SlideShare a Scribd company logo
เครื่องมือหรือเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
1.การสังเกต (Observation)
คือ การพิจารณาปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น เพื่อค้นหาความจริงบาง
ประการโดยอาศัยประสาทสัมผัสของผู้สังเกตโดยตรงทาให้ได้ ข้อมูล
แบบปฐมภูมิ (Primary Data) ซึ่งเป็นข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
รูปแบบของการสังเกต
โดยทั่วไปนิยมแบ่งประเภทของการสังเกตเป็นหลัก แบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้
1.การสังเกตโดยให้ผู้ที่เข้าร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม
(Participant Observation)
ผู้สังเกตเข้าไปมีส่วนรวมหรือคลุกคลีในหมู่ผู้ถูกสังเกต และอาจทากิจกรรมร่วมกัน
ผู้สังเกตอาจเข้าไปร่วมอยู่ในฐานะสมาชิกคนหนึ่ง ไม่สามารถจดบันทักเกี่ยวกับสิ่งที่
สังเกตได้ทันทีและต้องใช้เวลานานในการสังเกต ผู้ถูกสังเกตจะไม่รู้ตัวและจะได้ข้อมูล
เป็นหรือเป็นธรรมชาติที่สุด
2.การสังเกตโดยผู้สังเกตไม่ได้ร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม
(Non-participant Observation)
การที่ผู้สังเกตอยู่ภายนอกของผู้ถูกสังเกต สังเกตในสถานะบุคคลภายนอก ไม่เข้าร่วม
กิจกรรมกับผู้ถูกสังเกต แบ่งเป็น 2 ชนิด
2.1 การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง (Structured Observation)
การสังเกตที่ไม่ได้กาหนดเรื่องเฉพาะที่มุ่งสังเกตเพียงอย่างเดียว แต่จะสังเกตเรื่องต่างๆที
เกี่ยวข้องด้วย
2.2 การสังเกตแบบมีโครงสร้าง (Structured Observation)
การสังเกตที่ผู้สังเกตกาหนดเรื่องจะสังเกตเฉพาะไว้แล้ว โดยคาดว่าพฤติกรรมที่สังเกต
จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ทาการสังเกต เช่น การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
หลักทั่วไปในการสังเกต
1. มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน
2. สังเกตอย่างพินิจพิเคราะห์
3. ขณะที่ทาการสังเกตต้องไม่ให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัว
4. บันทักผลการสังเกตพฤติกรรมทันที
5. บันทึกเฉพาะสิ่งที่สังเกตเห็นเท่านั้น
6. ก่อนสรุปผลควรสังเกตหลายๆครั้ง
นางสาวสุรีพร ประสานทอง รหัส 55131113084
นางสาวจุฑามาศ สมัครสมาน รหัส 55131113085
การสัมภาษณ์
(Interview)
เสนอ
ดร.อารยา ลี
ความหมายการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์ คือการสนทนาหรือการพูดโต้ตอบกันอย่างมี
กันอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหาความรู้ความจริง ตามวัตถุประสงค์ที่
กาหนดไว้ล่วงหน้า การสัมภาษณ์จะประกอบด้วยบุคคล 2ฝ่ าย คือ ผู้
สัมภาษณ์และผู้ถูกสัมภาษณ์
รูปแบบการสัมภาษณ์
รูปแบบการสัมภาษณ์แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
1. การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (Non Structured
Interview or Unstructured Interview) หมายถึงการสัมภาษณ์
ที่ไม่ใช้แบบการสัมภาษณ์ คือไม่จาเป็นต้องใช้คาถามเหมือนกัน
หมด กับผู้ถูกสัมภาษณ์ทุกคน แต่ผู้สัมภาษณ์จะต้องใช้เทคนิค
และความสามรถเฉพาะตัว เพื่อให้ได้คาตอบจากผู้ถูกสัมภาษณ์
ตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้
2. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง(Structured Interview)
หมายถึง การสัมภาษณ์ที่ผู้สัมภาษณ์จะใช้แบบสัมภาษณ์ที่
สร้างขึ้นไว้แล้ว เป็นแบบการถาม คือ ผู้สัมภาษณ์จะใช้คาถามตาม
แบบสัมภาษณ์เหมือนกันหมดทุกคน การสัมภาษณ์ต้องถามตาม
แบบสัมภาษณ์ไม่ยืดหยุ่น
รูปแบบของแบบสัมภาษณ์
รูปแบบของแบบสัมภาษณ์จะประกอบด้วยส่วนที่สาคัญ 3 ส่วน
คือ
1.ส่วนที่ใช้สาหรับบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการสัมภาษณ์ เช่น ชื่อ
โครงการ ชื่อเรื่อง วัน-เดือน-ปีที่สัมภาษณ์ และชื่อผู้สัมภาษณ์
ลักษณะบางอย่างของกลุ่มที่จะสัมภาษณ์ เช่น ระดับชั้น ห้อง
โรงเรียน หมู่บ้าน ตาบล อาเภอ จังหวัด เป็นต้น
2.รายละเอียดส่วนตัวของผู้ถูกสัมภาษณ์ เช่น เพศ อายุ จานวน
สมาชิกในครอบครัว ศาสนา เป็นต้น
3.รายละเอียดเกี่ยวกับการสัมภาษณ์ คือเป็นข้อคาถาม คาตอบ ที่
ตรงกับจุดมุ่งหมายของการสัมภาษณ์
รูปแบบของการสัมภาษณ์
1.การเตรียมตัวก่อนสัมภาษณ์
1.1 ทาความเข้าใจสาระสาคัญของการสัมภาษณ์และคาถามแต่ละข้อ
ว่ามีจุดมุ่งหมายอย่างไรเพื่อช่วยให้คาถามอยู่ในขอบข่ายที่ต้องการ ควร
ศึกษาคาตอบประเภทต่างๆที่กาหนดไว้ล่วงหน้าในแบบสัมภาษณ์ เพื่อ
ช่วยให้การจดบันทึกมีความถูกต้องรวดเร็วยิ่งขึ้น
1.2 ก่อนเริ่มสัมภาษณ์ผู้สัมภาษณ์จะต้องแนะนาตัวเอง และ
บอกจุดมุ่งหมายของการสัมภาษณ์ให้ชัดเจนด้วยภาษาง่ายๆที่ผู้
ถูกสัมภาษณ์เข้าใจได้และควรใช้เวลาเล็กน้อยสนทนาเรื่องที่ผู้
ถูกสัมภาษณ์สนใจทั่วๆไป
2.การดาเนินการสัมภาษณ์
2.1 ผู้สัมภาษณ์จะต้องสร้างบรรยากาศที่ดีในการสัมภาษณ์
สัมภาษณ์ โดยทาความคุ้นเคยกับผู้สัมภาษณ์ให้มีความรู้สึกเป็น
ความรู้สึกเป็นมิตร มีความสบายใจ
2.2ใช้การสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัว เพื่อให้ผู้ถูกสัมภาษณ์เกิด
สัมภาษณ์เกิดความกล้าไม่ลังเลใจที่จะตอบ
2.3 ผู้สัมภาษณ์จะต้องใช้ไหวพริบสังเกตดูว่า จังหวะที่สัมภาษณ์
สัมภาษณ์อยู่นั้นเหมาะสมหรือไม่
2.4 ระหว่างการสัมภาษณ์ ผู้สัมภาษณ์ไม่ควรเร่งรัดหรือคาดคั้น
คาตอบจากผู้ถูกสัมภาษณ์ควรให้มีลักษณะเป็นอิสระ
2.5 ผู้สัมภาษณ์ควรควรหลีกเลี่ยงคาถามที่เป็นการชี้แนะคาตอบ
2.6 ผู้สัมภาษณ์ควรระวังคาพูดและภาษาที่ใช้
2.7คาตอบบางข้อผู้ถูกสัมภาษณ์อาจไม่เต็มใจหรือลาบากใจที่จะ
ตอบเช่นเรื่องส่วนตัว ผู้สัมภาษณ์จะต้องระวังอย่าให้ผู้ถูกสัมภาษณ์
เกิดความรู้สึกไม่ไว้ใจ เพราะจะได้ข้อมูลที่บิดเบือนจากความจริงได้
2.8 ผู้สัมภาษณ์จะต้องหลีกเลี่ยงการวิพากษ์วิจารณ์หรืสั่งสอนผู้ถูก
สัมภาษณ์ เมื่อผู้ถูกสัมภาษณ์ ให้ข้อมูลหรือมีพฤติกรรมที่ขัดกับสิ่งที่สังคม
ยอมรับ
2.9 ในกรณีที่ผู้ถูกสัมภาษณ์ ยังไม่ได้คาตอบที่ชัดเจนหรือเป็นที่พอใจเมื่อ
จบการสัมภาษณ์แล้ว อาจย้อนกลับมาถามใหม่ โดยกล่าวในเชิงทบทวน
คาถามใหม่
2.10 เมื่อสัมภาษณ์จบแล้ว ควรกล่าวคาขอบคุณ ผู้ถูกสัมภาษณ์ที่ให้ความ
ร่วมมือเป็นอย่างดี
3.การจดบันทึกในแบบสัมภาษณ์
3.1 ต้องจดบันทึกคาตอบทันทีหลังจากสัมภาษณ์แล้ว เพื่อ
ป้องกันการหลงลืมแต่ไม่ควรพะวงในการจดบันทึกทาให้เสีย
บรรยากาศในการสัมภาษณ์
3.2 ควรบันทึกเฉพาะเนื้อหาสาระเท่านั้น และไม่ควรใส่
ความคิดของผู้สัมภาษณ์ลงไป
แบบสอบถาม
(Questionnaire)
นางสาวนรี ทองจิตต์ 55131113019
นางสาวภาวินี กาฬภักดี 55131113029
แบบสอบถามเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กันมาก โดยเฉพาะการเก็บข้อมูลทางสังคมศาสตร์ ทั้งนี้เพราะเป็น
วิธีการที่สะดวก และสามารถใช้วัดได้อย่างกว้างขวาง ทั้งข้อมูลหรือข้อเท็จจริงในอดีต ปัจจุบัน และการคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต
แบบสอบถามส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของคาถามเป็นชุด ๆ เพื่อวัดสิ่งที่ต้องการจะวัด โดยมีคาถามเป็นตัวกระตุ้นเร่งเร้าให้บุคคลแสดง
พฤติกรรมต่างๆออกมา ถือว่าเป็นเครื่องมือที่นิยมใช้วัดทางด้านจิตพิสัย ( Affective Domain )
โครงสร้างแบบสอบถาม แบบสอบถามมีหลายชนิด แต่ไม่ว่าจะเป็นแบบสอบถามชนิดใดจะมีโครงสร้าง
หรือส่วนประกอบที่สาคัญ 3 ส่วน ดังนี้
1. คาชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม ส่วนแรกของการสอบถาม จะเป็นคาชี้แจงโดยระบุ
จุดมุ่งหมายและความสาคัญที่ให้ตอบแบบสอบถาม ( หรือการนาคาตอบที่ได้ไปใช้ประโยชน์ ) คาอธิบาย
ลักษณะของแบบสอบถามและวิธีตอบพร้อมยกตัวอย่างประกอบ และตอนสุดท้ายของคาชี้แจง ควรกล่าว
ขอบคุณล่วงหน้าพร้อมระบุชื่อเจ้าของแบบสอบถามทุกครั้ง ( หรืออาจระบุในรูปของคณะกรรมการ )
ในบางครั้ง อาจมีจดหมายส่วนตัวหรือบันทึกข้อความอยู่ด้านหน้า ของแบบสอบถามด้วยและ
บางครั้งต้องมีคายืนยันเพื่อไม่ให้ผู้ตอบเกิดความวิตกกังวล เช่น แบบสอบถามชุดนี้ถือเป็นความลับเฉพาะไม่
เกิดความเสียหายใดๆแก่ตัวท่าน ท่านจึงไม่ต้องระบุชื่อ และจะวิเคราะห์โดยภาพรวมเป็นต้น
หลักในการสร้างแบบสอบถาม มีดังนี้
1. กาหนดจุดมุ่งหมายของแบบสอบถาม ผู้สร้างแบบสอบถามต้องระบุจุดมุ่งหมายของแบบสอบถามให้ชัดเจนว่า จะนา
แบบสอบถามนาไปใช้ในเรื่องอะไร เช่น เป็นเครื่องมือรวบรวมข้อมูลของการวิจัย หรือใช้เป็นเครื่องมือในการประเมิน
2. กาหนดประเด็นหลัก หรือพฤติกรรมหลักที่จะวัดให้ครบถ้วนครอบคลุมว่าจะมีประเด็นอะไรบ้าง ซึ่งสิ่งที่จะช่วยให้
ผู้สร้างสามรถกาหนดประเด็นหลักได้ถูกต้อง ครบถ้วนครอบคลุมนั้น ผู้สร้างจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ในสาระหรือทฤษฎี หรือ
โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการวัดแล้วจาแนกออกเป็นประเด็นหลักย่อยๆ
2. สภาพทั่วไป ในส่วนนี้จะเป็นรายละเอียดส่วนตัวของผู้ตอบ เช่น อายุเพศ ระดับการ
ศึกษา อาชีพ ฯลฯ
3. ข้อคาถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่จะวัด ซึ่งอาจแยกเป็นพฤติกรรมย่อยๆแล้วสร้างข้อคาถาม
พฤติกรรมย่อยๆนั้น ในส่วนนี้อาจเป็นแบบสอบถาม ชนิดรูปแบบเดียวหรือหลายรูปแบบก็ได้
3. กาหนดชนิด หรือรูปแบบของแบบสอบถาม โดยเลือกให้เหมาะสมกับเรื่องที่จะวัดและลักษณะของ
กลุ่มผู้ตอบ
4. กาหนดข้อคาถาม โดยอาจจะกาหนดในเบื้องต้นว่าการสอบถามมีความยาวมากน้อยเพียงใด และ
คลุมประเด็นหลัก ประเด็นย่อยอย่างไรบ้าง โดยวิธีกาหนดสัดส่วน หรือน้าหนักของแต่ละประเด็นซึ่งขึ้นอยู่กับการ
สอบถามว่ามีจุดเน้นในเรื่องอะไร มากน้อยเพียงใด แบบสอบถามควรมีจานวนพอเหมาะไม่มากหรือน้อยเพียงใด
5. สร้างคาถามตามจุดมุ่งหมาย ชนิดหรือรูปแบบ จานวนข้อในประเด็นต่างๆที่กาหนดไว้ตาม
โครงสร้างของแบบสอบถาม
6. ตรวจทานแก้ไข ปรับปรุง แบ่งออกเป็น 2 ตอนคือ ตอนแรกตรวจทานโดยผู้สร้างแบบสอบถามเอง
เป็นการพิจารณาแก้ไขปรับปรุงคาถามตลอดจนการเรียงลาดับข้อกระทงความจนเป็นที่น่าพอใจ ตอนที่สอง
ตรวจสอบพิจารณาให้คาแนะนาและวิจารณ์ โดยผู้รู้ หรือผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ชานาญการ
7. นาแบบสอบถามไปทดลองใช้ ( Try Out ) ควรนาไปทดลองกับกลุ่มที่มีลักษณะเหมือน หรือ
ใกล้เคียงกับเคียงกับกลุ่มที่จะเก็บรวบรวมข้อมูลจริง เพียงจานวนหนึ่ง
8. วิเคราะห์แบบสอบถาม โดยนาผลจากการทดลองมาวิเคราะห์เพื่อหาคุณภาพ และปรับปรุง
แบบสอบถามในส่วนที่ยังมีข้อบกพร่อง ซึ่งในขั้นนี้หากแบบสอบถามยังไม่มีคุณภาพเมื่อปรับปรุงแล้วก็ควรนาไป
ทดลอง วิเคราะห์ และปรับปรุงจนกระทั่งได้แบบสอบถามที่ดีมีคุณภาพ หรือเป็นไปตามเกณฑ์ที่ต้องการ จึงจะ
นาไปใช้จริง
9. จัดพิมพ์เป็นแบบสอบถามฉบับจริง
ลักษณะของแบบสอบถามที่ดี มีดังนี้
1. ไม่ควรยาวจนเกินไป ควรใช้ข้อความสั้นกะทัดรัดตรงจุด
2. ข้อความหรือภาษาที่ใช้ต้องชัดเจนเข้าใจง่ายโดยผู้สร้างแบบสอบถามจะต้องระวังในเรื่องเหล่านี้
คือ
2.1 หลีกเลี่ยงคาถามที่เป็นปฏิเสธ ซึ่งอาจทาให้ผู้ตอบตีความหมายผิดได้แต่ในกรณีที่ต้องใช้คาปฏิเสธจริงๆ ก็ควรขีด
เส้นใต้เน้นให้เห็นคาปฏิเสธนั้น
2.2 ควรขีดเส้นใต้คาที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษ เพื่อให้ผู้ตอบตีความได้ถูกต้องตรงจุด
2.3 ไม่ควรใช้คาเน้นเช่น บ่อยๆ เสมอทันที ฯลฯ เพราะอาจจะทาให้ผู้ตอบตีความได้ไม่เหมือนกัน เช่น ถามว่า วิชาอะไร
ที่อาจารย์ขาดสอนเสมอ คาว่า เสมอ บางคนอาจจะตีความว่า ขาดทุกสัปดาห์ หรือทุก 2 สัปดาห์ หรือทุกเดือน เป็นต้น
2.4 อย่าใช้คาที่มีความหมายหลายนัยเพราะผู้ตอบอาจจะตีความได้ไม่เหมือนกัน เช่น ถามว่าท่านมีอายุ….ปี บางคนตอบ
อายุเต็ม เศษเดือนปัดทิ้ง แต่บางคนอาจจะปัดเศษเดือนมาเป็นปี ทาให้ข้อมูลคลาดเคลื่อนได้จึงควรถามให้ชัดเจน เช่น ท่านมีอายุ…ปี
…. เดือน
3. ไม่ใช้คาถามนาหรือเสนอแนะให้ตอบ
4. ไม่ถามในเรื่องที่เป็นความลับ หรือค่อนข้างเป็นเรื่องส่วนตัวมากเกินไป เพราะจะทาให้ผู้ตอบตอบไม่ตรงกับความจริง
5. ไม่ถามในเรื่องที่ทราบแล้วหรือถามในสิ่งที่วัดได้ด้วยวิธีอื่นเช่น จากการสังเกตจากเอกสารรายงาน เป็นต้น
6. ข้อคาถามต้องเหมาะสมกับผู้ตอบ คือ ต้องคานึงถึงระดับการศึกษา ความสนใจ สติปัญญา ฯลฯ
7. ข้อคาถามหนึ่งๆควรถามเพียงปัญหาเดียวเพื่อให้ได้คาตอบที่ชัดเจนและตรงจุด
8. คาตอบหรือตัวเลือกในข้อคาถามควรมีมากพอ หรือให้เหมาะสมกับข้อคาถามนั้นๆ
9. คาตอบที่ได้จากแบบสอบถาม ควรจะสามารถแปลงออกมาในรูปของปริมาณและใช้สถิติอธิบายข้อเท็จจริงได้
ประเภทของแบบสอบถาม
1.แบบสอบถามชนิดปลายเปิด (Open Ended Form)
เป็นแบบสอบถามชนิดไม่ได้กาหนดคาตอบไว้เพื่อเปิด
โอกาสให้ผู้เขียนคาตอบเขียนตอบอย่างอิสระด้วยความคิดของ
ตนเอง แบบสอบถามชนิดนี้สร้างง่ายแต่วิเคราะห์และสรุปผลยาก
ตัวอย่างแบบสอบถามชนิดปลายเปิด
1.ท่านมีเหตุผลอะไรในการเลือกอาชีพครู
2.ท่านชอบวิชานี้ในเรื่องใด
2.แบบสอบถามชนิดปลายปิด
• ประกอบด้วย ข้อคาถามและตัวเลือก (คาตอบ) ซึ่งตัวเลือกนี้สร้างขึ้นโดย
คาดว่าผู้ตอบสามารถเลือกได้ตามความต้องการ แบบทดสอบนี้สร้างยาก
และใช้เวลาสร้างมากกว่าแบบสอบถามชนิดปลายเปิด แต่ผู้ตอบ ตอบ
ง่ายสะดวกรวดเร็วนอกจากนี้ข้อมูลที่ได้สามารถนาไปวิเคราะห์และ
สรุปผลง่ายออกเป็น
