SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 8

การวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู้
ความหมายของการวัดผล การทดสอบ และการประเมินผล
          การวัดผลการ (Measurement) หมายถึง กระบวนการหาปริ มาณ หรื อ
จานวนของสิ่ งต่าง ๆ โดยใช้เครื่ องมือ อย่างใดอย่างหนึ่ ง ผลจากการวัดจะ
ออกมาเป็ นตัวเลข หรื อสัญลักษณ์
          การทดสอบการศึกษา หมายถึง กระบวนการวัดผลอย่างหนึ่ งที่กระทา
อย่างมีระบบเพื่อใช้ในการเปรี ยบเทียบ ความสามารถของบุคคล โดยใช้ขอสอบ  ้
หรื อคาถามไปกระตุนให้สมองแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ งออกมา
                    ้
           การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การตัดสิ น หรื อวินิจฉัยสิ่ งต่าง
ๆ ที่ได้จากการวัดผล
บลูม (Bloom) และคณะ ได้แบ่งพฤติกรรมที่จะวัดออกเป็ น 3 ลักษณะ
          วัดพฤติกรรมด้ านพุทธิพสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับ ความรู ้
                                 ิ
ความคิด (วัดด้านสมอง)
          วัดพฤติกรรมด้ านจิตพิสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับความรู ้สึกนึ กคิด
(วัดด้านจิตใจ)
          วัดพฤติกรรมด้ านทักษะพิสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับการใช้
กล้ามเนื้อ และประสาทสัมผัสส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกาย (วัดด้านการปฏิบติ)    ั
จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา
            1. วัดผลเพื่อและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรี ยน หมายถึง การวัดผลเพื่อดูวา     ่
นักเรี ยนบกพร่ องหรื อไม่เข้าใจในเรื่ อง ใดอย่างไร แล้วครู พยายามอบรมสังสอนให้นกเรี ยน
                                                                       ่          ั
เกิดการเรี ยนรู ้และมีความเจริ ญงอกงามตามศักยภาพของนักเรี ยน
            2. วัดผลเพื่อวินิจฉัย หมายถึง การวัดผลเพื่อค้นหาจุดบกพร่ องของนักเรี ยนที่มี
ปัญหาว่า ยังไม่เกิดการเรี ยนรู้ตรงจุดใด เพื่อหาทางช่วยเหลือ
            3. วัดผลเพื่อจัดอันดับหรื อจัดตาแหน่ง หมายถึง การวัดผลเพื่อจัดอันดับ
ความสามารถของนักเรี ยนในกลุ่มเดียวกันว่าใครเก่งกว่า ใครควรได้อนที่ 1 2 3
                                                                   ั
4. วัดผลเพื่อเปรี ยบเทียบหรื อเพื่อทราบพัฒนาการของนักเรี ยน หมายถึง
การวัดผลเพื่อเปรี ยบเทียบความสามารถของนักเรี ยนเอง เช่น การทดสอบ
ก่อนเรี ยน และหลังเรี ยนแล้วนาผลมาเปรี ยบเทียบกัน
          5. วัดผลเพื่อพยากรณ์ หมายถึง การวัดเพื่อนาผลที่ได้ไปคาดคะเน
หรื อทานายเหตุการณ์ในอนาคต
          6. วัดผลเพื่อประเมินผล หมายถึง การวัดเพื่อนาผลที่ได้มาตัดสิ น
หรื อสรุ ปคุณภาพของการจัดการศึกษาว่ามีประสิ ทธิ ภาพสู งหรื อต่า ควร
ปรับปรุ งแก้ไขอย่างไร
หลักการวัดผลการศึกษา
           1. ต้องวัดให้ตรงกับจุดมุ่งหมายของการเรี ยนการสอน คือ การวัดผลจะเป็ นสิ่ งตรวจสอบ
ผลจากการสอนของครู วา นักเรี ยนเกิดพฤติกรรมตามที่ระบุไว้ในจุดมุ่งหมายการสอนมากน้อยเพียงใด
                          ่
           2. เลือกใช้เครื่ องมือวัดที่ดีและเหมาะสม การวัดผลครู ตองพยายามเลือกใช้เครื่ องมือวัด
                                                                   ้
