SlideShare a Scribd company logo
วิชา 241 302 การวัดและประเมินผลการศึกษา 
คาถามเพื่อการเรียนรู้
คาถามเพื่อการเรียนรู้ 
oการทดสอบและใช้แบบทดสอบเป็นเครื่องมือ เป็นเพียงวิธีการ หนึ่งในการวัดผลการเรียนรู้ นอกจากวิธีการทดสอบแล้ว ยังมีการ วัดผลการเรียนรู้ด้วยวิธีการใดอีกบ้าง และใช้เครื่องมือแบบใดบ้าง o ตลอดการเรียนรู้ 1 ภาคเรียน มีการวัดผลการเรียนรู้ ช่วงเวลา ใดบ้าง และมีวัตถุประสงค์ในการวัดอย่างไร 
oผลของการวัดคือจานวนหรือปริมาณของสิ่งที่ถูกวัดใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด
การทดสอบและใช้แบบทดสอบเป็นเครื่องมือ เป็นเพียงวิธีการ หนึ่งในการวัดผลการเรียนรู้ นอกจากวิธีการทดสอบแล้ว ยังมีการวัดผล การเรียนรู้ด้วยวิธีการใดอีกบ้าง และใช้เครื่องมือแบบใดบ้าง 
นอกจากวิธีการทดสอบแล้ว เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลที่นิยมใช้ มีดังนี้ 
 แบบสอบถาม 
 การจัดอันดับคุณภาพ 
 การสังเกต 
 การสัมภาษณ์ 
 การให้ปฏิบัติจริง 
 การประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมงาน
แบบสอบถาม (Questionaire) เป็นชุดของคำถำมที่ใช้รวบรวมข้อมูลต่ำง ๆ ที่ต้องกำรทรำบ โดยผู้ตอบจะต้องเขียน ตอบลงในแบบสอบถำมด้วยตัวเอง ครูใช้แบบสอบถำมเก็บข้อมูลลักษณะเดียวกับกำรสัมภำษณ์ เช่น ข้อเท็จจริง ควำมคิดเห็น เจตคติ และ ควำมรู้สึก ของนักเรียน แต่จะใช้ได้ดีในกรณีที่นักเรียน อ่ำนออกเขียนได้ แบบสอบถามมีรูปแบบที่นิยมใช้ 3 แบบ คือ 1. แบบสอบถามชนิดปลายเปิด (Open Form) 2. แบบสอบถามชนิดปลายปิด (Close Form) แบ่งได้ 3 แบบ ดังนี้ 2.1 แบบสำรวจรำยกำร(Check List) 2.2 แบบมำตรำส่วนประมำณค่ำ (Rating Scale) 3. แบบจัดอันดับความสาคัญ แบบสอบถำมชนิดนี้ต้องกำรให้ผู้ตอบจัดเรียงอันดับควำมสำคัญของข้อคำถำมตำม ควำมรู้สึกของผู้ตอบ เช่น ท่ำนมีควำมต้องกำรอุปกรณ์กำรเรียนมำก (โปรดเรียงอันดับ ตำมควำมต้องกำร)
แบบสอบถาม (Questionaire) ข้อเสียของแบบสอบถาม 1. ไม่อำจหวังในควำมร่วมมือจำกผู้ตอบได้เต็มที่ 2. ข้อคำถำมมีโอกำสตีควำมได้หลำยแง่หลำยมุมอยู่บ่อย ๆ 3. บำงครั้งอำจต้องใช้คำถำมยำว ๆ หลำย ๆ ข้อจึงจะครอบคลุมเนื้อหำที่ต้องกำร ซึ่งทำให้เกิดควำมรำคำญแก่ผู้ตอบและเสียเวลำในกำรตอบ 4. กำรตอบคำถำมขึ้นอยู่กับควำมจริงใจของผู้ตอบ ถ้ำผู้ตอบตอบด้วยควำมไม่จริงใจ ก็จะได้ข้อมูลที่เชื่อถือไม่ได้ ข้อดีและประโยชน์ที่ได้จากแบบสอบถาม 1. สิ้นเปลืองเวลำน้อย โดยสำมำรถใช้ถำมคนจำนวนมำก ๆ ในเวลำเดียวกันได้ 2. สำมำรถให้ผู้ตอบเลือกตอบได้ตำมเหตุผลของตนเองมีทำงที่จะปรับปรุง แบบสอบถำมให้ดีขึ้นได้โดยใช้เทคนิคทำงสถิติ
การจัดอันดับคุณภาพ เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้ประกอบกับเครื่องมือชนิดอื่น ในกำรจำแนกแจกแจง ควำมแตกต่ำงของคุณลักษณะหรือควำมสำมำรถของผู้เรียน เช่น กำรตรวจ แบบทดสอบวิชำ วำดเขียน กำรฝีมือ พลศึกษำ หรือกำรประเมินผลทำงด้ำนบุคลิกภำพ เพื่อเป็นกำรแก้ไขให้ ยุติธรรมขึ้นโดยใช้วิธีนำเอำผลงำนของแต่ละคนมำเปรียบเทียบกันทั้งหมด แล้วจัดอันดับ คุณภำพของงำนแต่ละชิ้น แล้วจึงหำทำงเปลี่ยนมำเป็นคะแนน โดยวิธีกำรง่ำย ๆ ต่อไปนี้ ขั้นที่ 1 จัดผลงำนทั้งหมดออกเป็น 3 กอง คือ ดี ปำนกลำง ด้อย ขั้นที่ 2 ในแต่ละกองจำกขั้นที่ 1 ให้แบ่งเป็นกองย่อย ๆ อีกกองละ 3 กองย่อย จะ ได้กองย่อย 9 กอง ขั้นที่ 3 ในบรรดำกองย่อยก็ยังแบ่งออกอีกพวกละ 3 กองย่อย ๆ ทั้งหมด 27กอง และถ้ำเรำต้องกำรแจงอันดับให้ครบกับจำนวนผู้สอบก็แบ่งกองต่อไปตำมวิธีดังกล่ำวจนเรำได้ ผลงำน เรียงอันดับติดต่อกันไปจำกดีมำกไปยังด้อยมำกโดยไม่ซ้ำที่กันเลยแล้วจึงให้คะแนน ตำมลำดับ