• แบบสอบถามชนิดปลายปิด แบ่งเป็น 4 รูปแบบ
1.แบบตรวจสอบรายการ(Checklist)
แบบตรวจสอบรายการ เป็นการสร้างรายการของข้อคาถามที่เกี่ยวหรือ
สัมพันธ์กับคุณลักษณะของพฤติกรรม(Behevior) หรือการปฏิบัติ
(Performance)
ตัวอย่าง
ก.แบบให้เลือกตอบเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งจาก 2 อย่าง เช่น
-เพศ
ชาย
หญิง
-ที่บ้านมีโทรศัพท์หรือไม่
มี
ไม่มี
• ข.แบบมีหลายคาตอบให้เลือกเพียงคาตอบเดียว เช่น
-ท่านกาลังศึกษาในชั้น
ปีที่ 1
ปีที่ 2
ปีที่ 3
ปีที่ 4
ค.แบบมีหลายคาตอบและให้โอกาสผู้ตอบเลือกได้หลายคาตอบ เช่น
-ครูผู้สอนของท่านมีลักษณะตรงกับข้อใดบ้าง(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
เป็นคนตรงต่อเวลา
เตรียมการสอนทุกครั้งก่อนทาการสอน
ให้ความช่วยเหลือผู้เรียนในทุกๆด้าน
ขวนขวายแสวงหาความรู้เพิ่มเติมเสมอ
ใช้วิธีการสอนแบบต่างๆได้อย่างเหมาะสม
ส่งเสริมและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้เรียน
อื่นๆ(โปรดระบุ)
• 2.มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)
เป็นเครื่องมือที่ครูใช้ในการประเมินนักเรียน ใช้ทั้งการประเมินการ
ปฏิบัติ กิจกรรม ทักษะต่างๆและพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
ตัวอย่าง
-ปัจจุบันนิสิตแต่งกายเหมาะสมเพียงใด
มาก
ค่อนข้างมาก
ปานกลาง
ค่อนข้างน้อย
น้อย
• 3.แบบจัดอันดับ (Rang Order) แบบสอบถามลักษณะนี้ มักจะให้ผู้ตอบ
จัดเรียงอันดับความสาคัญหรือคุณภาพจากมากไปหาน้อย
ตัวอย่าง
-ท่านเลือกเรียนครูเพราะเหตุใด โปรดเรียงอันดับตามความสาคัญของเหตุผล
จากมากไปหาน้อย
เหตุผล อันดับความสาคัญเรียงจากน้อยไปหามากที่สุด
1.มีใจรัก ……………………………
2.หางานง่าย ……………………………
3.ค่าใช้จ่ายถูก ……………………………
4.ได้รับทุนอุดหนุน …………………………..
5.ผู้ปกครองสนับสนุน …………………………..
6.เลือกเรียนตามเพื่อน ……………………………
7.เป็นอาชีพที่สังคมยกย่อง ……………………………
8.อื่นๆ(โปรดระบุ) ……………………………
จัดทาโดย
นางสาวนารี ศรีบุญทัน 55131113010
นางสาวผกาแก้ว ชัยยะ 55131113028
4. การจัดอันดับ (RANG ORDER)
เครื่องมือชนิดนี้ ใช้สาหรับจัดอันดับของข้อมูล หรือผลงานต่างๆ
ของนักเรียน แล้วจึงคิดให้คะแนนภายหลังเพื่อการประเมิน
4.1 ใช้ในกรณีที่มีผลงานหลายชั้นและ
มีกรรมการวัดผลคนเดียว
แบบที่ 1 การจัดกลุ่มในลักษณะเดียวแล้วจึงให้คะแนน
1.1 โดยครูกาหนดว่าจะจาแนกผลงานออกเป็นกี่กลุ่ม
1.2 พิจารณาว่ามีคุณภาพดีเพียงใดควรจะจัดไว้ในลุ่มใด
1.3 พิจารณาให้คะแนนจากกลุ่มแรกซึ่งมีคุณภาพดีที่สุดว่าควร
จะให้กี่คะแนนโดยยึดคะแนนเต็มเป็นหลัก
1.4 จากนั้นจึงให้คะแนนกลุ่มที่ 2 ที่ 3 และกลุ่มต่อๆไป โดยให้
คะแนนลดหลั่นกันไป
ข้อเสนอแนะ
1. การคิดให้คะแนนแบบนี้นับว่าไม่ถูกหลักวัดผลเท่าที่ควร หากยึด
หลักวัดผลจริงๆ ต้องเรียงผลงานในแต่ละกลุ่ม จากที่ดีที่สุดลง
มาแล้วนาผลงานทุกกลุ่มมาเรียงกันตามคุณภาพ โดยให้มีอันดับที่
ต่อกัน จากอันดับที่ 1 ในกลุ่มที่ดีที่สุดถึงอันดับสุดท้ายของกลุ่ม
สุดท้าย จากนั้นนาอันดับที่ได้ของผลงานแต่ละคนไปแปลงเป็น
คะแนนร้อยละ
สูตร ตาแหน่งร้อยละของผลงานแต่ละคน = (อันดับที่ – 0.5)100 /
จานวนคนทั้งหมด
2. ครูผู้สอนสามารถพิจาณาให้คะแนนจากหลายๆลักษณะพร้อมๆ
กันได้
แบบที่ 2 การจัดกลุ่มในหลายๆลักษณะแล้วจึงให้คะแนน
ครูจะวัดผลงานของนักเรียนจากหลายๆลักษณะ
เช่น การคัดไทย จะพิจารณาการให้คะแนน 3 ลักษณะ คือ
สวยงาม ถูกต้อง คัดได้ปริมาณมาก
จะเห็นว่าวิธีการนี้เป็นวิธีที่มีการให้คะแนนอย่าละเอียดรอบคอบ
และมีความยุติธรรมสูง
แต่อย่างไรก็ตาม การจัดทาหลายครั้งตามจานวนลักษณะที่ใช้เป็น
เกณฑ์ในการให้คะแนนอาจล่าช้า ไม่คล่องตัว จึงขอเสนอวิธีการใหม่
เป็นแนวทางเลือก คือ แบบที่ 3
แบบที่ 3 การพิจารณาให้คะแนนจากหลาย ๆ ลักษณะโดยตรง
(ไม่ต้องจัดอันดับคุณภาพ) โดยกาหนดคะแนนเต็มของแต่ละลักษณะ
ขึ้นมา ไม่เกิน 10 คะแนน (ควรเป็น 5 หรือ 10 คะแนน) แล้วนาผลงาน
ของนักเรียนแต่ละคนมาคิดให้คะแนนในแต่ละลักษณะ และคิดคะแนน
รวมในทุกลักษณะอีกครั้งหนึ่ง ก็จะได้คะแนนตามต้องการ
เช่น สมมุติให้นักเรียนทาหุ่นนิ้วมือคนละ 1 ตัว การให้คะแนนจะ
แบ่งเป็น 4 ลักษณะ คือ 1. ตัวหุ่นเรียบร้อย 2. สวยงาม 3. ประหยัดค่าใช้จ่าย
และ 4. ใช้ได้สะดวก แบบฟอร์มการคิดคะแนนจะเป็นดังตาราง
ตาราง แสดงผลการให้คะแนนโดยตรง ทุกลักษณะของครูผู้สอน
4.2 ใช้ในกรณีที่มีผลงานหลายชิ้นและมีกรรมการวัดผลหลายคน
ผลงานบางอย่างนอกจากมีหลาย ๆ ชิ้นแล้ว ยังมีผู้จัดอันดับ
คุณภาพหลายคนหรือที่เรียกว่า คณะกรรมการตัดสิน เช่น มีผลงาน 12
ชิ้น มีกรรมการร่วมตัดสิน 10 คน หากตัดสินโดยให้กรรมการลงคะแนน
ลับ หรือใช้วิธียกมือ แล้วทาการนับความถี่เพื่อตัดสินว่าผลงานชิ้นใด
ได้รับความนิยมอันดับ 1 หรือ 2 หรือ 3 วิธีการเช่นนี้ถือว่าเป็นการตัดสิน
ที่ไม่ละเอียด อาจจะมีปัญหาตามมา เช่น ผลงานหลายชิ้นมีความถี่
เท่ากันแสดงว่ามีคุณภาพเท่ากัน แต่ในการสังเกตของคนทั่วๆไปมี
คุณภาพไม่เท่ากันหรือผลงานที่มีอันดับติดกัน แต่ความถี่ต่างกันเพียง 1
เสียง ผลงานที่มีความถี่มากกว่าอาจจะมีคุณภาพด้อยกว่าผลงานที่มี
ความถี่น้อยกว่าก็ได้
เพื่อที่จะแก้ปัญหาการตัดสินผลงานแบบนี้ จึงขอเสนอวิธีการใหม่โดย
ใช้วิธีการจัดอันดับคุณภาพก่อนการให้คะแนน มีลาดับขั้นดังนี้
ขั้นที่ 1 สมมุติผลงานทั้ง 12 ชิ้นดังกล่าวเป็นภาพวาด และให้
กรรมการทั้ง 10 คนตัดสินว่าภาพใดสวยงามเป็นอันดับ 1 , 2 , 3 ถึงอันดับที่ 12
ก็ให้กรรมการแต่ละคน จัดอันดับความสวยงามของภาพเหล่านี้ แต่ในความเป็น
จริงให้กรรมการแต่ละคนจัดเพียง 3 , 4 หรือ 5 อันดับแรกก็พอไม่จาเป็นต้องจัด
ทั้ง 12 อันดับให้เปลืองแรงงานและเสียเวลา
นอกจากนี้กรรมการอาจจะสับสนหรือตัดสินลาบากในอันดับหลังๆ
เพื่อให้กรรมการสะดวกในการจัดอันดับ จึงควรจัดแบบฟอร์มให้กรรมการแต่
ละคนจัดอันดับตามที่ต้องการ เช่น ให้ 4 อันดับแรก ดังตัวอย่างในตาราง 2.3
(ถ้ามีกรรมการ 10 คน จะมีแบบฟอร์ม 10 ชุด)
เช่น ให้ 4 อันดับแรก ดังตัวอย่างในตาราง (ถ้ามีกรรมการ 10 คน จะมี
แบบฟอร์ม 10 ชุด)
ตาราง แสดงผลการจัดอันดับของกรรมการเป็นรายบุคคล
ขั้นที่ 2 นาแบบฟอร์มที่กรรมการแต่ละคนได้จัดอันดับที่ 1-4
(ในขั้นที่ 1) ตามความสวยงาม มาหาความถี่ ดังตัวอย่างในตาราง
ตาราง แสดงผลการจัดอันดับในรูปของความถี่
ขั้นที่ 3 หาคะแนนรวมโดยใช้วิธีกาหนดค่าน้าหนักคะแนน (Wight)
กล่าวคือนาค่าน้าหนักคะแนนในแต่ละอันดับที่กาหนดขึ้นซึ่งมีค่ามากน้อย
ลดหลั่นกันไป คูณกับความถี่ในแต่ละอันดับ โดยยึดหลักง่ายๆ ว่าอันดับที่ 1
คูณด้วย 4 คะแนน อันดับที่ 2 , 3 และ 4 คูณด้วย 3 , 2 และ 1 คะแนน