ที่มีคุณภาพ ใช้เครื่ องมือวัดหลาย ๆ อย่าง เพื่อช่วยให้การวัดถูกต้องสมบูรณ์
           3. ระวังความคลาดเคลื่อนหรื อความผิดพลาดของการวัด เมื่อจะใช้เครื่ องมือชนิดใด
ต้องระวังความบกพร่ องของเครื่ องมือหรื อวิธีการวัดของครู
           4. ประเมินผลการวัดให้ถูกต้อง เช่น คะแนนที่เกิดจาการสอนครู ตองแปลผลให้ถูกต้อง
                                                                           ้
สมเหตุสมผลและมีความยุติธรรม
           5. ใช้ผลการวัดให้คุมค่า จุดประสงค์สาคัญของการวัดก็คือ เพื่อค้นและพัฒนาสมรรถภาพ
                                 ้
ของนักเรี ยน ต้องพยายามค้นหาผูเ้ รี ยนแต่ละคนว่า เด่น-ด้อยในเรื่ องใด และหาแนวทางปรับปรุ ง
แก้ไขแต่ละคนให้ดีข้ ึน
เครื่องมือทีใช้ ในการวัด
            ่
1. การสั งเกต (Observation)
              การสั งเกต คือ การพิจารณาปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อค้นหาความจริ ง
บางประการ โดยอาศัยประสาท สัมผัสของผูสงเกตโดยตรง
                                           ้ั
2. การสั มภาษณ์ (Interview)
       การสั มภาษณ์ คือ การสนทนาหรื อการพูดโต้ตอบกันอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหา
       ความรู้
 ความจริ ง ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ล่วงหน้า
3. แบบสอบถาม (Questionnaire)
                                                       ั
     แบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กนมาก โดยเฉพาะการเก็บ
     ข้อมูลทางสังคมศาสตร์ ทั้งนี้เพราะเป็ นวิธีการที่สะดวก และสามารถใช้
     วัดได้อย่างกว้างขวาง
4. การจัดอันดับ (Rank Order)
     เป็ นเครื่ องมือมือวัดผลให้นกเรี ยน หรื อผูได้รับแบบสอบถามเป็ นผูตอบ
                                 ั              ้                     ้
     โดยการจัดอันดับความสาคัญ หรื อจัดอันดับคุณภาพ และใช้จดอันดับของ
                                                                ั
     ข้อมูลหรื อผลงานต่าง ๆ ของนักเรี ยนแล้วจึงให้คะแนน ภายหลังเพื่อการ
     ประเมิน
5. การประเมินผลจากสภาพจริง (Authentic Assessment)
             หมายถึง กระบวนการสังเกต การบันทึก และรวบรวมข้อมูลจากงานและ
วิธีการที่นกเรี ยนทา การประเมินผลจากสภาพจริ งจะเน้นให้นกเรี ยนสามารถแก้ปัญหา
           ั                                                ั
เป็ นผูคนพบและผูผลิตความรู ้ นักเรี ยนได้ฝึกปฏิบติจริ ง รวมทั้งเน้นพัฒนาการเรี ยนรู ้
       ้้          ้                            ั
ของนักเรี ยนความสาคัญของการประเมินผลจากสภาพจริ ง
6. การวัดผลภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
          การวัดผลภาคปฏิบติ เป็ นการวัดผลงานที่ให้
                             ั
นักเรี ยนลงมือปฏิบติ ซึ่ งสามารถวัดได้
                      ั
ทั้งกระบวนการและผลงาน ในสถานการณ์จริ ง หรื อใน
สถานการณ์จาลอง สิ่ งที่ควรคานึงใน
การสอบวัดภาคปฏิบติคือ     ั
          1. ขั้นเตรี ยมงาน
          2. ขั้นปฏิบติงาน
                        ั
          3. เวลาที่ใช้ในการทางาน
          4. ผลงาน
7. การประเมินผลโดยใช้ แฟมสะสมงาน (Portfolios)
                          ้
            เป็ นแนวทางการประเมินผลโดยการรวมข้อมูลที่ครู และผูเ้ รี ยนทากิจกรรม
ต่าง ๆ ร่ วมกัน โดยกระทาอย่างต่อเนื่องตลอดภาคเรี ยน ดังนั้นการวัดผลและ