ข้อดีของการจัดอันดับคุณภาพ กำรจัดอันดับคุณภำพสำมำรถให้คะแนนเกี่ยวกับผลงำนที่เป็นผลผลิตหรือ กระบวนกำรที่เกี่ยวกับคุณค่ำหรือคุณภำพของงำน มีลักษณะเป็นนำมธรรม ซึ่งยำกแก่กำรวัด ออกมำเป็นตัวเลขโดยตรงได้ 
ข้อจากัดของการจัดอันดับคุณภาพ 1. กำรจัดอันดับที่เป็นเพียงแต่งำนไม่ใช่พฤติกรรมจริงที่เกิดขึ้นมำจำกกำรทำงำนชิ้น นั้น ครูไม่สำมำรถที่จะล่วงรู้พฤติกรรมของนักเรียนแต่ละคนได้ 2. คุณลักษณะงำนขึ้นอยู่กับลักษณะและธรรมชำติของกลุ่มผู้เรียนในแต่ละชั้น เรียน ซึ่งลำดับที่ของแต่ละชั้นเรียนจะแตกต่ำงกัน คนที่ได้ลำดับที่น้อยที่สุดของห้องหนึ่ง อำจจะมีคุณภำพอยู่ในระดับกลำงของอีกห้องหนึ่งก็ได้
การสังเกต (Observation) หมำยถึง กำรเฝ้ำดูพฤติกรรมที่ต้องกำรสังเกตอย่ำงมีจุดมุ่งหมำย โดยอำศัยประสำทสัมผัส แล้วจดบันทึกสิ่งที่สังเกตได้ไว้เป็นหลักฐำนเพื่อใช้เป็นข้อมูลในกำรลงสรุปสิ่งที่ทำกำรสังเกตได้ เครื่องมือ ที่ใช้จดบันทึกผลกำรสังเกต เช่น แบบสำรวจรำยกำร มำตรประมำณค่ำ หรือแบบบันทึก ครูใช้กำรสังเกตในกำรวัดพฤติกรรมจิตพิสัยและทักษะพิสัย ของนักเรียน ประเภทของการสังเกต 1. แบ่งตามการเข้าร่วมในการสังเกต ได้แก่ 1.1 การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (กำรสังเกตที่ผู้สังเกตเข้ำไปอยู่ร่วมในกิจกรรม) 1.2 การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (กำรสังเกตที่ผู้สังเกตไม่ได้เข้ำไปร่วมในกิจกรรมเฝ้ำดูอยู่ห่ำงๆ 2. แบ่งตามการวางโครงสร้างการสังเกต แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 2.1 การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้างล่วงหน้า (Unstructured Observation) 2.2 การสังเกตแบบมีโครงสร้างล่วงหน้า (Structured Observation)
หลักการสังเกต การสังเกตเป็นวิธีการที่จะช่วยให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลที่เชื่อถือได้นั้น ต้องมี กระบวนการในการดาเนินการ โดยยึดหลักดังนี้ 1. มีจุดมุ่งหมาย ผู้สังเกตต้องทรำบว่ำจะสังเกตพฤติกรรมในเรื่องใด 2. การรับรู้รวดเร็ว ผู้สังเกตสำมำรถมองเห็นพฤติกรรมที่เด็กแสดงออกมำ ได้อย่ำงรวดเร็ว 3. สังเกตหลายคนหรือหลายครั้ง จะทำให้ผลกำรสังเกตที่ได้เชื่อถือได้สูง 4. สังเกตให้ตรงความจริง 5. มีการบันทึกผล เพื่อจะทำให้ข้อมูลไม่ผิดพลำดคลำดเคลื่อน วิธีบันทึกผลกำร สังเกตอำจมีสัญลักษณ์แทนข้อควำมยำว ๆ
การสัมภาษณ์ (Interview) 
เป็นกำรพูดคุยกันอย่ำงมีจุดมุ่งหมำยระหว่ำงบุคคล 2 ฝ่ำย คือ ผู้สัมภำษณ์กับผู้ถูก สัมภำษณ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องกำร ครูใช้กำรสัมภำษณ์นักเรียนเพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับข้อเท็จจริง ควำมคิดเห็น เจตคติ และ ควำมรู้สึก ของนักเรียน หรืออำจสัมภำษณ์ผู้ปกครองเพื่อเก็บข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับตัวนักเรียน 
ประเภทของการสัมภาษณ์ 1. การสัมภาษณ์แบบเป็นทางการ เป็นกำรสัมภำษณ์ที่ผู้สัมภำษณ์ต้องเตรียมคำถำมหรือแบบ สัมภำษณ์ล่วงหน้ำให้ครอบคลุมเนื้อหำหรือเรื่องรำวที่ต้องกำรทรำบจำกผู้ถูกสัมภำษณ์ 2. การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ เป็นกำรสัมภำษณ์ที่ผู้สัมภำษณ์เตรียมแต่จุดมุ่งหมำยไว้ แล้วใช้วิธีกำรสนทนำซักถำมแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น โดยผู้สัมภำษณ์ต้องพยำยำมให้ผู้ถูก สัมภำษณ์รู้สึกว่ำมีบรรยำกำศที่เป็นกันเอง