ตามลาดับ ดังตัวอย่างในตาราง
ตาราง แสดงน้าหนักคะแนนและผลการตัดสิน
เมื่อรวมคะแนนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ทาการตัดสินผลการจัดอันดับ ภาพ
ใดได้คะแนนรวมสูงสุดก็ได้รับการตัดสินเป็นอันดับที่ 1 และภาพใดได้คะแนน
รวมต่าสุดก็ได้รับการตัดสินเป็นอันดับสุดท้าย คือ อันดับที่ 12 (สามารถตัดสิน
ได้ทุกอันดับ)
ข้อเสนอแนะ
ก. ถ้าผลงานที่จะนามาจัดอันดับคุณภาพมีหลายลักษณะ เช่น
ภาพวาดดังกล่าวหากต้องการตัดสินใน 3 ลักษณะ ได้แก่ ความสวยงาม
ความคิดสร้างสรรค์ และความกลมกลืนของภาพการตัดสินผลก็ทาทีละ
ลักษณะ โดยแต่ละลักษณะทาเป็น 3 ขั้น ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ส่วน
แบบฟอร์มในขั้นที่ 1 จะเปลี่ยนใหม่ ดังตัวอย่างในตาราง
ตาราง แสดงแบบฟอร์มการจัดอันดับคุณภาพเมื่อมีหลายลักษณะ
ข. ถ้าต้องการตัดสินผลรวมทุกลักษณะ ก็ให้นาคะแนนรวม
แต่ละลักษณะมารวมกัน แล้วตัดสินผลจากคะแนนรวมสูงสุดลงมา (สามารถ
ตัดสินได้ทุกอันดับเช่นเดียวกัน) ส่วนแบบฟอร์มที่ใช้จะเป็นดังตัวอย่าง
ในตาราง
ตาราง แสดงแบบฟอร์มการตัดสินรวมทุกลักษณะ
ผู้จัดทา
1.นางสาวกรรณิกา เศษดี รหัส 55131113050 กลุ่มเรียน 02
2.นางสาวภัทราวดี ชุ่มนวล รหัส 55131113070 กลุ่มเรียน 02
3.นางสาวเกศวรางค์สุทธิคีรี รหัส 5513113088 กลุ่มเรียน 02
4.นางสาวสุดารัตน์ สายยศ รหัส 55131113092 กลุ่มเรียน 02
การวัดผลจากสภาพจริง หมายถึง กระบวนการสังเกต การบันทึก และการรวบรวมข้อมูลจากงานและวิธีที่
นักเรียนทา เพื่อเป็นพื้นฐานของการตัดสินใจในการศึกษาถึงความสามารถหรือคุณลักษณะของนักเรียนเหล่านั้น
เหล่านั้น ไม่เน้นการวัดผลเฉพาะทักษะพื้นฐาน แต่จะเน้นการวัดผลทักษะการคิดที่ซับซ้อนในการทางานของ
นักเรียน ความสามารถในการแก้ปัญหา และการแสดงออกที่เกิดจากการปฏิบัติในสภาพจริงในการเรียนการสอน ที่
สอน ที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง รวมทั้งการที่นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง
การวัดผลภาคปฏิบัติ
(performance assessment)
นาย ชัยวัฒน์ แสงทอง
นางสาว อภิรนันท์ เอี่ยมน้อย
ความหมาย ?
• เป็นการวัดผลงานที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ
สามารถวัดได้ทั้งกระบวนการและผลงาน ในสถานการณ์จริงหรือ
ในสถานการณ์จาลอง
• เหมาะกับวิชาที่เน้นการปฏิบัติมากกว่าภาคทฤษฎี
• สามารถวัดควบคู่ไปกับภาคทฤษฎี คือ การใช้แบบทดสอบ
หลักการวัดที่ดี
• 1.ต้องกาหนดจุดประสงค์ของการวัดทักษะให้ชัดเจน
• 2.เนื้อหาสาระของงานที่ให้นักเรียนปฏิบัติมีลักษณะสอดคล้องกับ
สภาพจริง
• 3.คุณภาพของสิ่งที่จะวัดในครั้งหนึ่งๆ มีจานวนเพียงพอ และ
สามารถวัดได้โดยตรง
• 4.กาหนดเงื่อนไขในการวัดได้ชัดเจน
หลักการวัดที่ดี
• 5.ในการวัดโดยใช้สิ่งเร้าที่จัดขึ้น(Structured Stimulus) ต้องเขียนคา
ชี้แจงอย่างกระชับ ชัดเจนและสมบูรณ์
• 6.แบบฟอร์มที่ใช้วัดมักจะเป็นแบบตรวจสอบรายการ(Checklist)หรือ
มาตราส่วนประมาณค่า(Rating Scale) สามารถให้คะแนนได้สะดวก แต่
ต้องระบุเกณฑ์การให้คะแนนอย่างชัดเจน
ประเภทของการวัดผลงานภาคปฏิบัติ
แบ่งตามด้านที่ต้องการวัด แบ่งได้ 2 ประเภท
1. การวัดกระบวนการ (Process)
2. การวัดผลงาน (Product)
แบ่งตามสถานการณ์ แบ่งได้ 2 ประเภท
1. สถานการณ์จริง (Real Setting)
2. สถานการณ์จาลอง (Simulated Setting)
แบ่งตามสิ่งเร้า แบ่งได้ 2 ประเภท
1.ใช้สิ่งเร้าที่เป็นธรรมชาติ (Naturral Stimulus)
2.ใช้สิ่งเร้าที่จัดขึ้น (Structured Stimulus)
การวัดกระบวนการ (Process)
• เป็นการวัดที่พิจารณาเฉพาะวิธีทา วิธีปฏิบัติในการทางาน
หรือทากิจกรรมให้สาเร็จ
เช่น การใช้เครื่องมือช่างทาเฟอร์นิเจอร์ การตีเทนนิสแบบลูกหลังมือ
พิจารณาวิธีที่ผู้เรียนทาการทดลองในห้องปฏิบัติการในวิชา
วิทยาศาสตร์
การวัดผลงาน(Product)
• เป็นการวัดที่พิจารณาเฉพาะผลงานหรือผลผลิต
ซึ่งเป็นผลที่เกิดขึ้นจากการทางานหรือกิจกรรม
เช่น ภาพวาด เฟอร์นิเจอร์ที่นักเรียนทา
สถานการณ์จริง (real setting)
• เป็นการวัดผลงานภาคปฏิบัติโดยใช้สถานการณ์จริง
สถานการณ์จาลอง (stimulated setting)
• การวัดผลงานภาคปฏิบัติในบางเรื่องต้องใช้สถานการณ์จาลอง
เพราะถ้าใช้สถานการณ์จริงจะสิ้นเปลืองมาก หรือเกิดอันตราย หรือไม่
สามารถทาได้
เช่น การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร การฝึกนักบินใหม่
การใช้สิ่งเร้าที่เป็นธรรมชาติ (natural stimuls)
• เป็นการวัดที่เป็นไปตามธรรมชาติ ผู้วัดไม่ได้เข้าไปยุ่งเกี่ยว
เช่น ทักษะทางสังคมของผู้เรียนที่ผู้วัดทาการสังเกตในสภาพที่เป็นไปตาม
ธรรมชาติ ไม่ได้กาหนดให้ปฏิบัติ
นิยมใช้วัดคุณลักษณะของบุคลิกภาพ นิสัยการทางาน
ใช้สิ่งเร้าที่จัดขึ้น (structured stimulus)
• เป็นการวัดโดยจัดสิ่งเร้าที่สามารถแสดงให้เห็นพฤติกรรมที่ต้องการ
ประเมิน
เช่น การให้นักเรียนเตรียมและกล่าวสุนทรพจน์ การให้ทดลองในห้องปฏิบัติ
การอ่านออกเสียง การเล่นดนตรี
วิธีนี้จะลดเวลาการสังเกตลง เพราะไม่ต้องรอให้เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
ขั้นตอนการสร้างแบบวัดผลงานภาคปฏิบัติ มีดังนี้
1 วิเคราะห์งานและเขียนรายการ
2. กาหนดคะแนนและน้าหนัก
3. กาหนดเกณฑ์การตัดสิน
4. จัดรูปแบบเครื่องมือ
นางสาววรรณ
รัตน์ รัตนวัน
• 1 วิเคราะห์งานและเขียนรายการ ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้
1.1 วิเคราะห์งานหรือเลือกงานที่เป็นตัวแทน โดยวิเคราะห์จุดมุ่งหมายที่ระบุ
ไว้ในหลักสูตร (ถ้ามี) และรายละเอียดของงานที่มุ่งให้ผู้เรียนฝึก เพื่อ
ค้นหาทักษะและความสามารถที่เกี่ยวข้องในกิจกรรมนั้น และเนื่องจาก
การวัดผลงานภาคปฏิบัติต้องใช้ทักษะการสังเกต ดังนั้นทักษะที่มุ่งวัดควร
เป็นสิ่งมองเห็นได้ในขณะสอบวัด และควรเป็นทักษะที่ยากๆ มากกว่า
ทักษะที่ปฏิบัติเป็นกิจวัตรทั้งนี้ควรคานึงถึงข้อจากัดเรื่องเวลา และวัสดุ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการดาเนินการสอบวัดด้วย
1.2 กาหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่จะวัด โดยทั่วไปจะประกอบไปด้วย
ขั้นตอนเตรียมงาน ขั้นปฏิบัติงาน ขั้นผลงาน และ/หรือวัดเกี่ยวกับเวลาที่
ใช้ในการปฏิบัติด้วย
1.3 เขียนข้อรายการ จะระบุรายระเอียดในแต่ละขั้นตอน เช่น ขั้นเตรียมงานใช้
อุปกรณ์อะไรบ้าง ขั้นปฏิบัติงานทาอะไรบ้าง ขั้นผลงานจะพิจารณาอะไรบ้าง
1.4 ศึกษาตัวแปรที่ส่งผลทาให้การปฏิบัติงานนั้นมีคุณภาพแตกต่างกัน ทั้งนี้เพื่อให้
เกิดความยุติธรรมแก้ผู้เข้าสอบวัดทุกคน เช่น จากตัวอย่างแบบวัดผลงานภาคปฏิบัติ