ประเมินผลโดยใช้แฟ้ ม
                                                   ่
สะสมงานส่ วนหนึ่ง จะเป็ นกิจกรรมที่สอดแทรกอยูใสภาพการเรี ยนประจาวัน โดย
กิจกรรมที่สอดแทรกเหล่านี้จะวัด เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสภาพชีวตประจาวัน
                                                             ิ
8. แบบทดสอบ (Test)
            ประเภทของแบบทดสอบ สามารถแบ่งประเภทออกได้หลายลักษณะ
       ่ ั
ขึ้นอยูกบเกณฑ์ที่จะใช้
1. แบ่ งตามสมรรถภาพทีจะวัด แบ่งเป็ น 3 ประเภท
                        ่
            1. แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ (Achievement Test) หมายถึง แบบทดสอบ
ที่วดสมรรถภาพสมองด้านต่าง ๆ
    ั
2. แบบทดสอบวัดความถนัด (Aptitude Test) หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดสมรรถภาพ
สมองของ ผูเ้ รี ยน
3. แบ่ งตามเวลาทีกาหนดให้ ตอบ
                     ่
           3.1 แบบทดสอบที่จากัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลาน้อย
           3.2 แบบทดสอบที่ไม่จากัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลาตอบมาก
4. แบ่ งตามจานวนผู้เข้ าสอบ
           4.1 แบบทดสอบเป็ นรายบุคคล หมายถึง การสอบทีละคนมักเป็ นการสอบภาคปฏิบติ   ั
           4.2 แบบทดสอบเป็ นชั้นหรื อเป็ นหมู่ หมายถึง การสอบทีละหลาย ๆ คน
5. แบ่ งตามสิ่ งเร้ าของการถาม
           5.1 แบบทดสอบทางภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ตองอาศัยภาษาของสังคมนั้น ๆ
                                                           ้
                 ั ้
เป็ นหลัก ใช้กบผูที่อ่านออกเขียนได้
           5.2 แบบทดสอบที่ไม่ใช้ภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้รูปภาพ สัญลักษณ์หรื อตัวเลข
6. แบ่ งตามลักษณะของการใช้ ประโยชน์
           6.1 แบบทดสอบย่อย หมายถึง แบบทดสอบประจาบท หรื อหน่วยการเรี ยน
           6.2 แบบทดสอบรวม หมายถึง แบบทดสอบสรุ ปรวมเนื้อหาที่เรี ยนผ่านมา
ตลอดภาคเรี ยน
7. แบ่ งตามเนือหาของข้ อสอบในฉบับ
              ้
           7.1 แบบทดสอบอัตนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีเฉพาะคาถามนักเรี ยนต้อง
คิดหาคาตอบเอง
           7.2 แบบทดสอบปรนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีท้ งคาถามและคาตอบ
                                                     ั
เฉพาะคงที่แน่นอน
ประเภทของแบบสอบถาม
         แบบสอบถามแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
         1. แบบสอบถามปลายเปิ ด
         2. แบบสอบถามปลายปิ ด
การวิเคราะห์ ข้อมูล
         การวิเคราะห์ขอมูลเป็ นกระบวนการนาข้อมูลซึ่ งเก็บรวบนวม
                         ้
ได้มาจัดกระทาโดยการจัดระเบียบ แยกประเภทลักษณะของข้อมูลแบ่งเป็ น
2 ประเภท
         1. ข้อมูลเชิงปริ มาณ
         2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การประเมินผลทางการศึกษา
         การประเมินผลทางการศึกษา หมายถึง กระบวนการในการตัดสิ นใจ
ลงสรุ ปคุณลักษณะหรื อพฤติกรรมของนักเรี ยนว่ามีคุณภาพดีระดับใดโดย
อาศัยเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ งในการเปรี ยบเทียบ มีองค์ประกอบ 3 ประการ
คือ
         1. ผลการวัด
         2. เกณฑ์การพิจารณา
         3. การตัดสิ นใจ
The End