การสัมภาษณ์ในการเรียนการสอน ในกำรเรียนกำรสอนสำมำรถนำกำรสัมภำษณ์ไปใช้ได้ 4 ลักษณะ ดังนี้ 1. ใช้ในการทดสอบ ในกรณีที่นักเรียนยังเขียนไม่เป็น ครูอำจนำข้อสอบมำถำมให้ นักเรียนตอบด้วยวำจำ ก็ถือเป็นกำรสัมภำษณ์ 2. ใช้ประกอบการสังเกต ถ้ำครูใช้กำรสังเกตแล้วยังพบว่ำได้ข้อมูลไม่ครบถ้วนก็อำจ จำเป็นต้องสัมภำษณ์เพิ่มเติม 3. ใช้แทนการสังเกต ในบำงครั้งครูอำจไม่สำมำรถสังเกตนักเรียนได้ทั่วถึงทุกคน ก็ อำจใช้วิธีกำรซักถำมจำกเพื่อนครูคนอื่น หรือบุคคลอื่นที่เชื่อถือได้ เพื่อนำข้อมูลมำตัดสิน 4. ใช้การสัมภาษณ์ซักถามนักเรียนโดยตรงเพื่อหาข้อเท็จจริง
ข้อดีของการสัมภาษณ์ 1. ใช้ได้กับคนทุกเพศ ทุกวัย แม้ผู้ที่อ่ำนหนังสือไม่ออก หรือเขียนไม่ได้ก็สำมำรถให้ข้อมูล โดยกำรสัมภำษณ์ได้ 2. กำรสัมภำษณ์เป็นกำรสร้ำงควำมเป็นกันเองกับผู้สัมภำษณ์โดยตรง 3. ข้อมูลที่ได้มีควำมเชื่อถือได้มำกกว่ำแบบสอบถำม 4. ผู้ถูกสัมภำษณ์มีโอกำสแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมเมื่อไม่เข้ำใจได้ ผู้สัมภำษณ์ สำมำรถอ่ำนควำมรู้สึกนึกคิดของผู้ให้สัมภำษณ์ในเรื่องต่ำง ๆ ได้ ข้อเสียของการสัมภาษณ์ 1. ข้อมูลที่ได้ขึ้นอยู่กับผู้สัมภำษณ์โดยตรงได้แก่คุณสมบัติของผู้สัมภำษณ์ เช่น บุคลิกภำพ มนุษยสัมพันธ์ ไหวพริบ กำรตัดสินใจ เป็นต้น 2. กำรสัมภำษณ์ต้องใช้เวลำมำกเพรำะต้องสัมภำษณ์เป็นรำยบุคคล 3. ข้อมูลที่ได้ขึ้นอยู่กับอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม เช่น สภำพอำกำศ แสง เสียง เป็นต้น
การให้ปฏิบัติจริง เป็นวิธีกำรวัดผลที่เหมำะสำหรับกำรวัดพฤติกรรมที่เป็นทักษะ ภำคปฏิบัติ เป็นกำรทดสอบเพื่อพิจำรณำควำมสำมำรถในกำรทำงำนได้ตำม จุดมุ่งหมำย กำรวัดผลภำคปฏิบัติกับควำมสำมำรถด้ำนทักษะพิสัยมีควำมสัมพันธ์ กัน เพรำะทักษะพิสัยเป็นควำมสำมำรถพื้นฐำนของกำรปฏิบัติงำน กำรวัดผลภำคปฏิบัติในกำรทำงำน เป็นกำรที่จะตรวจสอบควำมสำมำรถ ในกำรดำเนินงำนทั้งในส่วนที่เป็นวิธีกำรดำเนินงำน และผลงำนที่เกิดขึ้น ว่ำสำเร็จอย่ำงมีประสิทธิภำพหรือไม่ และทักษะ สะท้อนให้เห็นได้จำกผลงำน
การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงาน (Portfolios) เป็นแนวทำงกำรประเมินผลโดยกำรรวมข้อมูลที่ครูและผู้เรียนทำกิจกรรม ต่ำง ๆ ร่วมกัน โดยกระทำอย่ำงต่อเนื่องตลอดภำคเรียน ดังนั้นกำรวัดผลและ ประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงำนส่วนหนึ่ง จะเป็นกิจกรรมที่สอดแทรกอยู่ใสภำพกำร เรียนประจำวัน โดยกิจกรรมที่สอดแทรกเหล่ำนี้จะวัด เนื้อหำที่เกี่ยวข้องกับ สภำพชีวิตประจำวัน
ตลอดการเรียนรู้ 1 ภาคเรียน มีการวัดผลการเรียนรู้ ช่วงเวลา ใดบ้าง และมีวัตถุประสงค์ในการวัดอย่างไร 
กำรเรียนรู้ใน 1 ภำคเรียน มีกำรวัดและประเมิน 3 ช่วงเวลำ คือ การวัดผลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน 3 คำนี้มีควำม เกี่ยวเนื่องกัน แต่ต่ำงกันที่ระยะเวลำและจุดประสงค์ของกำรวัดและประเมิน
ช่วงที่ 1 การวัดและประเมินผลก่อนการเรียนการสอน มีจุดมุ่งหมำยเพื่อที่จะตรวจสอบพฤติกรรมพื้นฐำนของผู้เรียนว่ำมีควำม พร้อม และมีควำมสำมำรถพอที่จะเรียนรู้ในเรื่องที่จะสอนต่อไปมำกน้อยเพียงใด ควรที่จะเพิ่มเติมควำมรู้หรือทักษะพื้นฐำนในเรื่องใดก่อนหรือไม่ หรืออำจจะใช้ผล จำกกำรวัดนี้เป็นเกณฑ์ในกำรแบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อจะได้เลือกใช้วิธีสอน กิจกรรม และอุปกรณ์ให้เหมำะสม ซึ่งจะทำให้กำรเรียนกำรสอนมีประสิทธิภำพ ยิ่งขึ้น
ช่วงที่ 2 วัดผลและประเมินผลในขณะทาการเรียนการสอน 
มีจุดมุ่งหมำยเพื่อปรับปรุงกำรเรียนกำรสอนให้มีประสิทธิภำพสูงสุด 
นั่นคือในขณะที่ครูกำลังดำเนินกำรสอนในแต่ละขั้นตอนตำมลำดับนั้น ครูจำเป็นต้องมี กำรทดสอบย่อยควบคู่ไปด้วยตลอดเวลำ หรือ“สอนไป สอบไป” 