เรื่อง การดองไข่เค็ม ตัวแปรต่างๆ ที่ส่งผลต่อคุณภาพงาน ได้แก่ ชนิดของไข่ ( ไข่
เป็ด ไข่ไก่ ไข่นกกระทา ) คุณภาพของไข่ ( ไข่เก่า ไข่ใหม่ ) ชนิดของเกลือ ( เกลือ
สินเธาว์เกลือทะเล เกลือไอโอดีน ) เป็นต้น
1.5 จัดรูปแบบเครื่องมือ คือ เลือกลักษณะของแบบวัดว่า แต่ละตอนจะมีลักษณะอย่างไร
เช่น เรื่องการดองไข่เค็ม อาจจะมีลักษณะ ดังนี้
การเตรียมงาน ใช้แบบตรวจสอบรายการ
การปฏิบัติงาน ใช้แบบมาตราส่วนประมาณค่า
เวลา ใช้แบบมาตราส่วนประมาณค่า
ผลงาน ใช้แบบมาตราส่วนประมาณค่า
2. กาหนดคะแนนและน้าหนัก อาจทาเป็น 2 ขั้นตอน คือ
2.1 กาหนดคะแนนสาหรับแต่ละส่วนเช่น ในเรื่องการดองไข่เค็ม
การเตรียมงาน 20 คะแนน
การปฏิบัติงาน 40 คะแนน
เวลา 10 คะแนน
ผลรวม 30 คะแนน
รวม 100 คะแนน
2.2 กาหนดน้าหนักสาหรับแต่ละข้อรายการ โดยให้น้าหนักของทุกๆข้อในขั้นตอน
หนึ่งๆ รวมกันเท่ากับสัดส่วนคะแนนในขั้น 2.1 ทั้งนี้โดยคานึงถึงความยากของงาน
และความสาคัญของกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติ เช่น ในเรื่องการดองไข่เค็ม ขั้นเตรียม
งาน แบ่งเป็น 7 รายการ กาหนดน้าหนักคะแนนเป็นรายการละ 3 คะแนน ใน 6
รายการแรก และเป็น 2 คะแนน
3. กาหนดเกณฑ์การตัดสิน ต้องกาหนดเกณฑ์การตรวจสอบพฤติกรรมในการปฏิบัติ
หรือคุณภาพของงานในลักษณะที่มองเห็นได้ วัดได้โดยเฉพาะเกณฑ์การ ผ่าน
ผลงานภาคปฏิบัติในเรื่องนั้น ส่วนเกณฑ์การผ่านในแต่ละขั้นตอน อาจจะมีด้วย
ตามความเหมาะสม
4. จัดรูปแบบเครื่องมือ คือเรียบเรียงข้อรายการต่างๆ ตามขั้นตอน กาหนดเกณฑ์
กาหนดคะแนนและ/หรือน้าหนักเข้าเป็นหมวดหมู่ จัดรูปแบบให้สะดวกในการใช้
พร้อมทั้งกาหนดคะแนนเกณฑ์ในการผ่านในเรื่องนั้นๆ ดังตัวอย่าง
ตัวอย่างการวัดผลงานภาคปฏิบัติ เรื่อง การดองไข่เค็ม
คาชี้แจง เมื่อพิจารณาการปฏิบัติงาน เรื่อง การไข่เค็ม ของนักเรียนแล้วตรวจให้
คะแนนตามความเหมาะสม ดังนี้
1)การเตรียมงาน ( 20 คะแนน )
1. ไข่เป็ดดิบ12 ฟอง 3 ใช่ 0 ใช่
2. เกลือ1.5 ขีด ( 150 กรัม ) 3 ใช่ 0 ใช่
3.น้า1 ลิตร 3 ใช่ 0 ใช่
4. ภาชนะดองไข่ความจุ2-3 ลิตร 3 ใช่ 0 ใช่
5.วัสดุที่เหมาะสาหรับกดทับไข่ 3 ใช่ 0 ใช่
6. หม้อสาหรับต้มน้าเกลือ 3 ใช่ 0 ใช่
7.กะละมังสาหรับล้างไข่ 2 ใช่ 0 ใช่
2.การปฏิบัติงาน ( 40 คะแนน )
1)ล้างไข่จนสะอาด 8 ดีมาก 5 ปานกลาง 3 ต้องปรับปรุง
2)ต้มน้าเกลือทิ้งไว้ให้เย็น 8 ดีมาก 5 ปานกลาง 3 ต้องปรับปรุง
3)บรรจุไข่ลงในภาชนะ 8 ดีมาก 5 ปานกลาง 3 ต้องปรับปรุง
4)เทลงน้าเกลือที่เย็นแล้วลงในภาชนะ 8 ดีมาก 5 ปานกลาง 3 ต้องปรับปรุง
5)ใช้ไม้หรือวัสดุอื่นกดทับไข่ให้จม
น้าเกลือทั้งหมดแล้วปิดภาชนะ 8 ดีมาก 5 ปานกลาง 3 ต้องปรับปรุง
3. เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานจนเสร็จ ( 10 คะแนน )
10 ภายใน 60 นาที 60 – 90 นาที มากกว่า 90 นาที
4. ผลงาน ( หลังจากดองแล้ว 2 – 4 สัปดาห์) ( 30 คะแนน )
1)เนื้อไข่แดงสีแดงเข้มกว่าเดิม 15 ดีมาก 10 ปานกลาง 5
ไม่ดี
2)ความอร่อยของไข่เค็ม15 ดีมาก 10 ปานกลาง 5 ไม่ดี
ทอดหรือต้ม
รวม 100 คะแนน ได้............... คะแนน ( เกณฑ์การผ่าน 80 คะแนน )
58
อนึ่งถ้าต้องการวัดผลงานในรายวิชาใดๆ ต้องจัดขั้นตอนคล้ายการนา
โครงการสอน
(จะกล่าวรายละเอียดในบทที่ 6) โดยวิเคราะห์ภาระงานให้ครอบคลุมเนื้อหา และ
จุดประสงค์ตามหลักสูตรของรายวิชานั้น ซึ่งควรมีขั้นตอน ดังนี้
1.วิเคราะห์ภาระงานเพื่อเตรียมการสอน แบ่งเป็น 2
ตอนคือ
1.1 พิจารณาคาอธิบายรายวิชาซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาสาระ และ
จุดประสงค์การเรียนรู้ แล้วสรุปเนื้อหาสาระในวิชานั้นจะ
แบ่งเป็นกี่บท
1.2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์เป็นรายบทระหว่างชื่อเรื่อง ความคิด
รวบยอด (concept) และจุดประสงค์การเรียนรู้ แล้วกรอกลงใน
แบบฟอร์ม ดังนี้
แบบฟอร์มที่ 1 : ความสัมพันธ์ระหว่างชื่อเรื่อง ความคิดรวบยอด
และจุดประสงค์การเรียนรู้
วิชา…………………… ชั้น ……………..
ชื่อเรื่อง ความคิดรวบยอด จุดประสงค์การเรียรร้
1.
2.
1.3 ทาโครงการสอน เป็นรายสัปดาห์ตลอดภาคเรียน โดยแจกแจงชื่อเรื่อง
ทั้งหมดออกเป็น 16-18 สัปดาห์/ภาคเรียน แล้วกรอกลงในแบบฟอร์ม ดังนี้
แบบฟอร์มที่ 2 : โครงการสอนภาคเรียน
ที่…. วิชา ……. ชั้น…….
สัปดาห์ที่ ชื่อเรื่อง
การสอร
ภาคทฤษฎี ภาคปฎิบัติ
1
2
…
16
รวม100% …% …%
หมาย
เหตุ
1.เมื่อทาโครงการสอนเสร็จ ขั้นถัดไปทาบันทึกการสอน
ควบคู่ไปกับการเรียนการสอน
2.ภาคปฏิบัติอาจจะสอนและสอบวัดทั้งด้านทักษะพิสัย
(วัดภาคปฏิบัติ)และจิตพิสัย (เช่น กิจนิสัย ความมีวินัย
ความซื่อสัตว์ความขยัน เป็นต้น โดยวัดจากการสังเกต
หรือแบบทดสอบ)
3. การวัดภาคปฏิบัติจะวัดในสัปดาห์ใดบ้างขึ้นอยู่กับดุลย
พินิจของครูผู้สอน ไม่จาเป็นต้องวัดภาคปฏิบัติทุกสัปดาห์
บางสัปดาห์มีเฉพาะการเรียนการสอนหรือการฝึก
ภาคปฏิบัติ
2. วิเคราะห์ ภาระงานภาคปฏิบัติเพื่อเตรียมการวัดและประเมินผลภาคปฏิบัติ
แบ่งเป็น 2 ขั้นตอนคือ
2.1 นาลักษณะงานภาคพิเศษ (จากแบบฟอร์มที่ 2) ที่ต้องการสอบวัด และ
ประเมินผล พร้อมกับข้อมูลอื่นๆที่เกี่ยว กรอกลงในแบบฟอร์มดังนี้
แบบฟอร์ม 3 : ข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับการสอน
วัดภาคปฏิบัติ
สัปดา
ห์
ที่
สิ่งที่
ต้องการวัด
สิ่งที่
ต้องการ
วัด ใบงานนักเรียน
ลาดับที่
น้าหนัก
คะแนนลักษณะ
งาน
ภาคปฏิบัติ
กิจกรรม
หมาย
เหตุ
1.ในขั้นนี้จะคัดเลือกเฉพาะงานภาคปฏิบัติในสัปดาห์ที่ต้องการสอบ
วัดและประเมินผลเท่านั้น
2.การสอบวัดภาคปฏิบัติทุกครั่งควรแจ้งให้นักเรียนทราบล่วงหน้าว่า
จะปฏิบัติอะไร อย่าไร โดยไม่ต้องกลัวว่าเรื่องที่จะสอบวัดจะรั่วไหล
หรือไม่ยุติธรรมกับนักเรียนทุกคน ซึ่งต่างจากการสอบข้อเขียน
เพราะสิ่งสาคัญคือนักเรียนจะได้เตรียมฝึกซ้อมให้พร้อมและถ้าฝึกถึง
ขั้นจะดีมาก เช่นการทาอาหาร การเล่นดนตรี เป็นต้น เมื่อนักเรียน
เกิดทักษะในสิ่งที่ครูต้องการวัด ก็จะมีทักษะเช่นนั่นตลอดไป หรือ
ถ้านักเรียนทุกคนสามารถสอบวัดภาคปฎิบัติผ่านเกณฑ์ทุกคน ก็ยิ่ง
ถูกหลังการเรียนการสอนยิ่งขึ้น
2.2 สร้างใบงานนักเรียนและคู่มือครู ดังนี้
2.2.1 ใบงานนักเรียน ในขั้นนี้จะสร้างรายละเอียดของใบงานนักเรียน ซึ่งปะ
กอบด้วยสิ่งดังต่อไปนี้
ก. ใบงานนักเรียนลาดับที่
...................................................................................................................................................................
.......................
ข. ลักษณะภาคปฏิบัติชื่อ
...................................................................................................................................................................