More Related Content

What's hot

การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
Chainarong Maharak
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555yuapawan
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
Navie Bts
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
ืnattakamon thongprung
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้สุเทพ สอนนิล
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1yuapawan
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลมะม่วงกระล่อน จริงๆ
 

What's hot (16)

การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
ซิกถถถ
ซิกถถถซิกถถถ
ซิกถถถ
 
ซิกถถถ
ซิกถถถซิกถถถ
ซิกถถถ
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
 

Similar to นาว1

อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
Tsheej Thoj
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1yuapawan
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8puyss
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555yuapawan
 
งานบทที่ 8
งานบทที่ 8งานบทที่ 8
งานบทที่ 8hadesza
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาaumkpru45
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8sangkom
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้vizaza
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 

Similar to นาว1 (20)

อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
 
งานบทที่ 8
งานบทที่ 8งานบทที่ 8
งานบทที่ 8
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 

นาว1

  • 2. ความหมายของการวัดผล การทดสอบ และการประเมินผล การวัดผลการ (Measurement) หมายถึง กระบวนการหาปริ มาณ หรื อ จานวนของสิ่ งต่าง ๆ โดยใช้เครื่ องมือ อย่างใดอย่างหนึ่ ง ผลจากการวัดจะ ออกมาเป็ นตัวเลข หรื อสัญลักษณ์ การทดสอบการศึกษา หมายถึง กระบวนการวัดผลอย่างหนึ่ งที่กระทา อย่างมีระบบเพื่อใช้ในการเปรี ยบเทียบ ความสามารถของบุคคล โดยใช้ขอสอบ ้ หรื อคาถามไปกระตุนให้สมองแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ งออกมา ้ การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การตัดสิ น หรื อวินิจฉัยสิ่ งต่าง ๆ ที่ได้จากการวัดผล
  • 3. บลูม (Bloom) และคณะ ได้แบ่งพฤติกรรมที่จะวัดออกเป็ น 3 ลักษณะ วัดพฤติกรรมด้ านพุทธิพสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับ ความรู ้ ิ ความคิด (วัดด้านสมอง) วัดพฤติกรรมด้ านจิตพิสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับความรู ้สึกนึ กคิด (วัดด้านจิตใจ) วัดพฤติกรรมด้ านทักษะพิสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับการใช้ กล้ามเนื้อ และประสาทสัมผัสส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกาย (วัดด้านการปฏิบติ) ั
  • 4. จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา 1. วัดผลเพื่อและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรี ยน หมายถึง การวัดผลเพื่อดูวา ่ นักเรี ยนบกพร่ องหรื อไม่เข้าใจในเรื่ อง ใดอย่างไร แล้วครู พยายามอบรมสังสอนให้นกเรี ยน ่ ั เกิดการเรี ยนรู ้และมีความเจริ ญงอกงามตามศักยภาพของนักเรี ยน 2. วัดผลเพื่อวินิจฉัย หมายถึง การวัดผลเพื่อค้นหาจุดบกพร่ องของนักเรี ยนที่มี ปัญหาว่า ยังไม่เกิดการเรี ยนรู้ตรงจุดใด เพื่อหาทางช่วยเหลือ 3. วัดผลเพื่อจัดอันดับหรื อจัดตาแหน่ง หมายถึง การวัดผลเพื่อจัดอันดับ ความสามารถของนักเรี ยนในกลุ่มเดียวกันว่าใครเก่งกว่า ใครควรได้อนที่ 1 2 3 ั