ทั้งนี้ก็เพื่อจะดูว่ำในแต่ละเนื้อหำย่อยที่ครูกำลังดำเนินกำรสอนอยู่นั้น 
นักเรียนประสบควำมสำเร็จเพียงใดจะสอนในหน่วยต่อไปได้หรือไม่ หรือจำเป็นต้อง สอนซ่อมเสริมหน่วยย่อยเดิมเสียก่อนกำรสอบวัดในช่วงนี้จัดเป็นกำรสอบวัด 
ที่เรียกว่ำกำรประเมินผลย่อย
ช่วงที่ 3 วัดผลและประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน มีจุดมุ่งหมำยเพื่อตรวจสอบโดยสรุปของผลกำรเรียนกำรสอนทั้งหมดว่ำเมื่อ ครบตำมระยะเวลำที่กำหนดไว้แล้ว นักเรียนมีควำมสำเร็จในกำรเรียนรู้ทั้งสิ้นอย่ำงไร ลักษณะของกำรประเมินผลจึงเป็น กำรประเมินผลรวม (Summative Evaluation) กล่ำวคือจะเป็นกำรสอบวัดในลักษณะสรุปรวมทุกหน่วยกำรเรียนที่เรียนไปแล้ว
ผลของการวัดคือจานวนหรือปริมาณของสิ่งที่ถูก วัดใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด 
ใช่ เพราะ การวัดผล หมายถึง ขบวนกำรที่จะนำมำซึ่งตัวเลข จำนวน ปริมำณ โดยจำนวนหรือ ปริมำณนั้นมีควำมหมำยแทนพฤติกรรมอย่ำงหนึ่งหรือแทนผลงำนที่แต่ละคนแสดงปฏิกิริยำโต้ตอบสิ่ง เร้ำออกมำ (วิเชียร เกตุสิงห์. 2514 : 5) การวัดผล หมายถึง กำรใช้เครื่องมืออย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ที่จะค้นหำ หรือกำรตรวจสอบ เพื่อให้ได้ปริมำณ จำนวน หรือคุณภำพ ที่มีควำมหมำยแทนพฤติกรรม หรือผลงำน ที่แต่ละคนแสดง ออกมำ (ภัทรำ นิคมำนนท์. 2522 : 1) สรุปว่ำ กำรวัดผล หมำยถึง กระบวนกำรเพื่อให้ได้มำซึ่งตัวเลข หรือสัญลักษณ์ ที่มี ควำมหมำยแทนคุณลักษณะ หรือคุณภำพของสิ่งที่วัด โดยใช้เครื่องมือที่มีประสิทธิภำพหำรำยละเอียด สิ่งที่วัดว่ำมีจำนวนหรือปริมำณเท่ำใด เช่น นักเรียนสอบวิชาคณิตศาสตร์ได้ 20 คะแนน ก็เป็นการแปลงคุณภาพด้านความสามารถใน วิชาคณิตศาสตร์ออกมาเป็นตัวเลข โดยใช้แบบทดสอบ
อ้างอิง ปรีชำญ เดชศรี. (2554). การสร้างข้อสอบตามแนวการวัด ในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA. สืบค้นhttp://pisathailand.ipst.ac.th/ ทิวัตถ์ มณีโชติ. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชำกำร. 2549 Bloom, B. S., Engelhart, M. D., Furst, E. J., Hill, W. H., & Krathwohl, D. R.(1956). Taxonomy of educational objectives: the classification of educational goals; Handbook I: Cognitive Domain. New York, Longmans, Green
จัดทาโดย 
•นางสาวนวภัสสร บุญโทแสง รหัส 553050136-6 
•นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา ชั้นปีที่ 3 
•คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
rungtip boontiengtam
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
จตุรพล ชานันโท
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
Sunisa199444
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
Kruthai Kidsdee
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษา
Saranda Nim
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1NooAry Diiz'za
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
pupphawittayacom
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
Kruthai Kidsdee
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
Prachoom Rangkasikorn
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
Surapong Klamboot
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
wanchalerm sotawong
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
Nontaporn Pilawut
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษา
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
 