........................ กิจกรรมที่จะวัด
...................................................................................................................................................................
.................
ง. รายละเอียดของการวัด อาจระบุคะแนนไว้ด้วย เช่น
ง.1 ขั้นการเตรียม ( 20% )
…………………………………………………………………………………… ง.2
ขั้นปฏิบัติ ( 40% )
……………………………………………………………………………………
2.2.2 คู่มือครู ประกอบด้วยส่วนต่างๆดังนี้
ก.รายละเอียดเหมือนใบงานนักเรียน (ตามข้อ 2.2.1)
ข. กาหนดรูปแบบและกาหนดการให้คะแนน เช่น ใช้แบบตรวจสอบ
รายการ หรือการเรียงอันดับ แต่ล่ะรายการคะแนนเต็มเท่าไร
ค.เกณฑ์การให้คะแนนที่มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า
จะต้องระบุข้อความสั้นๆกะทัดรัดเพื่ออธิบายคุณภาพของงานที่วัดทุก
ระดับ ( นักวัดผลบางคนเรียกการให้คะแนนลักษณะนี้ว่า (Rudric Score)
เช่นจากตัวอย่างการดองไข่เค็ม ขั้นการปฏิบัติที่ 1 เกณฑ์การให้คะแนน
อาจจะเป็นดังนี้1 ล้างไข่ให้สะอาด
8 คะแนน ( ดีมาก ) หมายถึง ไข่ที่สะอาด เกลี้ยงเกลา ไม่มีคราบ
สกปรก
5 คะแนน ( ปานกลาง ) หมายถึง ไข่สะอาด ไม่เกลี้ยงเกลาเพียงพอ มี
ร่องรอยของคราบสกปรกติดอยู่
3 คะแนน ( ต้องปรับปรุง ) หมายถึง ไข่ไม่สะอาด มีความสกปรกติด
ง. เกณฑ์การตัดสินการผ่านงานภาคปฏิบัติ (เช่นการดองไข่เค็ม
เกณฑ์การผ่าน80%)ข้อดีของการวัดผลงาน
ภาคปฏิบัติ1.สามารถวัดด้านทักษะเชิงปฏิบัติได้ดีกว่าเครื่องมือชนิดอื่น
2.สามารถวัดควบคู่กับการวัดภาคทฤษฏี
3.การวัดผลงานภาคปฏิบัติที่สอดคล้องกับสภาพจริง จะช่วยให้เกิดความ
เที่ยงตรงตามสภาพ
ข้อจากัดของการวัดผลงาน
ภาคปฏิบัติ1.ใช้เวลาในการสอบวัดมาก การสอบแบบเขียนตออบสามารถ
ดาเนินการได้พร้อมกันทั่งชั่น แต่การสอบภาคปฏิบัติที่มุ่งพิจารณา
กระบวนการไม่สามารถดาเนินการเช่นนั้นได้โดยปกติจะสอบวัดทีล่ะ
คน หรือเป็นกลุ่มเล็กๆ3-4คน เวลาที่ใช้ทั้งหมดจึงมากกว่าการสอบแบบ
เขียนสอบ
2.มีปัญหาด้านค่าใช้จ่าย เพราะต้องใช้เวลาส่วนบุคคลนานและต้องใช้
วัสดุอุปกรณ์ต่างๆในการสอบวัด
3. การให้คะแนนการวัดผลงานภาคปฏิบัติจะคล้ายกับการตรวจข้อสอบ
จัดทาโดย
นายปิยวัฒน์ โภคพูล 55131113023
นายบวรศักดิ์ รักธรรม 55131113027
การประเมินผลโดยใช้แฟ้ มสะสมงาน(Portfolios) เป็นแนวทางการวัดผลแบบ
ใหม่ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และการปฏิรูประบบการวัดผล
การเรียนให้สอดคล้องกับสภาพจริงและลดบทบาทการสอบด้วยข้อเขียน แต่อาศัย
การสังเกตและเก็บรวบรวมข้อมูลที่ครูและผู้เรียนทากิจกรรมต่างๆร่วมกันโดย
กระทาอย่างต่อเนื่องตลอดภาคการเรียน ดังนั้นการวัดผลและประเมินผลโดยใช้
แฟ้ มสะสมงานส่วนหนึ่ง จะเป็นกิจกรรมที่สอดแทรกในสภาพการเรียนประจาวัน
โดยกิจกรรมที่สอดแทรกเหล่านี้จะวัดเนื้อหาที่เกี่ยวกับสภาพชีวิตประจาวัน ซึ่งจะ
เป็นประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของผู้เรียน ที่เรียกว่า การวัดผลจากสภาพจริง
(Authentic Assessment) จากนั้นจึงนาผลการสังเกตและผลงานที่ผู้เรียนเก็บ
สะสมไว้ตลอดภาคเรียนไปใช้ในการประเมินผลเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน
(Formative Evaluation ) หรือการประเมินผลรวม (Summative
Evaluation) เพื่อตัดสินผลการเรียนต่อไป
แฟ้ มสะสมงาน หมายถึง กระบวนการสะสมงานอย่างมี
จุดมุ่งหมายเพื่อแสดงถึงผลงานความก้าวหน้าและสัมฤทธิ์ผล
ของนักเรียนในส่วนหนึ่ง หรือหลายส่วนในรายวิชาใดๆการ
รวบรวมงานจะต้องครอบคลุมถึงการที่นักเรียนมีส่วนร่วมในการ
เลือกเนื้อหา เกณฑ์การคัดเลือกและเกณฑ์การตัดสินระดับ
คะแนนรวมทั้งเป็นหลักฐานที่สะท้อนการประเมินตัวของ
นักเรียนด้วย
แฟ้ มสะสมงานเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ สามารถกระตุ้นให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามหลักสูตรหลากหลายวิชา มีการบูรณาการ
วิชาต่างๆรวมทั้งเกิดการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน(Cooperative
Learning) ได้ง่าย ซึ่งความรู้ความสามารถของนักเรียนจะสะสมมา
ตลอดภาคเรียนหรือตลอดปี สิ่งเหล่านี้ไม่สามารถประเมินผลด้วย
แบบทดสอบเพียงอย่างเดียว โดยเฉพาะคะแนนจากการสอบจะเป็น
ข้อมูลส่วนหนึ่งเท่านั้น
ด้วยเหตุนี้แฟ้ มสะสมงานของนักเรียน จึงกลายเป็นเครื่องมือวัดผลที่
บอกความสามารถที่แท้จริงและกระตุ้นชักนาให้ผู้เรียนประเมินผลงานการ
ทางานและค้นพบความก้าวหน้าของตนเองเครื่องมือวัดดังกล่าวส่วนหนึ่ง
เป็นวิธีการวัดผลจากสภาพจริงในธรรมชาติ (Authentic Assessment)
เป็นการประเมินผลที่เน้นข้อมูลเชิงบวกที่นักเรียนได้เรียนรู้จากการสร้าง
ผลงาน และช่วยเหลือสิ่งที่นักเรียนขาดหรือบกพร่อง พัฒนาผู้เรียนไปสู่
เกณฑ์มาตราฐาน และเพิ่มพูนให้สูงสุดเต็มศักยภาพเน้นความก้าวหน้าของ
นักเรียนแต่ละคน มากกว่าที่จะเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนแบบ
กลุ่ม ดังนั้นการเรียนการสอนจึงเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ให้เป็นผู้
ค้นพบ สร้างงาน สร้างความรู้เพื่อสนองความสามารถทางสติปัญญาที่
หลากหลาย
การประเมินผลโดยใช้แฟ้ มสะสมงาน ก็คือการประเมินความสาเร็จ
ของนักเรียนจากผลงานที่เป็นชิ้นงานที่ดีที่สุด หรืองานที่แสดงถึง
ความก้าวหน้าที่นักเรียนเก็บสะสมในแฟ้ ม สมุด กล่อง หรือกระเป๋า
แล้วแต่ลักษณะของงาน อาจจะมีหนึ่งชิ้นงานหรือมากกว่าที่เพียง
พอที่จะแสดงถึงความพยายาม ความก้าวหน้า และผลสัมฤทธิ์ของ
นักเรียนที่มอบหมาย จุดประสงค์ในเรื่องนั้นๆหรือวิชานั้นๆ
ผู้จัดทา
นางสาว ณัฐพร เผือดจันทึก รหัส 55131113059
นางสาว ชุติมา พรมราย รหัส 55131113076
ลักษณะของแฟ้ มสะสมงาน มีได้หลายรูปแบบแตกต่างกัน
แต่โดยทั่วไปมีลักษณะที่สาคัญ ดังนี้
1. เป็นการสะสมงานที่สาคัญของนักเรียนแต่ละคน โดยครูผู้สอนเป็น
ผู้ช่วยให้คาแนะนาและร่วมกันกาหนดเป้าหมาย (Goals) ว่าจะมีสิ่งใดบ้างที่
จะบรรจุในแฟ้ มสะสมผลงานของนักเรียน
2. เน้นผลงานเป็นสาคัญ ในแฟ้ มสะสมงานจะมีส่วนของผลงานที่เป็น
ตัวอย่างของผู้เรียนมากกว่าสิ่งอื่น ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายสาคัญของการ
สอนในทุกวิชาที่ควรเน้นผลงานของนักเรียน หลังจากเรียนเสร็จนักเรียน
จะเลือกผลงานของตนเข้าบรรจุในแฟ้ มสะสมงาน เมื่อต้องการประเมินผล
การเรียนรู้ก็จะอาศัยอ้างอิงจากหลักฐานที่อยู่ในแฟ้ มสะสมงาน แต่ถ้าจะวัด
ทักษะด้านกระบวนการ ก็ควรต้องอาศัยวิธีการอื่นช่วย เช่น การสังเกต