  • 5. 4. วัดผลเพื่อเปรี ยบเทียบหรื อเพื่อทราบพัฒนาการของนักเรี ยน หมายถึง การวัดผลเพื่อเปรี ยบเทียบความสามารถของนักเรี ยนเอง เช่น การทดสอบ ก่อนเรี ยน และหลังเรี ยนแล้วนาผลมาเปรี ยบเทียบกัน 5. วัดผลเพื่อพยากรณ์ หมายถึง การวัดเพื่อนาผลที่ได้ไปคาดคะเน หรื อทานายเหตุการณ์ในอนาคต 6. วัดผลเพื่อประเมินผล หมายถึง การวัดเพื่อนาผลที่ได้มาตัดสิ น หรื อสรุ ปคุณภาพของการจัดการศึกษาว่ามีประสิ ทธิ ภาพสู งหรื อต่า ควร ปรับปรุ งแก้ไขอย่างไร
  • 6. หลักการวัดผลการศึกษา 1. ต้องวัดให้ตรงกับจุดมุ่งหมายของการเรี ยนการสอน คือ การวัดผลจะเป็ นสิ่ งตรวจสอบ ผลจากการสอนของครู วา นักเรี ยนเกิดพฤติกรรมตามที่ระบุไว้ในจุดมุ่งหมายการสอนมากน้อยเพียงใด ่ 2. เลือกใช้เครื่ องมือวัดที่ดีและเหมาะสม การวัดผลครู ตองพยายามเลือกใช้เครื่ องมือวัด ้ ที่มีคุณภาพ ใช้เครื่ องมือวัดหลาย ๆ อย่าง เพื่อช่วยให้การวัดถูกต้องสมบูรณ์ 3. ระวังความคลาดเคลื่อนหรื อความผิดพลาดของการวัด เมื่อจะใช้เครื่ องมือชนิดใด ต้องระวังความบกพร่ องของเครื่ องมือหรื อวิธีการวัดของครู 4. ประเมินผลการวัดให้ถูกต้อง เช่น คะแนนที่เกิดจาการสอนครู ตองแปลผลให้ถูกต้อง ้ สมเหตุสมผลและมีความยุติธรรม 5. ใช้ผลการวัดให้คุมค่า จุดประสงค์สาคัญของการวัดก็คือ เพื่อค้นและพัฒนาสมรรถภาพ ้ ของนักเรี ยน ต้องพยายามค้นหาผูเ้ รี ยนแต่ละคนว่า เด่น-ด้อยในเรื่ องใด และหาแนวทางปรับปรุ ง แก้ไขแต่ละคนให้ดีข้ ึน
  • 7. เครื่องมือทีใช้ ในการวัด ่ 1. การสั งเกต (Observation) การสั งเกต คือ การพิจารณาปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อค้นหาความจริ ง บางประการ โดยอาศัยประสาท สัมผัสของผูสงเกตโดยตรง ้ั 2. การสั มภาษณ์ (Interview) การสั มภาษณ์ คือ การสนทนาหรื อการพูดโต้ตอบกันอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหา ความรู้ ความจริ ง ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ล่วงหน้า
  • 8. 3. แบบสอบถาม (Questionnaire) ั แบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กนมาก โดยเฉพาะการเก็บ ข้อมูลทางสังคมศาสตร์ ทั้งนี้เพราะเป็ นวิธีการที่สะดวก และสามารถใช้ วัดได้อย่างกว้างขวาง 4. การจัดอันดับ (Rank Order) เป็ นเครื่ องมือมือวัดผลให้นกเรี ยน หรื อผูได้รับแบบสอบถามเป็ นผูตอบ ั ้ ้ โดยการจัดอันดับความสาคัญ หรื อจัดอันดับคุณภาพ และใช้จดอันดับของ ั ข้อมูลหรื อผลงานต่าง ๆ ของนักเรี ยนแล้วจึงให้คะแนน ภายหลังเพื่อการ ประเมิน
  • 9. 5. การประเมินผลจากสภาพจริง (Authentic Assessment) หมายถึง กระบวนการสังเกต การบันทึก และรวบรวมข้อมูลจากงานและ วิธีการที่นกเรี ยนทา การประเมินผลจากสภาพจริ งจะเน้นให้นกเรี ยนสามารถแก้ปัญหา ั ั เป็ นผูคนพบและผูผลิตความรู ้ นักเรี ยนได้ฝึกปฏิบติจริ ง รวมทั้งเน้นพัฒนาการเรี ยนรู ้ ้้ ้ ั ของนักเรี ยนความสาคัญของการประเมินผลจากสภาพจริ ง