Viewers also liked

ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
Backward Design
Backward  DesignBackward  Design
Backward Designkrumew
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7sangkom
 
การใช้ดนตรีพัฒนา 6 q
การใช้ดนตรีพัฒนา 6 qการใช้ดนตรีพัฒนา 6 q
การใช้ดนตรีพัฒนา 6 q
guggig
 
พ.ร.บ.ครู
พ.ร.บ.ครูพ.ร.บ.ครู
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับsomchay
 
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ25465.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
กองพัน ตะวันแดง
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูshalala2
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Supeii Akw
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
Maesinee Fuguro
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542Suwanan Nonsrikham
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
Mod DW
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
TupPee Zhouyongfang
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อพรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อโทษฐาน ที่รู้จักกัน
 

Viewers also liked (20)

ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
 
Backward Design
Backward  DesignBackward  Design
Backward Design
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7
 
การใช้ดนตรีพัฒนา 6 q
การใช้ดนตรีพัฒนา 6 qการใช้ดนตรีพัฒนา 6 q
การใช้ดนตรีพัฒนา 6 q
 
พ.ร.บ.ครู
พ.ร.บ.ครูพ.ร.บ.ครู
พ.ร.บ.ครู
 
Learning21
Learning21Learning21
Learning21
 
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับ
 
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ25465.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อพรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
 

Similar to การวัดและประเมินผล

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้vizaza
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8puyss
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
Kittipun Udomseth
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8pajyeeb
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8pajyeeb
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8pajyeeb
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8pajyeeb
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555yuapawan
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
Tsheej Thoj
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8jujudy
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลAnny Hotelier
 

Similar to การวัดและประเมินผล (20)

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
ซิกถถถ
ซิกถถถซิกถถถ
ซิกถถถ
 
ซิกถถถ
ซิกถถถซิกถถถ
ซิกถถถ
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 

การวัดและประเมินผล

  • 1. วิชา 241 302 การวัดและประเมินผลการศึกษา คาถามเพื่อการเรียนรู้
  • 2. คาถามเพื่อการเรียนรู้ oการทดสอบและใช้แบบทดสอบเป็นเครื่องมือ เป็นเพียงวิธีการ หนึ่งในการวัดผลการเรียนรู้ นอกจากวิธีการทดสอบแล้ว ยังมีการ วัดผลการเรียนรู้ด้วยวิธีการใดอีกบ้าง และใช้เครื่องมือแบบใดบ้าง o ตลอดการเรียนรู้ 1 ภาคเรียน มีการวัดผลการเรียนรู้ ช่วงเวลา ใดบ้าง และมีวัตถุประสงค์ในการวัดอย่างไร oผลของการวัดคือจานวนหรือปริมาณของสิ่งที่ถูกวัดใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด
  • 3. การทดสอบและใช้แบบทดสอบเป็นเครื่องมือ เป็นเพียงวิธีการ หนึ่งในการวัดผลการเรียนรู้ นอกจากวิธีการทดสอบแล้ว ยังมีการวัดผล การเรียนรู้ด้วยวิธีการใดอีกบ้าง และใช้เครื่องมือแบบใดบ้าง นอกจากวิธีการทดสอบแล้ว เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลที่นิยมใช้ มีดังนี้  แบบสอบถาม  การจัดอันดับคุณภาพ  การสังเกต  การสัมภาษณ์  การให้ปฏิบัติจริง  การประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมงาน
  • 4. แบบสอบถาม (Questionaire) เป็นชุดของคำถำมที่ใช้รวบรวมข้อมูลต่ำง ๆ ที่ต้องกำรทรำบ โดยผู้ตอบจะต้องเขียน ตอบลงในแบบสอบถำมด้วยตัวเอง ครูใช้แบบสอบถำมเก็บข้อมูลลักษณะเดียวกับกำรสัมภำษณ์ เช่น ข้อเท็จจริง ควำมคิดเห็น เจตคติ และ ควำมรู้สึก ของนักเรียน แต่จะใช้ได้ดีในกรณีที่นักเรียน อ่ำนออกเขียนได้ แบบสอบถามมีรูปแบบที่นิยมใช้ 3 แบบ คือ 1. แบบสอบถามชนิดปลายเปิด (Open Form) 2. แบบสอบถามชนิดปลายปิด (Close Form) แบ่งได้ 3 แบบ ดังนี้ 2.1 แบบสำรวจรำยกำร(Check List) 2.2 แบบมำตรำส่วนประมำณค่ำ (Rating Scale) 3. แบบจัดอันดับความสาคัญ แบบสอบถำมชนิดนี้ต้องกำรให้ผู้ตอบจัดเรียงอันดับควำมสำคัญของข้อคำถำมตำม ควำมรู้สึกของผู้ตอบ เช่น ท่ำนมีควำมต้องกำรอุปกรณ์กำรเรียนมำก (โปรดเรียงอันดับ ตำมควำมต้องกำร)
  • 5. แบบสอบถาม (Questionaire) ข้อเสียของแบบสอบถาม 1. ไม่อำจหวังในควำมร่วมมือจำกผู้ตอบได้เต็มที่ 2. ข้อคำถำมมีโอกำสตีควำมได้หลำยแง่หลำยมุมอยู่บ่อย ๆ 3. บำงครั้งอำจต้องใช้คำถำมยำว ๆ หลำย ๆ ข้อจึงจะครอบคลุมเนื้อหำที่ต้องกำร ซึ่งทำให้เกิดควำมรำคำญแก่ผู้ตอบและเสียเวลำในกำรตอบ 4. กำรตอบคำถำมขึ้นอยู่กับควำมจริงใจของผู้ตอบ ถ้ำผู้ตอบตอบด้วยควำมไม่จริงใจ ก็จะได้ข้อมูลที่เชื่อถือไม่ได้ ข้อดีและประโยชน์ที่ได้จากแบบสอบถาม 1. สิ้นเปลืองเวลำน้อย โดยสำมำรถใช้ถำมคนจำนวนมำก ๆ ในเวลำเดียวกันได้ 2. สำมำรถให้ผู้ตอบเลือกตอบได้ตำมเหตุผลของตนเองมีทำงที่จะปรับปรุง แบบสอบถำมให้ดีขึ้นได้โดยใช้เทคนิคทำงสถิติ
  • 6. การจัดอันดับคุณภาพ เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้ประกอบกับเครื่องมือชนิดอื่น ในกำรจำแนกแจกแจง ควำมแตกต่ำงของคุณลักษณะหรือควำมสำมำรถของผู้เรียน เช่น กำรตรวจ แบบทดสอบวิชำ วำดเขียน กำรฝีมือ พลศึกษำ หรือกำรประเมินผลทำงด้ำนบุคลิกภำพ เพื่อเป็นกำรแก้ไขให้ ยุติธรรมขึ้นโดยใช้วิธีนำเอำผลงำนของแต่ละคนมำเปรียบเทียบกันทั้งหมด แล้วจัดอันดับ คุณภำพของงำนแต่ละชิ้น แล้วจึงหำทำงเปลี่ยนมำเป็นคะแนน โดยวิธีกำรง่ำย ๆ ต่อไปนี้ ขั้นที่ 1 จัดผลงำนทั้งหมดออกเป็น 3 กอง คือ ดี ปำนกลำง ด้อย ขั้นที่ 2 ในแต่ละกองจำกขั้นที่ 1 ให้แบ่งเป็นกองย่อย ๆ อีกกองละ 3 กองย่อย จะ ได้กองย่อย 9 กอง ขั้นที่ 3 ในบรรดำกองย่อยก็ยังแบ่งออกอีกพวกละ 3 กองย่อย ๆ ทั้งหมด 27กอง และถ้ำเรำต้องกำรแจงอันดับให้ครบกับจำนวนผู้สอบก็แบ่งกองต่อไปตำมวิธีดังกล่ำวจนเรำได้ ผลงำน เรียงอันดับติดต่อกันไปจำกดีมำกไปยังด้อยมำกโดยไม่ซ้ำที่กันเลยแล้วจึงให้คะแนน ตำมลำดับ
  • 7. ข้อดีของการจัดอันดับคุณภาพ กำรจัดอันดับคุณภำพสำมำรถให้คะแนนเกี่ยวกับผลงำนที่เป็นผลผลิตหรือ กระบวนกำรที่เกี่ยวกับคุณค่ำหรือคุณภำพของงำน มีลักษณะเป็นนำมธรรม ซึ่งยำกแก่กำรวัด ออกมำเป็นตัวเลขโดยตรงได้ ข้อจากัดของการจัดอันดับคุณภาพ 1. กำรจัดอันดับที่เป็นเพียงแต่งำนไม่ใช่พฤติกรรมจริงที่เกิดขึ้นมำจำกกำรทำงำนชิ้น นั้น ครูไม่สำมำรถที่จะล่วงรู้พฤติกรรมของนักเรียนแต่ละคนได้ 2. คุณลักษณะงำนขึ้นอยู่กับลักษณะและธรรมชำติของกลุ่มผู้เรียนในแต่ละชั้น เรียน ซึ่งลำดับที่ของแต่ละชั้นเรียนจะแตกต่ำงกัน คนที่ได้ลำดับที่น้อยที่สุดของห้องหนึ่ง อำจจะมีคุณภำพอยู่ในระดับกลำงของอีกห้องหนึ่งก็ได้