กระบวนการวัดผลภาคปฏิบัติ เป็นต้น
3. บ่งชี้จุดแข็งของนักเรียนมากกว่าจุดบกพร่อง การวัดผลด้วย
แบบทดสอบส่วนใหญ่แสดงความบกพร่อง มักจะไม่มีโอกาสถาม
สาเหตุความไม่รู้ไม่เข้าใจของนักเรียน แต่แฟ้ มสะสมงานนักเรียนมี
โอกาสเลือกหาจุดแข็งมากกว่าจุดบกพร่อง นั่นคือนักเรียนมีโอกาส
เสนอผลงานที่ดีที่สุด จึงมีลักษณะที่เป็นทางบวก เป็นการเสริมสร้าง
(Constuction) ในการเรียนรู้ ว่าจะทาอย่างไรในการเรียนการสอน
เพื่อแก้จุดบกพร่องนั้น และอาจกล่าวถึงข้อบกพร่องที่สาคัญเช่นกัน
แต่ไม่ใช่เพื่อชี้การด้อยประสิทธิภาพของนักเรียน
4. เอื้อต่อการสื่อสารผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนต่อบุคคลอื่น นักเรียน
สามารถใช้แฟ้ มสะสมงานแสดงต่อผู้ปกครอง เพื่อนนักเรียน และบุคคล
อื่นได้ว่าตนได้บรรลุผลสัมฤทธิ์อะไรบ้าง เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพใน
การนาไปใช้ เพราะประกอบด้วยตัวอย่างของสิ่งที่นักเรียนสามารถทาได้
5. เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง การที่นักเรียนเป็นเจ้าของแฟ้ มสะสม
งาน เป็นผู้เลือกชิ้นงานในแต่ละชนิดที่จะบรรลุลงในแฟ้ มสะสมงาน ฯลฯ
จึงเป็นกระบวนการวัดผลที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง เป็นผู้ร่วมใน
กระบวนการวัดผลอย่างจริงจัง มากกว่าครูผู้สอนเป็นศูนย์กลาง
ผู้จัดทา
นางสาว ธันภมร แสนสาราญ รหัส 55131113033
นางสาว กาญจนา ขวัญเมือง รหัส 55131113037
• เป็นแฟ้มที่อยู่ระหว่างการสะสมรวบรวมชิ้นงาน ที่ผู้เรียน
สร้างขึ้นจากการเรียนการสอน ที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนจริง
อาจจะเป็นผลงานที่ยังทาไม่เสร็จหรือทาเสร็จแล้วและ
ผ่านการประเมินโดยบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องแล้ว แต่ยังมิได้คัดเลือกผลงาน
ที่พอใจ การจัดเก็บยังไม่เป็นระบบ จึงไม่ใช่แฟ้มสะสมผลงานที่สมบูรณ์
ภาพตัวอย่าง นักศึกษาที่กาลังทางาน เพื่อรวบรวมเป็น
แฟ้ มผลงาน
• เป็นแฟ้มที่ผู้เรียนคัดเลือกงานเพื่อวัตถุประสงค์หลายประการ
เช่น เลือกงานชิ้นที่ดีที่สุด งานแสดงความก้าวหน้างานที่ตอบสนอง
จุดประสงค์การเรียนรู้ หรือตอบสนองความสามารถทางด้านสติปัญญาที่
หลากหลาย เป็นแฟ้ มที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าและความสาเร็จใน
การเรียน สามารถใช้เป็นหลักฐานในการตัดสินผลการเรียนรู้ สามารถนา
แฟ้ มสะสมผลงานฉบับสมบูรณ์มาจัดนิทรรศการ เพื่อแสดงให้ผู้อื่นได้ชม
ด้วยเหตุนี้บางทีจึงเรียกว่า
ภาพตัวอย่าง แฟ้ มผลงานที่เสร็จสมบูรณ์
•ผู้จัดทา
• นาย สิทธิชัย แสงสิทธิ์ รหัส 55131113073
• นาย วุฒิไกร ฉันทะโส รหัส 55131113079
การประเมินผลโดยใช้แฟ้ มสะสมงานมีหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับ
จุดมุ่งหมายของการจัดทา เช่น แฟ้ มสะสมงาน ซึ่งเน้นพัฒนาการของนักเรียน
มีจุดมุ่งหมายเพื่อใช้ปรับปรุงการเรียน (Formative)และวินิจฉัย (Diagnosis)
จะเป็นการรวบรวมงานทั้งด้านกระบวนการ (Process)และผลผลิต (Product)
โดยด้านกระบวนการก็อาจรวบรวม ตั้งแต่ การร่างงาน (Drafts) แนวคิด (Ideas)
และการปรับปรุงแก้ไขงาน (Revision)
ส่วนด้านผลผลิตก็ได้แก่ผลงาน (Final Product) ในบางกรณีแฟ้ ม
สะสมงาน มีจุดมุ่งหมายการประเมินผลรวม ก็จะรวบรวมเฉพาะผลงานที่
เสร็จสมบูรณ์ เช่น งานเรียงความหรือผลงานศิลปะ เป็นต้น
ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของการจัดทาบางกรณีแฟ้ มสะสมงานบรรจุงาน
แทบทุกชิ้นในรายวิชานั้น บางกรณีแฟ้ มสะสมงานเลือกเฉพาะชิ้นงานที่ดีที่สุด
ประมาณ 4 ชิ้น บางกรณีนักเรียนเป็นผู้คัดเลือกชิ้นงานของตน หรือครูผู้สอนเป็น
ผู้คัดเลือกงานของนักเรียน บ่อยครั้งที่ทั้งนักเรียนและผู้สอนช่วยกันเลือก และใน
บางกรณีผู้บริหารอาจเป็นผู้ระบุเนื้อหาในแฟ้ มสะสมงาน เพื่อกรประเมินผลอย่าง
เป็นทางการหรือเพื่อเปรียบเทียบมาตรฐานการศึกษา
ตัวอย่างที่จะนาเสนอต่อไปนี้เป็นเพียงบางกรณีเมื่อครูผู้สอนต้องการ
จะจัดแฟ้ มสะสมงานในแนวทางใด ก็พิจารณาดัดแปลงตามความเหมาะสมเพื่อให้
บรรลุตามจุดมุ่งหมาย
เป็นแฟ้ มสะสมงานที่มุ่งประเมินผลเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน
โดยนักเรียนเป็นผู้เลือกชิ้นงานเอง และบรรจุงานเกือบทุกชิ้นที่เขาได้ทาในชั้นเรียน
ลงในแฟ้ มสะสมงาน จุดหมายของงานลักษณะนี้เพื่อดูพัฒนาการของนักเรียน และ
ตอบสนองจุดมุ่งหมายของนักเรียนแต่ละคน ตามทัศนะของครูผู้สอน อย่างไรก็
ตามครูผู้สอนจะมีส่วนร่วมตัดสินใจเกี่ยวกับการเรียนการสอน และการประเมินผล
ผู้จัดทา
นางสาว ธมลวรรณ ดีบ้านโสก รหัส 55131113057
นางสาว วสุนันท์มงคลนา รหัส55131113064
ขั้นตอนการทาแฟ้มสะสมงาน
1. ครูผู้สอนและนักเรียนร่วมกันวางแผน เตรียมกิจกรรมการเรียน
การสอนเพื่อให้บรรลุจุดประสงค์
2. ดาเนินการเรียนการสอนและนักเรียนเริ่มสะสมชิ้นงานที่ทา
กิจกรรมในชั้นเรียนแทบทุกชิ้นงาน โดยยักเรียนมีอิสระที่จะวาง
แนวทางการเก็บสะสมชิ้นงาน เพื่อดูพัฒนาการของตนเอง
3. นักเรียนเขียนประเมินค่าตนเองว่า ชอบ หรือไม่ชอบ เพราะเหตุ
ใด ได้เรียนรู้อะไรจากเรื่องนั้นถ้ามีโอกาสจะปรับปรุงอย่างไร
4. ครูผู้สอนประเมินผลงานของนักเรียนเพื่อปรับปรุงการเรียนการ
สอนเป็นระยะๆ ทั้งนี้อาจพิจารณาประกอบกับการเขียนบันทึก
รายวันของนักเรียน เพราะจะเป็นตัวสะท้อนความรู้สึกนึกคิด
ของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอนบทเรียนนั้นๆ
กรณีตัวอย่างที่ 2
เป็ นแฟ้ มสะสมงานที่มุ้งประเมินผลรวม หรือตัดสินผลการเรียน
โดยนักเรียนและครูผู้สอนร่วมกันเลือกชิ้นมากล่าวคือครุผู้สอนอาจวาง
เกณฑ์หรือขอบข่ายการเลือกชิ้นงานนอกจากนี้จะมีการประเมินตนเอง
และการเขียนบันทึกรายวันเป็นส่วนประกอบด้วย แฟ้ มสะสมงานชนิด
นี้ เป็ นการเปิดโอกาสให้นักเรียน ครูผู้สอนและผู้ปกครองได้พิจารณา
รายละเอียดของสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ ขณะเดียวกันเปิ ดโอกาสให้
นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นความสามารถ ในการเรียนและคุณภาพ
ของการเรียนการสอน
ขั้นตอนการทาแฟ้ มสะสมงาน
1. ครูผู้สอนวางแผนกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์
2. ดาเนินการเรียนการสอน และนักเรียนเก็บสะสมชิ้นงานไว้ในแฟ้ มรวม
ของแต่ล่ะบุคคล
3. ครุผู้สอนเป็นผู้วางขอบข่ายการเลือกชิ้นงาน เพื่อให้ครอบคลุมสิ่งที่มุ้งวัด
ในวิชาภาษาอังกฤษวิชาหนึ่ง ครูผู้สอนให้นักเรียนเลือกชิ้นงานเด่นๆ ใน
ทักษะการเขียนประมาณ 4-5 ชิ้นมานาเสนอในแฟ้ มสะสมงานเป็นต้น
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล

More Related Content

What's hot

IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
dnavaroj
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
Pinutchaya Nakchumroon
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
worapanthewaha
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
Ornkapat Bualom
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
Fern's Phatchariwan
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
Thitaree Samphao
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
Somporn Amornwech
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
naleesaetor
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
Manchai
 

What's hot (20)

IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 

Viewers also liked

การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้สุเทพ สอนนิล
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
NU
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
oieseau1
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
TupPee Zhouyongfang
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลSuriya Phongsiang
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้kruteerapol
 
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51krupornpana55
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เพ็ญพร พิเภก
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
NU
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
บีน้อย สุชาดา
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมการเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
TupPee Zhouyongfang
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
Aj.Mallika Phongphaew
 
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
Koksi Vocation
 

Viewers also liked (20)

การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมการเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
 
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัดSpss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
 
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
 

Similar to เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล

การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
Kittipun Udomseth
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลAnny Hotelier
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Bert Nangngam
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
pingkung
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8pajyeeb
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8pajyeeb
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8pajyeeb
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8pajyeeb
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
othanatoso
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
khanidthakpt
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
KruBeeKa
 

Similar to เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล (20)

การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ใบความรู้1
ใบความรู้1ใบความรู้1
ใบความรู้1
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

More from Wuttipong Tubkrathok

สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
Wuttipong Tubkrathok
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
Wuttipong Tubkrathok
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
Wuttipong Tubkrathok
 
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงเหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
Wuttipong Tubkrathok
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
Wuttipong Tubkrathok
 
คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์
Wuttipong Tubkrathok
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
Wuttipong Tubkrathok
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
Wuttipong Tubkrathok
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
Wuttipong Tubkrathok
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
Wuttipong Tubkrathok
 
ลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisaลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisa
Wuttipong Tubkrathok
 
การวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดการวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิด
Wuttipong Tubkrathok
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
Wuttipong Tubkrathok
 
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
Wuttipong Tubkrathok
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
Wuttipong Tubkrathok
 
The doppler effect
The doppler effect The doppler effect
The doppler effect
Wuttipong Tubkrathok
 
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทาแผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
Wuttipong Tubkrathok
 

More from Wuttipong Tubkrathok (20)

สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงเหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
ลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisaลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisa
 
การวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดการวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิด
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
The doppler effect
The doppler effect The doppler effect
The doppler effect
 
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทาแผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล