ตามลา ดับที่เหมาะสม 
การนาเสนอความคิด 
เหตุการณ์ไม่ชัดเจน ไม่ 
เป็นระบบ 
การนาเสนอเรื่องราว 
การลาดับความคิด/เหตุการณ์
(ต่อ) 
ระดบั 5 ระดบั 4 ระดบั 3 ระดบั 2 ระดบั 1 
คา ที่เขียนทั้งหมด 
อยู่บนแนวเส้น 
บรรทัด และมี 
ระยะห่างระหว่างคา ที่ 
สม่า เสมออถกูต้อง 
77 
คา ที่เขียนทั้งหมด 
อยู่บนแนวเส้น 
บรรทัดและมี 
ระยะห่างระหว่าง 
คา ท่พีอดี 
คาส่วนใหญ่อยู่บน 
แนวบรรทัด มี 
ระยะห่างระหว่างคา 
พอดี 
คาบางคาอยู่บนแนว 
บรรทัด และมี 
ระยะห่างระหว่างคา 
คา ที่เขียนไม่อยู่บน 
บรรทัด ไม่มีระยะห่าง 
ระหว่างคา 
มารยาทในการเขียน
เป้าหมาย 
สา คัญ 
สา หรับ 
การ 
พัฒนา 
เด็กและ 
เยาวชน 
มาตรฐานการเรียนรู้/ 
ตัวชี้วัด 
สมรรถนะสา คัญ 
ของผู้เรียน 
คุณลักษณะ 
อันพึงประสงค์ 
หลักการจัดการเรียนรู้ 
เน้นผู้เรียนเป็นสา คัญ 
ความแตกต่างระหว่าง 
บุคคล 
พัฒนาการทางสมอง 
เน้นความรู้คู่คุณธรรม
“การสอนใหไ้ดผ้ลดีนั้น ควรจะตอ้งเริ่มที่หลักการและจัดกระบวนการสอนให้ 
สอดคลอ้งกับหลักการโดยใชรู้ปแบบการเรียนการสอน วิธีการสอน และเทคนิคการ 
สอน ซึ่งมีอยู่หลากหลายเขา้มาช่วยใหก้ระบวนการสอนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด” 
(รองศาสตราจารย์ ดร.ทิศนา แขมมณี, 2545)
81 
เทคนิคการสอน วิธีสอน รูปแบบการสอน 
ที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้
82 
เทคนิคการสอน 
 กลวิธีต่างๆ ที่ใช้เสริมขั้นตอนการสอน วิธีสอน หรือ การ 
ดาเนินการใดๆ เพื่อช่วยให้การสอนมีคุณภาพ และประสิทธิภาพ 
มากขึ้น 
 ตัวอย่าง เช่น ในการบรรยาย ผู้สอนอาจใช้เทคนิค การยกตัวอย่าง 
การใช้คาถาม การใช้สื่อประกอบ เพื่อช่วยให้การบรรยายมี 
คุณภาพ และประสิทธิภาพมากขึ้น
83 
เทคนิคการสอนต่างๆ 
 การใช้ผังกราฟฟิค (Graphic Organizer) 
 การใช้คาถาม (Questioning) 
 การจัดกลุ่ม (Grouping) 
 การสร้างแรงจูงใจ (Motivation) 
ฯลฯ
84 
วิธีสอน 
(METHOD) 
 วิธีการต่างๆ ที่นามาใช้ในการสอน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ วิธีแต่ละ 
วิธีมีวัตถุประสงค์ และลักษณะเด่นเป็นเอกลักษณ์แตกต่างกัน 
 ลักษณะเด่นของแต่ละวธิี ก็คือลักษณะเฉพาะที่ขาดไม่ได้ของวิธีนั้น หาก 
ขาดไป ก็จะทาให้ไม่ใช่วิธีนั้นอีกต่อไป เช่น ลักษณะเฉพาะของวิธีสอน 
แบบสาธิตก็คือ การแสดง/การทาให้ดู หากไม่มีการทาให้ดู ก็จะไม่ใช่วิธีสอน 
แบบสาธิต 
 วิธีแต่ละวิธี มีวัตถุประสงค์เฉพาะ คือ เป็นวิธีที่จะช่วยให้เกิดผลเฉพาะบาง 
ประการจากการใช้วิธีนั้น เช่น วัตถุประสงค์ของวิธีสอนแบบสาธิต ก็คือการ 
ช่วยให้เห็นการปฏิบัติจริง ทาให้เห็นภาพ ทาให้เกิดความเข้าใจ และจาเรื่องที่ 
เห็นจากการสาธิตได้ดี 
การเลือกใช้วิธีสอน จึงต้องพิจารณาว่า วิธีนั้นมีวัตถุประสงค์ คือจะช่วยให้
85 
วิธีสอนแบบต่างๆ 
 บรรยาย (Lecture) 
 สาธิต (Demonstration) 
 ทัศนศึกษา (Field trip) 
 อภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion) 
 ละคร (Dramatization) 
 บทบาทสมมติ (Role Playing) 
 กรณีตัวอย่าง (Case) 
 เกม (Game) 
 สถานการณ์จาลอง (Simulation) 
 นิรนัย (Deduction) 
 อุปนัย (Induction) 
 ศูนย์การเรียน (Learning Center) 
 บทเรียนแบบโปรแกรม (Programmed Instruction) 
ฯลฯ
86 วิธีสอนและ 
วัตถุประสงค์ 
เกม 
ช่วยให้ผู้เรียน 
จำ นวนมำกเรียนรู้ 
เนื้อหำสำระ 
จำ นวนมำกพร้อม 
กันในเวลำจำ กัด 
อภิปราย 
กลุ่มย่อย 
สถานการณ์ 
จาลอง 
วิธีสอน 
เห็นกำร 
ปฏิบัติจริง 
ประจักษ์ชัด 
ด้วยตำ 
เห็นผลของกำร 
คิด กำรกระทำ 
ประจักษ์ชัด 
เรียนรู้หลักกำร 
และนำ หลักกำร 
ไปใช้ 
เรียนรู้จำกตัวอย่ำง 
เหตุกำรณ์ย่อยๆ และ 
จับหลักกำรของ 
ตัวอย่ำงเหล่ำนั้น 
เรียนรู้จำก 
ประสบกำรณ์ 
ตรงจำกสภำพ 
เรียนรู้จำกกำรมีจริง 
ส่วนร่วมอย่ำง 
ทั่วถึงแลกเปลี่ยน 
ควำมรู้และ 
ประสบกำรณ์ 
ผู้เรียนรำยบุคคล 
เรียนรู้ตำม 
ควำมสำมำรถ โดย 
อำศัยสื่อบทเรียนที่ 
ได้รับกำรออกแบบ 
ให้ผู้เรียนสำมำรถ 
เรียนรู้ และ 
ตรวจสอบผลกำร 
เรียนรู้ด้วยตนเอง 
เรียนรู้กำรเอำใจ 
เขำมำใส่ใจเรำ ช่วยให้ 
เข้ำใจควำมรู้สึกและ 
พฤติกรรมของตนและ 
ของผู้อื่น 
ช่วยให้เรื่องรำว/ 
สำระมีชีวิต เห็น 
ประจักษ์ชัดด้วย 
ฝึกฝนกำรเผชิญและ 
แก้ปัญหำ ฝึกกำร 
วิเครำะห์ และเรียนรู้ 
เรียนรู้เนื้อหำ 
สำระต่ำงๆ 
ควำมคิด 
และมุมมอง 
ของผู้อื่น 
ด้วยตนเอง โดยกำร 
ผลัดเปลี่ยนกัน 
เข้ำศึกษำค้นคว้ำตำม 
ศูนย์กำรเรียนต่ำงๆ 
ตำ 
เรียนรู้ควำมเป็นจริง 
ของสถำนกำรณ์ที่มี 
ควำมซับซ้อน 
ฝึกกำรเอำชนะ 
อุปสรรคอย่ำง 
สนุกสนำน 
และ 
ท้ำทำย
87 รูปแบบการสอน/รูปแบบการเรียนการสอน 
รูปแบบการสอน/รูปแบบการเรียนการสอน (Teaching/Instructional 
Model) คือ แบบแผนการดาเนินการสอนที่ได้รับการจัดเป็นระบบ อย่างสัมพันธ์ 
สอดคล้องกับทฤษฎี/หลักการเรียนรู้หรือการสอนที่รูปแบบนั้นยึดถือ และได้รับการ 
พิสูจน์ ทดสอบ ว่ามีประสิทธิภาพ สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม 
จุดมุ่งหมายเฉพาะของรูปแบบนั้น 
แบบแผนการดาเนินการสอนดังกล่าว ประกอบด้วย ทฤษฎี/หลักการที่ 
รูปแบบนั้นยึดถือ และกระบวนการสอนที่มีลักษณะเฉพาะ อันจะนาผู้เรียนไปสู่ 
จุดมุ่งหมายเฉพาะที่รูปแบบนั้นกา หนด ซึ่งผู้สอนสามารถนาไปใช้เป็นแบบแผน 
หรือแบบอย่างในการจัดและดาเนินการสอนอื่นๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเฉพาะ 
เช่นเดียวกันได้ การนารูปแบบการเรียนการสอนไปใช้ คือการนากระบวนการ 
หรือขั้นตอนที่รูปแบบฯ กา หนด ไปจัดเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องทสี่อน 
เสริมด้วยวิธีสอน และเทคนิคการสอนต่างๆ ทจี่ะช่วยให้กระบวนการเรียนรู้มี 
ความสมบูรณ์และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
88 
รูปแบบการสอนต่างๆ 
รูปแบบที่เน้นด้านพุทธพิสัย 
• Concept Attainment Model 
• Gagne’ Model 
• Memory Model 
รูปแบบที่เน้นด้านจิตพิสัย 
• Krathwohl’s Model 
• Jurisprudentail Model 
• Role Playing Model 
รูปแบบที่เน้นด้านทักษะพิสัย 
• Sympson’s Model 
• Harrow’s Model 
• Dave’s Model 
รูปแบบที่เน้นทักษะกระบวนการ 
• Group Investigation Model 
• Inductive Teaching Model 
• Creative Thinking Model 
• Torrance’s Future Problem-Solving Model 
รูปแบบที่เน้นบูรณาการ 
• Direct Instruction Model 
• Storyline Model 
• 4 MAT Model 
• Cooperative Learning Model 
ศึกษำรำยละเอียดเพิ่มเติมจำกเอกสำรประกอบกำรอบรม
1.นาเทคนิค/วิธีการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ ซึ่งจะนาผู้เรียนไปสู่การสร้าง 
ชิ้นงาน/ภาระงาน เกิดทักษะ(สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน)กระบวนการตาม 
ธรรมชาติวิชาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้บรรลุตามมาตรฐาน 
การเรียนรู้/ตัวชี้วัดในหน่วยการเรียนรู้ 
2. มีความท้าทาย ต่อยอดการเรียนรู้ มีความหมายต่อผู้เรียน เน้นผู้เรียนเป็น 
สา คัญ คา นึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน พัฒนาการทางสมอง และมุ่งเน้นความรู้ 
คู่คุณธรรม 
3. พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะกระบวนการท่หีลากหลาย
เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 
จะต้องวิเคราะห์ความเหมาะสมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
ให้สอดคล้องกับจา นวนมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดที่ปรากฏ 
ในการหน่วยการเรียนรู้จากโครงสร้างรายวิชา
แบบบันทึกหน่วยการเรียนรู้ 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง………………………………………………………… 
รหัส-ชื่อรำยวิชำ.......................กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ……………………… 
ชั้น .................... ภำคเรียนที่............................... เวลำ....................ชั่วโมง 
ผู้สอน...........................................โรงเรียน................................................. 
มาตรฐานการเรียนรู้ 
......................................................................................................................... 
ตัวชี้วัด 
1. …………………………………………… 
2. …………………………………………… 
มาตรฐานการเรียนรู้ 
......................................................................................................................... 
ตัวชี้วัด 
1. …………………………………………… 
2. ……………………………………………
สาระสาคัญ 
..................................................................................... 
..................................................................................... 
สาระการเรียนรู้ 
ความรู้ 
....................................................................................................................................... 
....................................................................................................................................... 
ทักษะ / กระบวนการ 
...................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................ 
. 
คุณลักษณะ 
...................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................ 
.
การประเมินผลรวบยอด 
ชิ้นงานหรือภาระงาน 
....................................................................................................................... 
การประเมินผล 
ประเด็น 
การประเมิน 
ระดับคุณภาพ
กิจกรรมการเรียนรู้ 
1.กิจกรรมนาสู่การเรียน 