  • 8. การสังเกต (Observation) หมำยถึง กำรเฝ้ำดูพฤติกรรมที่ต้องกำรสังเกตอย่ำงมีจุดมุ่งหมำย โดยอำศัยประสำทสัมผัส แล้วจดบันทึกสิ่งที่สังเกตได้ไว้เป็นหลักฐำนเพื่อใช้เป็นข้อมูลในกำรลงสรุปสิ่งที่ทำกำรสังเกตได้ เครื่องมือ ที่ใช้จดบันทึกผลกำรสังเกต เช่น แบบสำรวจรำยกำร มำตรประมำณค่ำ หรือแบบบันทึก ครูใช้กำรสังเกตในกำรวัดพฤติกรรมจิตพิสัยและทักษะพิสัย ของนักเรียน ประเภทของการสังเกต 1. แบ่งตามการเข้าร่วมในการสังเกต ได้แก่ 1.1 การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (กำรสังเกตที่ผู้สังเกตเข้ำไปอยู่ร่วมในกิจกรรม) 1.2 การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (กำรสังเกตที่ผู้สังเกตไม่ได้เข้ำไปร่วมในกิจกรรมเฝ้ำดูอยู่ห่ำงๆ 2. แบ่งตามการวางโครงสร้างการสังเกต แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 2.1 การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้างล่วงหน้า (Unstructured Observation) 2.2 การสังเกตแบบมีโครงสร้างล่วงหน้า (Structured Observation)
  • 9. หลักการสังเกต การสังเกตเป็นวิธีการที่จะช่วยให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลที่เชื่อถือได้นั้น ต้องมี กระบวนการในการดาเนินการ โดยยึดหลักดังนี้ 1. มีจุดมุ่งหมาย ผู้สังเกตต้องทรำบว่ำจะสังเกตพฤติกรรมในเรื่องใด 2. การรับรู้รวดเร็ว ผู้สังเกตสำมำรถมองเห็นพฤติกรรมที่เด็กแสดงออกมำ ได้อย่ำงรวดเร็ว 3. สังเกตหลายคนหรือหลายครั้ง จะทำให้ผลกำรสังเกตที่ได้เชื่อถือได้สูง 4. สังเกตให้ตรงความจริง 5. มีการบันทึกผล เพื่อจะทำให้ข้อมูลไม่ผิดพลำดคลำดเคลื่อน วิธีบันทึกผลกำร สังเกตอำจมีสัญลักษณ์แทนข้อควำมยำว ๆ
  • 10. การสัมภาษณ์ (Interview) เป็นกำรพูดคุยกันอย่ำงมีจุดมุ่งหมำยระหว่ำงบุคคล 2 ฝ่ำย คือ ผู้สัมภำษณ์กับผู้ถูก สัมภำษณ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องกำร ครูใช้กำรสัมภำษณ์นักเรียนเพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับข้อเท็จจริง ควำมคิดเห็น เจตคติ และ ควำมรู้สึก ของนักเรียน หรืออำจสัมภำษณ์ผู้ปกครองเพื่อเก็บข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับตัวนักเรียน ประเภทของการสัมภาษณ์ 1. การสัมภาษณ์แบบเป็นทางการ เป็นกำรสัมภำษณ์ที่ผู้สัมภำษณ์ต้องเตรียมคำถำมหรือแบบ สัมภำษณ์ล่วงหน้ำให้ครอบคลุมเนื้อหำหรือเรื่องรำวที่ต้องกำรทรำบจำกผู้ถูกสัมภำษณ์ 2. การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ เป็นกำรสัมภำษณ์ที่ผู้สัมภำษณ์เตรียมแต่จุดมุ่งหมำยไว้ แล้วใช้วิธีกำรสนทนำซักถำมแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น โดยผู้สัมภำษณ์ต้องพยำยำมให้ผู้ถูก สัมภำษณ์รู้สึกว่ำมีบรรยำกำศที่เป็นกันเอง
  • 11. การสัมภาษณ์ในการเรียนการสอน ในกำรเรียนกำรสอนสำมำรถนำกำรสัมภำษณ์ไปใช้ได้ 4 ลักษณะ ดังนี้ 1. ใช้ในการทดสอบ ในกรณีที่นักเรียนยังเขียนไม่เป็น ครูอำจนำข้อสอบมำถำมให้ นักเรียนตอบด้วยวำจำ ก็ถือเป็นกำรสัมภำษณ์ 2. ใช้ประกอบการสังเกต ถ้ำครูใช้กำรสังเกตแล้วยังพบว่ำได้ข้อมูลไม่ครบถ้วนก็อำจ จำเป็นต้องสัมภำษณ์เพิ่มเติม 3. ใช้แทนการสังเกต ในบำงครั้งครูอำจไม่สำมำรถสังเกตนักเรียนได้ทั่วถึงทุกคน ก็ อำจใช้วิธีกำรซักถำมจำกเพื่อนครูคนอื่น หรือบุคคลอื่นที่เชื่อถือได้ เพื่อนำข้อมูลมำตัดสิน 4. ใช้การสัมภาษณ์ซักถามนักเรียนโดยตรงเพื่อหาข้อเท็จจริง
  • 12. ข้อดีของการสัมภาษณ์ 1. ใช้ได้กับคนทุกเพศ ทุกวัย แม้ผู้ที่อ่ำนหนังสือไม่ออก หรือเขียนไม่ได้ก็สำมำรถให้ข้อมูล โดยกำรสัมภำษณ์ได้ 2. กำรสัมภำษณ์เป็นกำรสร้ำงควำมเป็นกันเองกับผู้สัมภำษณ์โดยตรง 3. ข้อมูลที่ได้มีควำมเชื่อถือได้มำกกว่ำแบบสอบถำม 4. ผู้ถูกสัมภำษณ์มีโอกำสแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมเมื่อไม่เข้ำใจได้ ผู้สัมภำษณ์ สำมำรถอ่ำนควำมรู้สึกนึกคิดของผู้ให้สัมภำษณ์ในเรื่องต่ำง ๆ ได้ ข้อเสียของการสัมภาษณ์ 1. ข้อมูลที่ได้ขึ้นอยู่กับผู้สัมภำษณ์โดยตรงได้แก่คุณสมบัติของผู้สัมภำษณ์ เช่น บุคลิกภำพ มนุษยสัมพันธ์ ไหวพริบ กำรตัดสินใจ เป็นต้น 2. กำรสัมภำษณ์ต้องใช้เวลำมำกเพรำะต้องสัมภำษณ์เป็นรำยบุคคล 3. ข้อมูลที่ได้ขึ้นอยู่กับอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม เช่น สภำพอำกำศ แสง เสียง เป็นต้น