  • 10. 6. การวัดผลภาคปฏิบัติ (Performance Assessment) การวัดผลภาคปฏิบติ เป็ นการวัดผลงานที่ให้ ั นักเรี ยนลงมือปฏิบติ ซึ่ งสามารถวัดได้ ั ทั้งกระบวนการและผลงาน ในสถานการณ์จริ ง หรื อใน สถานการณ์จาลอง สิ่ งที่ควรคานึงใน การสอบวัดภาคปฏิบติคือ ั 1. ขั้นเตรี ยมงาน 2. ขั้นปฏิบติงาน ั 3. เวลาที่ใช้ในการทางาน 4. ผลงาน
  • 11. 7. การประเมินผลโดยใช้ แฟมสะสมงาน (Portfolios) ้ เป็ นแนวทางการประเมินผลโดยการรวมข้อมูลที่ครู และผูเ้ รี ยนทากิจกรรม ต่าง ๆ ร่ วมกัน โดยกระทาอย่างต่อเนื่องตลอดภาคเรี ยน ดังนั้นการวัดผลและ ประเมินผลโดยใช้แฟ้ ม ่ สะสมงานส่ วนหนึ่ง จะเป็ นกิจกรรมที่สอดแทรกอยูใสภาพการเรี ยนประจาวัน โดย กิจกรรมที่สอดแทรกเหล่านี้จะวัด เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสภาพชีวตประจาวัน ิ 8. แบบทดสอบ (Test) ประเภทของแบบทดสอบ สามารถแบ่งประเภทออกได้หลายลักษณะ ่ ั ขึ้นอยูกบเกณฑ์ที่จะใช้ 1. แบ่ งตามสมรรถภาพทีจะวัด แบ่งเป็ น 3 ประเภท ่ 1. แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ (Achievement Test) หมายถึง แบบทดสอบ ที่วดสมรรถภาพสมองด้านต่าง ๆ ั
  • 12. 2. แบบทดสอบวัดความถนัด (Aptitude Test) หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดสมรรถภาพ สมองของ ผูเ้ รี ยน 3. แบ่ งตามเวลาทีกาหนดให้ ตอบ ่ 3.1 แบบทดสอบที่จากัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลาน้อย 3.2 แบบทดสอบที่ไม่จากัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลาตอบมาก 4. แบ่ งตามจานวนผู้เข้ าสอบ 4.1 แบบทดสอบเป็ นรายบุคคล หมายถึง การสอบทีละคนมักเป็ นการสอบภาคปฏิบติ ั 4.2 แบบทดสอบเป็ นชั้นหรื อเป็ นหมู่ หมายถึง การสอบทีละหลาย ๆ คน 5. แบ่ งตามสิ่ งเร้ าของการถาม 5.1 แบบทดสอบทางภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ตองอาศัยภาษาของสังคมนั้น ๆ ้ ั ้ เป็ นหลัก ใช้กบผูที่อ่านออกเขียนได้ 5.2 แบบทดสอบที่ไม่ใช้ภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้รูปภาพ สัญลักษณ์หรื อตัวเลข
  • 13. 6. แบ่ งตามลักษณะของการใช้ ประโยชน์ 6.1 แบบทดสอบย่อย หมายถึง แบบทดสอบประจาบท หรื อหน่วยการเรี ยน 6.2 แบบทดสอบรวม หมายถึง แบบทดสอบสรุ ปรวมเนื้อหาที่เรี ยนผ่านมา ตลอดภาคเรี ยน 7. แบ่ งตามเนือหาของข้ อสอบในฉบับ ้ 7.1 แบบทดสอบอัตนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีเฉพาะคาถามนักเรี ยนต้อง คิดหาคาตอบเอง 7.2 แบบทดสอบปรนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีท้ งคาถามและคาตอบ ั เฉพาะคงที่แน่นอน
  • 14. ประเภทของแบบสอบถาม แบบสอบถามแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ 1. แบบสอบถามปลายเปิ ด 2. แบบสอบถามปลายปิ ด การวิเคราะห์ ข้อมูล การวิเคราะห์ขอมูลเป็ นกระบวนการนาข้อมูลซึ่ งเก็บรวบนวม ้ ได้มาจัดกระทาโดยการจัดระเบียบ แยกประเภทลักษณะของข้อมูลแบ่งเป็ น 2 ประเภท 1. ข้อมูลเชิงปริ มาณ 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ
  • 15. การประเมินผลทางการศึกษา การประเมินผลทางการศึกษา หมายถึง กระบวนการในการตัดสิ นใจ ลงสรุ ปคุณลักษณะหรื อพฤติกรรมของนักเรี ยนว่ามีคุณภาพดีระดับใดโดย อาศัยเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ งในการเปรี ยบเทียบ มีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ 1. ผลการวัด 2. เกณฑ์การพิจารณา 3. การตัดสิ นใจ