.................................................................................. 
................................................................................... 
.................................................................................. 
2.กิจกรรมที่ช่วยพัฒนาผู้เรียน 
................................................................................. 
................................................................................. 
................................................................................. 
3. กิจกรรมรวบยอด 
................................................................................. 
.................................................................................
การออกแบบหน่วยการเรยีนรู้ 
องิมาตรฐาน 
ขนั้ตอนที่1 
กาหนดเป้าหมายการเรยีนรู้ 
ขนั้ตอนที่2 
กาหนดหลกัฐานผลของการเรยีนรู้ 
ขนั้ตอนที่3 
วางแผนการจดัประสบการณ์การเรยีนรู้
กิจกรรมที่ 2 การประเมินหน่วยการเรียนรู้ 
แบบประเมินหน่วยกำรเรียนรู้อยู่ในเอกสำรประกอบกำรอบรม
ความเชอื่มโยงของหน่วยการเรียนรู้สู่การจดัทา แผนการจดัการเรียนรู้ 
โครงสร้างรายวิชา 
หน่วยการเรียนรู้ 
๗ ชวั่โมง 
หน่วยการเรียนรู้ 
๑๓ ชวั่โมง 
หน่วยการเรียนรู้ 
๑๕ ชวั่โมง 
หน่วยการเรียนรู้ 
๑๐ ชวั่โมง 
แผนท๑ี่ 
๑ชวั่โมง 
แผนท๒ี่ 
๒ชวั่โมง 
แผนท๓ี่ 
๑ชวั่โมง 
แผนท๔ี่ 
๑ชวั่โมง 
แผนท๕ี่ 
๒ชวั่โมง 
 อะไรเป็นเป้าหมายสา หรบัผู้เรียนในการจดัการเรียนร้คูรงั้นี้ 
 ทา อย่างไรผู้เรียนจงึบรรลุเป้าหมาย 
 ตดัสินอย่างไรว่าผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย
แผนการจัดการเรียนรู้ 
รหัสวิชา................................ กลุ่มสาระการเรียนรู้.......................... ชั้นประถมศึกษาปีที่........ 
หน่วยการเรียนรู้............... เรื่อง ................ ภาคเรียนที่..... เวลา .......... ชั่วโมง 
ผู้สอน ................................................ โรงเรียน ............................................................ 
วันที่ ........................ เดือน ......................................................... พ.ศ. ................................ 
.......................................................................................................................................................... 
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ 
..................................................................................................................................................................................................... 
................................................................................................................................................................................................... 
ตัวชี้วัด 
1................................................................................................................................................................................. 
2.................................................................................................................................................................................. 
สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด 
...................................................................................................................................................................................... 
จุดประสงค์การเรียนรู้ 
..................................................................................................................................................................................................... 
.................................................................................................................................................................................................... 
สาระการเรียนรู้ 
..................................................................................................................................................................................................... 
.....................................................................................................................................................................................................
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 
............................................................................................................................................................................................................................... 
............................................................................................................................................................................................................................... 
............................................................................................................................................................................................................................... 
............................................................................................................................................................................................................................... 
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
............................................................................................................................................................................................................................... 
............................................................................................................................................................................................................................... 
.............................................................................................................................................................................................................................. 
ชิ้นงาน /ภาระงาน 
............................................................................................................................................................................................................................... 
.............................................................................................................................................................................................................................. 
การวัดและประเมินผล 
........................................................................................................................................................................................................................ 
.........................................................................................................................................................................................................................
กิจกรรมการเรียนรู้ 
................................................................................................................................................ 
............................................................................................................................................ 
................................................................................................................................................ 
................................................................................................................................................ 
............................................................................................................................................. 
................................................................................................................................................ 
.............................................................................................................................................. 
สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 
................................................................................................................................................ 
............................................................................................................................................

More Related Content

What's hot

การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้kruteerapol
 
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยเครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยRachunt Boonlha
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7sangkom
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์Jirathorn Buenglee
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลNavie Bts
 

What's hot (17)

การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยเครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
 

Viewers also liked

หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งMapowzee Dahajee
 
เฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษาเฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษาJadsada Surintun
 
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6Jadsada Surintun
 
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษาข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษาJadsada Surintun
 
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาเฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาJadsada Surintun
 
เฉลย O net 52 สุขศึกษา
เฉลย O net 52 สุขศึกษาเฉลย O net 52 สุขศึกษา
เฉลย O net 52 สุขศึกษาJadsada Surintun
 
ข้อสอบ O net 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net 53 พร้อมเฉลยข้อสอบ O net 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net 53 พร้อมเฉลยJadsada Surintun
 
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษาข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษาJadsada Surintun
 
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)Jadsada Surintun
 
Key onet53sukm6
Key onet53sukm6Key onet53sukm6
Key onet53sukm6SRpak MNk
 

Viewers also liked (10)

หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
 
เฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษาเฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษา
 
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
 
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษาข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
 
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาเฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
 
เฉลย O net 52 สุขศึกษา
เฉลย O net 52 สุขศึกษาเฉลย O net 52 สุขศึกษา
เฉลย O net 52 สุขศึกษา
 
ข้อสอบ O net 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net 53 พร้อมเฉลยข้อสอบ O net 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net 53 พร้อมเฉลย
 
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษาข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
 
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
 
Key onet53sukm6
Key onet53sukm6Key onet53sukm6
Key onet53sukm6
 

Similar to Curriculum to learn

กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียarisara
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าNDuangkaew
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนNDuangkaew
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8dump0507
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 

Similar to Curriculum to learn (20)

กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียน
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 

Curriculum to learn

  • 1.
  • 2.
  • 3. สถานศึกษา ชนั้เรียน คาอธิบายรายวิชา โครง สร้างรายวิชา หน่วยการ เรียนรู้ แผนการจัด การเรียนรู้
  • 4. โครงสร้างรายวิชา เป็นการกาหนดขอบข่ายของรายวิชา ที่จะจัดสอนเพื่อช่วยให้ผู้สอนและผู้เกี่ยวข้อง เห็นภาพรวมของ แต่ละรายวิชาว่า ประกอบด้วย หน่วยการเรียนรู้ จา นวนเท่าใด เรื่องใดบ้าง แต่ละหน่วยพัฒนาให้ผู้เรียนบรรลุตัวชี้วัดใด เวลาที่ใช้จัดการเรียนการสอน และสัดส่วนการเก็บคะแนนของ รายวิชานั้นเป็นอย่างไร
  • 5. การจัดทาโครงสร้างรายวิชาจะช่วยให้ครูผู้สอน เห็นความสอดคล้องเชื่อมโยงของลา ดับการเรียนรู้ ของรายวิชาหนึ่ง ๆ ว่าครูจะสอนอะไร ใช้เวลาสอน เรื่องนั้นเท่าไร และจัดเรียงลา ดับสาระการเรียนรู้ ต่างๆอย่างไร ทาให้มองเห็นภาพรวมของรายวิชา อย่างชัดเจน
  • 6. *องค์ประกอบของโครงสร้างรายวิชา ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มฐ./ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา เรียน น้าหนัก คะแนน 1 2 3 . รวมตลอดปี/ภาคเรียน
  • 7.
  • 8. หน่วย ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มฐ./ ตัวชี้วัด สาระสา คัญ/ความคิด รวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน ๑
  • 9. หน่วย ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มฐ./ ตัวชี้วัด สาระสา คัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน ๒. ๓. ๔. ๕ ๖ ๗ ๘
  • 10. หน่วย ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มฐ./ ตัวชี้วัด สาระสา คัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน รวมระหว่างปี ๗๗ ๘๐ ปลายภาค ๓ ๒๐ รวม ๘๐ ๑๐๐
  • 12.
  • 13.
  • 16. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เป็นความรู้ ความคิด ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง หรือความรู้ที่เป็นแก่น เป็นหลักการของเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ทเี่กิดจากการหลอมรวมของมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัดใน หน่วยการเรียนรู้
  • 17. ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ๑ ตัวชี้วัด ๒ ตัวชี้วัด ๓ วิเคราะห์ความคิด หลักตัวชี้วัด
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29. ๑. ศาสนาเป็นศูนยร์วม จติใจของศานกิชน ๒. พุทธประวตัหิรอืประวตัิ ศาสดาทนี่บัถอื ๓. การประพฤตตินตาม แบบพุทธสาวก ๔. ประวตัศิาสดาของ ศาสนาอนื่ ๕. การมสี่วนร่วมในการ บารุงรกัษาศาสนสถาน ของศาสนาทตี่นนบัถอื
  • 30. หน่วย ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มฐ./ ตัวชี้วัด สาระสา คัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน ๑
  • 31. ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ๑ ตัวชี้วัด ๒ ตัวชี้วัด ๓ วิเคราะห์ความคิด หลักตัวชี้วัด
  • 32.
  • 33. หลกัสูตรแกนกลางการศกึษาขนั้พนื้ฐาน พุทธศกัราช 2551 วสิยัทศัน ์ จุดหมาย มาตรฐานการเรยีนรู/้ตวัชี้วดั
  • 34. หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน คือ หน่วยการเรียนรู้ที่มี มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด เป็นเป้าหมายของหน่วย และองค์ประกอบภายในหน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสา คัญ สาระการเรียนรู้ ชิ้นงาน หรือภาระงานท่กีา หนดให้ผู้เรียนปฏิบัติ กิจกรรมการเรียน การสอนและเกณฑ์การประเมินผล ทุกองค์ประกอบของ หน่วยการเรียนรู้ จะต้องเชื่อมโยงกับมาตรฐาน/ตัวชี้วัด ที่เป็นเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้
  • 35. 1.ชื่อหน่วย การเรียนรู้ 6.คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 2.มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด 3.สาระสาคัญ/ ความคิดรวบยอด 4.สาระการเรียนรู้ 7.ชิ้นงาน/ภาระงาน 5.สมรรถนะสาคัญ ของผ้เูรียน 8.การวัดและประเมินผล 9.กิจกรรมการเรียนรู้
  • 36. 2.มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด 3.สาระสาคัญ/ ความคิดรวบยอด 5.สมรรถนะสาคัญ ของผู้เรียน 6.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7.ชิ้นงาน/ภาระงาน 8.การวัดและประเมินผล 9.กิจกรรมการเรียนรู้ 4.สาระการเรียนรู้ เป้ าหมายการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ 1.ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 10.เวลา
  • 37. 37 เป้ าหมาย การเรียนรู้ หลักฐาน การเรียนรู้ กิจกรรม การเรียนรู้
  • 38. *ขนั้ตอนการออกแบบ หน่วยการเรยีนรู้ 1. กาหนดเป้าหมายการเรยีนรู้ 2.กาหนดหลกัฐานแสดงผลของการเรยีนรู้ 3. วางแผนการจดักจิกรรมการเรยีนรู้
  • 39. * คา ถามสา คญั  ผูเ้รยีนมคีวามรูค้วามเขา้ใจ ความสามารถ อะไรบา้ง(มฐ.แกนกลาง)  เนอื้หาแบบไหนทคี่วรค่าแก่การเรยีนรู้  ความเขา้ใจทลี่กึซงึ้ควรมอีะไรบา้ง
  • 40. *การจดัลาดบัความสาคญัของผลการเรยีนรู้ สงิ่ทมี่คีุณค่าและน่าจะรู้ สงิ่ทจี่า เป็นตอ้งรู้ และทาได้ ความเขา้ใจทลีุ่่มลกึและยงั่ยนื “Enduring understanding”
  • 41. * คา ถามสา คญั จะรูไ้ดอ้ย่างไรว่าผูเ้รยีนเกดิ การเรยีนรู้ ชนิ้งานแบบไหนทมี่คีุณภาพ
  • 42. การ ตรวจสอบ ความ เขา้ใจ อย่าง ไม่เป็ น ทางการ การ สงัเกต หรอื พูดคุย การ ทดสอบ การใหโ้จทย ์ หรอืประเด็น ปัญหา ให้ นกัเรยีน ไปขบคดิ การลงมอื ปฏบิตั/ิ โครงงาน * หลกัฐานทบี่่งชี้ว่าผูเ้รยีนไดบ้รรลุเป้าหมายการเรยีนรู้ ทกี่าหนด ดว้ยวธิีการทหี่ลากหลาย
  • 43. * ความสมัพนัธร์ะหว่าง การจดัลาดบัผลการเรยีนรูแ้ละการ ประเมนิผล สงิ่ทมี่คีุณค่า และน่าจะรู้ สงิ่ทจี่า เป็นตอ้งรู้ และทาได้ ความเขา้ใจทลีุ่่มลกึ และยงั่ยนื รูปแบบการประเมนิ • แบบทดสอบต่าง ๆ * การเลอืกคา ตอบ * คา ตอบทมี่โีครงสรา้ง •โครงงาน/การลงมอืปฏบิตัิ ในสถานการณ์จรงิ * คาถามปลายเปิด * ชนิ้งาน/สถานการณ์ทซี่บัซ้อน * ปฏบิตังิานในสถานการณ์จรงิ
  • 44. * คา ถามสาคญั  ความรูแ้ละทกัษะอะไรจะช่วยใหผู้เ้รยีน มคีวามสามารถตามเป้าหมายทกี่าหนดไว้  กจิกรรมอะไรจะช่วยพฒันาผูเ้รยีนไปสู่ เป้าหมาย ทกี่าหนด  สอื่การสอนอะไรจงึจะเหมาะสมสาหรบักจิกรรม การเรยีนรูข้า้งตน้  การออกแบบโดยรวมสอดคลอ้งและลงตวัหรอืไม่
  • 45. จากเป้าหมาย เป้าหมายการเรยีนรู้ และหลกัฐาน คดิยอ้นกลบั สู่จุดเรมิ่ตน้ ของกจิกรรม หลกัฐาน ผลของการเรยีนรู้ 4 กจิกรรม 3 กจิกรรม 2 กจิกรรม 1 กจิกรรม จากกจิกรรม ทลีะขนั้บนัได สู่หลกัฐานและ เป้ าหมาย การเรยีนรู้
  • 47. 1. ชื่อหน่วยการเรียนรู้ จะต้องสะท้อนให้เห็นสาระสาคัญของ หน่วยการเรียนรู้ น่าสนใจ เหมาะสมกับวัย มีความหมายและสอดคล้องกับชีวิตจริงของผู้เรียน
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 53. มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สมรรถนะสา คัญ ของผู้เรียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์
  • 54. ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร/ ทาอะไรได้ นาไปสู่ ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทา อะไรได้
  • 55. 9.ตีความและประเมิน คุณค่าแนวคิดที่ได้ จากงานเขียนอย่าง หลากหลายเพื่อ นาไปใช้แก้ปัญหาใน ชีวิต ผู้เรียนรู้อะไร การอ่านตีความและ การประเมินค่าแนวคิด ที่ได้จากงานเขียนอย่าง หลากหลายทั้งด้านการ ใช้ภาษา วิธีการเขียน
  • 56. 9.ตีความและ ประเมินคุณค่า แนวคิดท่ไีด้ จากงานเขียน อย่างหลากหลาย เพื่อนาไปใช้ แก้ปัญหาในชีวิต 1. ความสามารถ ในการสื่อสาร 2.ความสามารถ ในการคิด 3.ความสามารถ ในการแก้ปัญหา 1.ใฝ่เรียนรู้ 2.วิเคราะห์เพิ่มเติม ได้จากคุณลักษณะ ที่เป็นจุดเน้นของ เขตพื้นที่หรือ สถานศึกษา หรือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และข้อคิดใน การดารงชีวิต ผู้เรียนทา อะไรได้ ตีความและประเมิน คุณค่าแนวคิดที่ได้รับ จากการอ่าน นาไป ประยุกต์ใช้และ แก้ ปัญหาในชีวิต
  • 57.
  • 58. ๑.บอกประโยชน์ และปฏิบัติตนเป็น สมาชิก ท่ดีีของ ครอบครัวและ โรงเรียน ผู้เรียนรู้อะไร การเป็นสมาชิกที่ดี ของครอบครัวและ โรงเรียนทา ให้อยู่ ร่วมกันอย่างมี ความสุข ผู้เรียนทา อะไรได้ ปฏิบัติตนเป็นสมาชิก ที่ดีของครอบครัว และโรงเรียน
  • 59. ชิ้นงานหรือภาระงานเป็นหลักฐาน / ร่องรอยว่านักเรียน บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัดในหน่วยการเรียนรู้ นั้น ๆ อาจเกิดจากผู้สอนกา หนดให้ หรืออาจให้ผู้เรียน ร่วมกันกาหนดขึ้นจากการวิเคราะห์ตัวชี้วัดในหน่วย การเรียนรู้
  • 60. ชิ้นงาน  งานเขียน - เรียงความ - จดหมาย - โคลงกลอน - การบรรยาย - การเขียนตอบ
  • 61.  ภาพ / แผนภูมิ - แผนผัง - แผนภูมิ - ภาพวาด - กราฟ - ตาราง
  • 62.  สิ่งประดิษฐ์ - งานประดิษฐ์ - งานแสดงนิทรรศการ - หุ่นจา ลอง
  • 63. ภาระงาน  การพูด / รายงานปากเปล่า (การอ่าน กล่าวรายงาน โต้วาที ร้องเพลง สัมภาษณ์ บทบาทสมมุติ เล่นดนตรี การเคลื่อนไหวร่างกาย)
  • 64. งานที่มีลักษณะผสมผสานระหว่าง ชิ้นงาน / ภาระงาน  การทดลอง  การสาธิต  ละคร  วีดิทัศน์ ฯลฯ
  • 66. การประเมินโดยใช้รูบริค (rubric) เป็นการประเมินที่เน้นคุณภาพของชิ้นงาน หรือภาระงานทชีี่้ให้เห็นระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
  • 67. รูปแบบของเกณฑ์การประเมิน  เกณฑ์การประเมินในภาพรวม (Holistic Rubric) พิจารณาจากภาพรวมของชิ้นงานโดยมีคา อธิบาย ลกัษณะของงานแต่ละระดบัอย่างชดัเจน (3-6 ระดบั) เกณฑ์การประเมินแบบแยกองค์ประกอบ (Analytic Rubric) พิจารณาจากองค์ประกอบย่อยของงาน โดย กา หนดแนวทางการให้คะแนนของแต่ละองค์ประกอบย่อยไว้ อย่างชดัเจน
  • 68. ขนั้ตอนการสรา้งเกณฑ์การประเมิน  ระบุคุณลักษณะของชิ้นงานที่ มีคุณภาพดี และชิ้นงานที่ มีคุณภาพต ่า  ระบุรายการที่เป็นเกณฑ์ จากคุณลักษณะของชิ้นงานที่ มีคุณภาพดี  บรรยายลักษณะของชิ้นงานที่ ดีที่ สุดและมีคุณภาพต ่า ที่ สุดก่อน แล้วจึงบรรยายลักษณะที่ อยู่ระหว่างกลาง
  • 69. การสรา้งเกณฑ์การประเมินในภาพรวม วิธีที่ 1 แบ่งงานตามคุณภาพ - แบ่งงานเป็น 3 กอง ไดแ้ก่ สูง กลาง ต ่า - เขียนอธิบายคุณลกัษณะของงาน แต่ละกอง
  • 70. วิธีที่ 2 กา หนดระดบัความผิดพลาด พิจารณา ความบกพร่องของชิ้นงานแลว้หกัจากระดบัคะแนน สูงสุดลงมาทีละระดบั ตวัอย่าง เกณฑ์ประเมินการแกโ้จทย์ปัญหา 4 = คา ตอบถูก แสดงเหตุผลถูกต้อง แนวคิดชดัเจน 3 = คา ตอบถูก เหตุผลถูกต้อง อาจมีขอ้ผิดพลาดเล็กนอ้ย 2 = เหตุผล/การคา นวณผิดพลาด แต่มีแนวทางไปสู่คา ตอบ 1 = แสดงวิธีคิดเล็กนอ้ยแต่ไม่ไดค้า ตอบ 0 = ไม่ตอบหรือตอบไม่ถูก
  • 71. วิธีที่ 3 อธิบายคุณภาพตามระดบัจากสูงสุดถึงต่า สุด ตวัอย่าง เกณฑ์ประเมินความสามารถในการแกโ้จทย์สมการ 4(ดีมาก) - ระบุสิ่ง ที่ โจทย์กา หนด ไม่ต้องกา หนด / ไม่ได้ กาหนด และสิ่งที่ โจทย์ถามไดค้รบถว้น - เขียนสมการจากโจทย์ไดถู้กต้อง - คิดคา นวณหาคา ตอบไดถู้กต้อง - แก้โจทย์ที่ ผิด/สรา้งโจทย์ใหม่ให้ถูกต้อง กะทดัรดั
  • 72. การสรา้งเกณฑ์การประเมินรายองค์ประกอบ มีส่วนประกอบสา คญั 2 ส่วน ไดแ้ก่ จะ องค์ประกอบ / คุณลักษณะของงานที่ ประเมิน คา อธิบายลกัษณะคุณภาพของงานในแต่ละ องค์ประกอบ
  • 73. ตวัอย่าง เกณฑ์ประเมินความสามารถในการแกโ้จทย์สมการ 1. การแปลความโจทย์ ดี (2) ระบุสิ่งที่โจทย์ต้องกา หนด ไม่ต้อง กาหนด ไม่ได้กาหนด สิ่งที่ โจทย์ ถามได้ ผ่าน (1) ระบุสิ่งที่ โจทย์กาหนดและสิ่งที่ โจทย์ถามได้ ไม่ผ่าน (0) เขียนผิด
  • 74. 2. การเขียนสมการ ดี (2) เขียนไดถู้กต้อง สนั้ คา นวณไดเ้ร็ว ผ่าน (1) เขียนไดถู้กต้อง แต่ใชวิ้ธีการไม่กะทดัรดั ไม่ผ่าน (0) เขียนผิด 3. ความสามารถในการคานวณ ดี (2) ทา ไดถู้กต้องเกิน 80%จากจา นวนขอ้ทงั้หมดผ่าน (1) ทา ไดถู้กต้อง50-79%จากจา นวนขอ้ทงั้หมด ไม่ผ่าน (0) ทาได้ถูกต ่ากว่า50%จากจา นวนขอ้ทงั้หมด
  • 76. ระดบั 5 ระดบั 4 ระดบั 3 ระดบั 2 ระดบั 1 76 นาเสนอเรื่องราวตาม จุดประสงค์ได้อย่างชัดเจน มีประสิทธิภาพ นาเสนอเรื่องราว ตามจุดประสงค์ ที่ต้องการได้ มีการกา หนดจุดประสงค์แต่ ไม่สามารถนาเสนอเรื่องราว ได้อย่างสมบูรณ์ พยายามกาหนดจุดประสงค์ แต่ไม่สามารถนาเสนอ เรื่องราวตามจุดประสงค์ได้ ไม่กาหนดจุดประสงค์ และไม่มีการนาเสนอ เรื่องราวตามจุดประสงค์ ผู้เขียนปรับการนาเสนอ ให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้อ่าน แต่ละกลุ่ม ผู้เขียนตระหนกั ในความสา คัญ ของผู้อ่าน ผู้เขียนตระหนกัในความ สา คัญของผู้อ่าน ผู้เขียนให้ความสา คัญ กับ ผู้อ่านน้อยมาก ไม่ให้ความสา คัญ กับผู้อ่านเลย การนาเสนอความคิด เหตุการณ์ตามลา ดับ เรื่องราวเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ การนาเสนอ ความคิดเป็นไป ตามเหตุการณ์ ลา ดับที่เหมาะสม การนาเสนอความคิด เหตุการณ์ส่วนใหญ่เป็นไป ตามลา ดับที่ เหมาะสม การนาเสนอความคิด เหตุการณ์บางส่วนที่เป็นไป ตามลา ดับที่เหมาะสม การนาเสนอความคิด เหตุการณ์ไม่ชัดเจน ไม่ เป็นระบบ การนาเสนอเรื่องราว การลาดับความคิด/เหตุการณ์
  • 77. (ต่อ) ระดบั 5 ระดบั 4 ระดบั 3 ระดบั 2 ระดบั 1 คา ที่เขียนทั้งหมด อยู่บนแนวเส้น บรรทัด และมี ระยะห่างระหว่างคา ที่ สม่า เสมออถกูต้อง 77 คา ที่เขียนทั้งหมด อยู่บนแนวเส้น บรรทัดและมี ระยะห่างระหว่าง คา ท่พีอดี คาส่วนใหญ่อยู่บน แนวบรรทัด มี ระยะห่างระหว่างคา พอดี คาบางคาอยู่บนแนว บรรทัด และมี ระยะห่างระหว่างคา คา ที่เขียนไม่อยู่บน บรรทัด ไม่มีระยะห่าง ระหว่างคา มารยาทในการเขียน
  • 78.
  • 79. เป้าหมาย สา คัญ สา หรับ การ พัฒนา เด็กและ เยาวชน มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สมรรถนะสา คัญ ของผู้เรียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ หลักการจัดการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสา คัญ ความแตกต่างระหว่าง บุคคล พัฒนาการทางสมอง เน้นความรู้คู่คุณธรรม
  • 80. “การสอนใหไ้ดผ้ลดีนั้น ควรจะตอ้งเริ่มที่หลักการและจัดกระบวนการสอนให้ สอดคลอ้งกับหลักการโดยใชรู้ปแบบการเรียนการสอน วิธีการสอน และเทคนิคการ สอน ซึ่งมีอยู่หลากหลายเขา้มาช่วยใหก้ระบวนการสอนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด” (รองศาสตราจารย์ ดร.ทิศนา แขมมณี, 2545)
  • 81. 81 เทคนิคการสอน วิธีสอน รูปแบบการสอน ที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้
  • 82. 82 เทคนิคการสอน  กลวิธีต่างๆ ที่ใช้เสริมขั้นตอนการสอน วิธีสอน หรือ การ ดาเนินการใดๆ เพื่อช่วยให้การสอนมีคุณภาพ และประสิทธิภาพ มากขึ้น  ตัวอย่าง เช่น ในการบรรยาย ผู้สอนอาจใช้เทคนิค การยกตัวอย่าง การใช้คาถาม การใช้สื่อประกอบ เพื่อช่วยให้การบรรยายมี คุณภาพ และประสิทธิภาพมากขึ้น
  • 83. 83 เทคนิคการสอนต่างๆ  การใช้ผังกราฟฟิค (Graphic Organizer)  การใช้คาถาม (Questioning)  การจัดกลุ่ม (Grouping)  การสร้างแรงจูงใจ (Motivation) ฯลฯ
  • 84. 84 วิธีสอน (METHOD)  วิธีการต่างๆ ที่นามาใช้ในการสอน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ วิธีแต่ละ วิธีมีวัตถุประสงค์ และลักษณะเด่นเป็นเอกลักษณ์แตกต่างกัน  ลักษณะเด่นของแต่ละวธิี ก็คือลักษณะเฉพาะที่ขาดไม่ได้ของวิธีนั้น หาก ขาดไป ก็จะทาให้ไม่ใช่วิธีนั้นอีกต่อไป เช่น ลักษณะเฉพาะของวิธีสอน แบบสาธิตก็คือ การแสดง/การทาให้ดู หากไม่มีการทาให้ดู ก็จะไม่ใช่วิธีสอน แบบสาธิต  วิธีแต่ละวิธี มีวัตถุประสงค์เฉพาะ คือ เป็นวิธีที่จะช่วยให้เกิดผลเฉพาะบาง ประการจากการใช้วิธีนั้น เช่น วัตถุประสงค์ของวิธีสอนแบบสาธิต ก็คือการ ช่วยให้เห็นการปฏิบัติจริง ทาให้เห็นภาพ ทาให้เกิดความเข้าใจ และจาเรื่องที่ เห็นจากการสาธิตได้ดี การเลือกใช้วิธีสอน จึงต้องพิจารณาว่า วิธีนั้นมีวัตถุประสงค์ คือจะช่วยให้
  • 85. 85 วิธีสอนแบบต่างๆ  บรรยาย (Lecture)  สาธิต (Demonstration)  ทัศนศึกษา (Field trip)  อภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion)  ละคร (Dramatization)  บทบาทสมมติ (Role Playing)  กรณีตัวอย่าง (Case)  เกม (Game)  สถานการณ์จาลอง (Simulation)  นิรนัย (Deduction)  อุปนัย (Induction)  ศูนย์การเรียน (Learning Center)  บทเรียนแบบโปรแกรม (Programmed Instruction) ฯลฯ