  • 13. การให้ปฏิบัติจริง เป็นวิธีกำรวัดผลที่เหมำะสำหรับกำรวัดพฤติกรรมที่เป็นทักษะ ภำคปฏิบัติ เป็นกำรทดสอบเพื่อพิจำรณำควำมสำมำรถในกำรทำงำนได้ตำม จุดมุ่งหมำย กำรวัดผลภำคปฏิบัติกับควำมสำมำรถด้ำนทักษะพิสัยมีควำมสัมพันธ์ กัน เพรำะทักษะพิสัยเป็นควำมสำมำรถพื้นฐำนของกำรปฏิบัติงำน กำรวัดผลภำคปฏิบัติในกำรทำงำน เป็นกำรที่จะตรวจสอบควำมสำมำรถ ในกำรดำเนินงำนทั้งในส่วนที่เป็นวิธีกำรดำเนินงำน และผลงำนที่เกิดขึ้น ว่ำสำเร็จอย่ำงมีประสิทธิภำพหรือไม่ และทักษะ สะท้อนให้เห็นได้จำกผลงำน
  • 14. การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงาน (Portfolios) เป็นแนวทำงกำรประเมินผลโดยกำรรวมข้อมูลที่ครูและผู้เรียนทำกิจกรรม ต่ำง ๆ ร่วมกัน โดยกระทำอย่ำงต่อเนื่องตลอดภำคเรียน ดังนั้นกำรวัดผลและ ประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงำนส่วนหนึ่ง จะเป็นกิจกรรมที่สอดแทรกอยู่ใสภำพกำร เรียนประจำวัน โดยกิจกรรมที่สอดแทรกเหล่ำนี้จะวัด เนื้อหำที่เกี่ยวข้องกับ สภำพชีวิตประจำวัน
  • 15. ตลอดการเรียนรู้ 1 ภาคเรียน มีการวัดผลการเรียนรู้ ช่วงเวลา ใดบ้าง และมีวัตถุประสงค์ในการวัดอย่างไร กำรเรียนรู้ใน 1 ภำคเรียน มีกำรวัดและประเมิน 3 ช่วงเวลำ คือ การวัดผลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน 3 คำนี้มีควำม เกี่ยวเนื่องกัน แต่ต่ำงกันที่ระยะเวลำและจุดประสงค์ของกำรวัดและประเมิน
  • 16. ช่วงที่ 1 การวัดและประเมินผลก่อนการเรียนการสอน มีจุดมุ่งหมำยเพื่อที่จะตรวจสอบพฤติกรรมพื้นฐำนของผู้เรียนว่ำมีควำม พร้อม และมีควำมสำมำรถพอที่จะเรียนรู้ในเรื่องที่จะสอนต่อไปมำกน้อยเพียงใด ควรที่จะเพิ่มเติมควำมรู้หรือทักษะพื้นฐำนในเรื่องใดก่อนหรือไม่ หรืออำจจะใช้ผล จำกกำรวัดนี้เป็นเกณฑ์ในกำรแบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อจะได้เลือกใช้วิธีสอน กิจกรรม และอุปกรณ์ให้เหมำะสม ซึ่งจะทำให้กำรเรียนกำรสอนมีประสิทธิภำพ ยิ่งขึ้น
  • 17. ช่วงที่ 2 วัดผลและประเมินผลในขณะทาการเรียนการสอน มีจุดมุ่งหมำยเพื่อปรับปรุงกำรเรียนกำรสอนให้มีประสิทธิภำพสูงสุด นั่นคือในขณะที่ครูกำลังดำเนินกำรสอนในแต่ละขั้นตอนตำมลำดับนั้น ครูจำเป็นต้องมี กำรทดสอบย่อยควบคู่ไปด้วยตลอดเวลำ หรือ“สอนไป สอบไป” ทั้งนี้ก็เพื่อจะดูว่ำในแต่ละเนื้อหำย่อยที่ครูกำลังดำเนินกำรสอนอยู่นั้น นักเรียนประสบควำมสำเร็จเพียงใดจะสอนในหน่วยต่อไปได้หรือไม่ หรือจำเป็นต้อง สอนซ่อมเสริมหน่วยย่อยเดิมเสียก่อนกำรสอบวัดในช่วงนี้จัดเป็นกำรสอบวัด ที่เรียกว่ำกำรประเมินผลย่อย
  • 18. ช่วงที่ 3 วัดผลและประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน มีจุดมุ่งหมำยเพื่อตรวจสอบโดยสรุปของผลกำรเรียนกำรสอนทั้งหมดว่ำเมื่อ ครบตำมระยะเวลำที่กำหนดไว้แล้ว นักเรียนมีควำมสำเร็จในกำรเรียนรู้ทั้งสิ้นอย่ำงไร ลักษณะของกำรประเมินผลจึงเป็น กำรประเมินผลรวม (Summative Evaluation) กล่ำวคือจะเป็นกำรสอบวัดในลักษณะสรุปรวมทุกหน่วยกำรเรียนที่เรียนไปแล้ว
  • 19. ผลของการวัดคือจานวนหรือปริมาณของสิ่งที่ถูก วัดใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด ใช่ เพราะ การวัดผล หมายถึง ขบวนกำรที่จะนำมำซึ่งตัวเลข จำนวน ปริมำณ โดยจำนวนหรือ ปริมำณนั้นมีควำมหมำยแทนพฤติกรรมอย่ำงหนึ่งหรือแทนผลงำนที่แต่ละคนแสดงปฏิกิริยำโต้ตอบสิ่ง เร้ำออกมำ (วิเชียร เกตุสิงห์. 2514 : 5) การวัดผล หมายถึง กำรใช้เครื่องมืออย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ที่จะค้นหำ หรือกำรตรวจสอบ เพื่อให้ได้ปริมำณ จำนวน หรือคุณภำพ ที่มีควำมหมำยแทนพฤติกรรม หรือผลงำน ที่แต่ละคนแสดง ออกมำ (ภัทรำ นิคมำนนท์. 2522 : 1) สรุปว่ำ กำรวัดผล หมำยถึง กระบวนกำรเพื่อให้ได้มำซึ่งตัวเลข หรือสัญลักษณ์ ที่มี ควำมหมำยแทนคุณลักษณะ หรือคุณภำพของสิ่งที่วัด โดยใช้เครื่องมือที่มีประสิทธิภำพหำรำยละเอียด สิ่งที่วัดว่ำมีจำนวนหรือปริมำณเท่ำใด เช่น นักเรียนสอบวิชาคณิตศาสตร์ได้ 20 คะแนน ก็เป็นการแปลงคุณภาพด้านความสามารถใน วิชาคณิตศาสตร์ออกมาเป็นตัวเลข โดยใช้แบบทดสอบ
  • 20. อ้างอิง ปรีชำญ เดชศรี. (2554). การสร้างข้อสอบตามแนวการวัด ในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA. สืบค้นhttp://pisathailand.ipst.ac.th/ ทิวัตถ์ มณีโชติ. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชำกำร. 2549 Bloom, B. S., Engelhart, M. D., Furst, E. J., Hill, W. H., & Krathwohl, D. R.(1956). Taxonomy of educational objectives: the classification of educational goals; Handbook I: Cognitive Domain. New York, Longmans, Green
  • 21. จัดทาโดย •นางสาวนวภัสสร บุญโทแสง รหัส 553050136-6 •นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา ชั้นปีที่ 3 •คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น