  • 86. 86 วิธีสอนและ วัตถุประสงค์ เกม ช่วยให้ผู้เรียน จำ นวนมำกเรียนรู้ เนื้อหำสำระ จำ นวนมำกพร้อม กันในเวลำจำ กัด อภิปราย กลุ่มย่อย สถานการณ์ จาลอง วิธีสอน เห็นกำร ปฏิบัติจริง ประจักษ์ชัด ด้วยตำ เห็นผลของกำร คิด กำรกระทำ ประจักษ์ชัด เรียนรู้หลักกำร และนำ หลักกำร ไปใช้ เรียนรู้จำกตัวอย่ำง เหตุกำรณ์ย่อยๆ และ จับหลักกำรของ ตัวอย่ำงเหล่ำนั้น เรียนรู้จำก ประสบกำรณ์ ตรงจำกสภำพ เรียนรู้จำกกำรมีจริง ส่วนร่วมอย่ำง ทั่วถึงแลกเปลี่ยน ควำมรู้และ ประสบกำรณ์ ผู้เรียนรำยบุคคล เรียนรู้ตำม ควำมสำมำรถ โดย อำศัยสื่อบทเรียนที่ ได้รับกำรออกแบบ ให้ผู้เรียนสำมำรถ เรียนรู้ และ ตรวจสอบผลกำร เรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้กำรเอำใจ เขำมำใส่ใจเรำ ช่วยให้ เข้ำใจควำมรู้สึกและ พฤติกรรมของตนและ ของผู้อื่น ช่วยให้เรื่องรำว/ สำระมีชีวิต เห็น ประจักษ์ชัดด้วย ฝึกฝนกำรเผชิญและ แก้ปัญหำ ฝึกกำร วิเครำะห์ และเรียนรู้ เรียนรู้เนื้อหำ สำระต่ำงๆ ควำมคิด และมุมมอง ของผู้อื่น ด้วยตนเอง โดยกำร ผลัดเปลี่ยนกัน เข้ำศึกษำค้นคว้ำตำม ศูนย์กำรเรียนต่ำงๆ ตำ เรียนรู้ควำมเป็นจริง ของสถำนกำรณ์ที่มี ควำมซับซ้อน ฝึกกำรเอำชนะ อุปสรรคอย่ำง สนุกสนำน และ ท้ำทำย
  • 87. 87 รูปแบบการสอน/รูปแบบการเรียนการสอน รูปแบบการสอน/รูปแบบการเรียนการสอน (Teaching/Instructional Model) คือ แบบแผนการดาเนินการสอนที่ได้รับการจัดเป็นระบบ อย่างสัมพันธ์ สอดคล้องกับทฤษฎี/หลักการเรียนรู้หรือการสอนที่รูปแบบนั้นยึดถือ และได้รับการ พิสูจน์ ทดสอบ ว่ามีประสิทธิภาพ สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม จุดมุ่งหมายเฉพาะของรูปแบบนั้น แบบแผนการดาเนินการสอนดังกล่าว ประกอบด้วย ทฤษฎี/หลักการที่ รูปแบบนั้นยึดถือ และกระบวนการสอนที่มีลักษณะเฉพาะ อันจะนาผู้เรียนไปสู่ จุดมุ่งหมายเฉพาะที่รูปแบบนั้นกา หนด ซึ่งผู้สอนสามารถนาไปใช้เป็นแบบแผน หรือแบบอย่างในการจัดและดาเนินการสอนอื่นๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเฉพาะ เช่นเดียวกันได้ การนารูปแบบการเรียนการสอนไปใช้ คือการนากระบวนการ หรือขั้นตอนที่รูปแบบฯ กา หนด ไปจัดเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องทสี่อน เสริมด้วยวิธีสอน และเทคนิคการสอนต่างๆ ทจี่ะช่วยให้กระบวนการเรียนรู้มี ความสมบูรณ์และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
  • 88. 88 รูปแบบการสอนต่างๆ รูปแบบที่เน้นด้านพุทธพิสัย • Concept Attainment Model • Gagne’ Model • Memory Model รูปแบบที่เน้นด้านจิตพิสัย • Krathwohl’s Model • Jurisprudentail Model • Role Playing Model รูปแบบที่เน้นด้านทักษะพิสัย • Sympson’s Model • Harrow’s Model • Dave’s Model รูปแบบที่เน้นทักษะกระบวนการ • Group Investigation Model • Inductive Teaching Model • Creative Thinking Model • Torrance’s Future Problem-Solving Model รูปแบบที่เน้นบูรณาการ • Direct Instruction Model • Storyline Model • 4 MAT Model • Cooperative Learning Model ศึกษำรำยละเอียดเพิ่มเติมจำกเอกสำรประกอบกำรอบรม
  • 89. 1.นาเทคนิค/วิธีการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ ซึ่งจะนาผู้เรียนไปสู่การสร้าง ชิ้นงาน/ภาระงาน เกิดทักษะ(สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน)กระบวนการตาม ธรรมชาติวิชาและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้บรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัดในหน่วยการเรียนรู้ 2. มีความท้าทาย ต่อยอดการเรียนรู้ มีความหมายต่อผู้เรียน เน้นผู้เรียนเป็น สา คัญ คา นึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน พัฒนาการทางสมอง และมุ่งเน้นความรู้ คู่คุณธรรม 3. พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะกระบวนการท่หีลากหลาย
  • 91. แบบบันทึกหน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้เรื่อง………………………………………………………… รหัส-ชื่อรำยวิชำ.......................กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ……………………… ชั้น .................... ภำคเรียนที่............................... เวลำ....................ชั่วโมง ผู้สอน...........................................โรงเรียน................................................. มาตรฐานการเรียนรู้ ......................................................................................................................... ตัวชี้วัด 1. …………………………………………… 2. …………………………………………… มาตรฐานการเรียนรู้ ......................................................................................................................... ตัวชี้วัด 1. …………………………………………… 2. ……………………………………………
  • 92. สาระสาคัญ ..................................................................................... ..................................................................................... สาระการเรียนรู้ ความรู้ ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ทักษะ / กระบวนการ ...................................................................................................................................... ........................................................................................................................................ . คุณลักษณะ ...................................................................................................................................... ........................................................................................................................................ .
  • 94. กิจกรรมการเรียนรู้ 1.กิจกรรมนาสู่การเรียน .................................................................................. ................................................................................... .................................................................................. 2.กิจกรรมที่ช่วยพัฒนาผู้เรียน ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. 3. กิจกรรมรวบยอด ................................................................................. .................................................................................
  • 95.
  • 96. การออกแบบหน่วยการเรยีนรู้ องิมาตรฐาน ขนั้ตอนที่1 กาหนดเป้าหมายการเรยีนรู้ ขนั้ตอนที่2 กาหนดหลกัฐานผลของการเรยีนรู้ ขนั้ตอนที่3 วางแผนการจดัประสบการณ์การเรยีนรู้
  • 97. กิจกรรมที่ 2 การประเมินหน่วยการเรียนรู้ แบบประเมินหน่วยกำรเรียนรู้อยู่ในเอกสำรประกอบกำรอบรม
  • 98.
  • 99.
  • 100. ความเชอื่มโยงของหน่วยการเรียนรู้สู่การจดัทา แผนการจดัการเรียนรู้ โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ ๗ ชวั่โมง หน่วยการเรียนรู้ ๑๓ ชวั่โมง หน่วยการเรียนรู้ ๑๕ ชวั่โมง หน่วยการเรียนรู้ ๑๐ ชวั่โมง แผนท๑ี่ ๑ชวั่โมง แผนท๒ี่ ๒ชวั่โมง แผนท๓ี่ ๑ชวั่โมง แผนท๔ี่ ๑ชวั่โมง แผนท๕ี่ ๒ชวั่โมง  อะไรเป็นเป้าหมายสา หรบัผู้เรียนในการจดัการเรียนร้คูรงั้นี้  ทา อย่างไรผู้เรียนจงึบรรลุเป้าหมาย  ตดัสินอย่างไรว่าผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย
  • 101. แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา................................ กลุ่มสาระการเรียนรู้.......................... ชั้นประถมศึกษาปีที่........ หน่วยการเรียนรู้............... เรื่อง ................ ภาคเรียนที่..... เวลา .......... ชั่วโมง ผู้สอน ................................................ โรงเรียน ............................................................ วันที่ ........................ เดือน ......................................................... พ.ศ. ................................ .......................................................................................................................................................... มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ..................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... ตัวชี้วัด 1................................................................................................................................................................................. 2.................................................................................................................................................................................. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด ...................................................................................................................................................................................... จุดประสงค์การเรียนรู้ ..................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... สาระการเรียนรู้ ..................................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................................
  • 102. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ............................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................... คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ............................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................. ชิ้นงาน /ภาระงาน ............................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................. การวัดและประเมินผล ........................................................................................................................................................................................................................ .........................................................................................................................................................................................................................
  • 103. กิจกรรมการเรียนรู้ ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................. ................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. สื่อ / แหล่งเรียนรู้ ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................