SlideShare a Scribd company logo
1Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ความสัมพันธ์ของกลุ่มสิ่งมีชีวิต
ในแหล่งที่อยู่ต่างๆ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน
การหมุนเวียนสาร
การดารงชีวิตในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ
การพรางตัวของสิ่งมีชีวิต
ป่าไม้กับความหลากหลายและสัตว์ป่า
คุณภาพของแหล่งน้า
ขยะกับคุณภาพสิ่งแวดล้อม
2Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
1. สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ในโรงเรียน
3Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
สิ่งแวดล้อม คืออะไร???
4Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
สิ่งแวดล้อม
คือ สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรามีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต
สิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวิต
5Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
สิ่งมีชีวิตหลายๆ ชนิดทั้งพืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่อาศัย
อยู่รวมกันในแหล่งที่อยู่ใดที่อยู่หนึ่ง
กลุ่มสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่หนึ่งจะมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
เช่น ใช้สิ่งแวดล้อมเป็นที่อยู่อาศัย เป็นที่เลี้ยงดูลูกอ่อนและเป็นแหล่ง
อาหาร ฯลฯ
กลุ่มสิ่งมีชีวิต
6Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
หมายถึง หน่วยของความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ในแหล่งที่อยู่
แหล่งใดแหล่งหนึ่ง ความสัมพันธ์นี้มี 2 ลักษณะ คือ ความสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ
สิ่งมีชีวิต
ระบบนิเวศ
7Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ระบบนิเวศในทะเลระบบนิเวศในตู้ปลา
ระบบนิเวศ
8Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
2. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ในแหล่งที่อยู่ต่างๆ
9Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ
ผู้ผลิต ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคสัตว์ลาดับที่ 1 ผู้บริโภคสัตว์ลาดับที่ 2
โซ่อาหาร
สิ่งมีชีวิตจะสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตในเรื่องของการกินต่อกันเป็นทอดๆ
จากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภค
10Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
สายใยอาหาร
สิ่ ง มี ชี วิ ต จ ะ สัม พัน ธ์ กับ
สิ่งมีชีวิตในเรื่องของการกินต่อกัน
เป็นทอดๆ ที่มีความซับซ้อน ไม่เป็น
ระเบียบหรือประกอบด้วยโซ่อาหาร
หลายๆ ห่วงรวมกัน
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ
11Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ
ในระบบนิเวศหนึ่งๆ จะมีสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดอาศัยอยู่ร่วมกันเป็น
กลุ่มสิ่งมีชีวิตและมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ที่สาคัญคือการกินเป็นอาหาร
ทาให้มีการถ่ายทอดพลังงานในโมเลกุลของอาหารต่อเนื่องเป็นลาดับ
12Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ
องค์ประกอบที่มีชีวิต ได้แก่
 ผู้ผลิต (producer) เช่น พืช
13Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ
 ผู้บริโภคพืช (herbivore)
14Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ
ผู้บริโภคทั้งพืชและสัตว์ (omnivore)
15Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ
 ผู้บริโภคสัตว์ (carnivore)
16Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ
 ผู้ย่อยอินทรีย์สาร (decomposer) เช่น เห็ด รา ยีตส์ แบคทีเรีย
17Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ
องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต ได้แก่
 ดิน น้า อากาศ แร่ธาตุ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิเจน เป็นต้น
18Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
3. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ที่อาศัยอยู่ร่วมกัน
19Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันจะมีความสัมพันธ์กันในรูปแบบต่างๆ
+ คือ ได้ประโยชน์
- คือ เสียประโยชน์
0 คือ ไม่ได้และไม่เสีย ผลประโยชน์
อธิบายสัญลักษณ์
20Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน
ได้ประโยชน์ร่วมกัน การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยก็ได้รับ
ประโยชน์ซึ่งกันและกัน แม้แยกกันอยู่ก็สามารถดารงชีวิตได้ตามปกติ เช่น นก
เอี้ยงกับควาย มดดากับเพลี้ยอ่อน
ภาพ
ความสัมพันธ์
ลักษณะความสัมพันธ์
สิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต
+ +
นกเอี้ยงเกาะบนหลังควาย
เพื่อคอยกินเห็บหรือแมลง
อื่นๆ บนหลังควายทาให้
ควายสบายตัว 21Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน
แบบพึ่งพาอาศัยกัน สิ่งมีชีวิตบางชนิดที่อาศัยอยู่ ร่วมกันตลอดชีวิตแยก
จากกันไม่ได้ เช่น ไลเคน โปรโตซัวในลาไส้ปลวก
ภาพ
ความสัมพันธ์
ลักษณะความสัมพันธ์
สิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต
+ +
ไลเคนเป็นสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่
อาศัยอยู่ร่วมกันคือ รากับ
สาหร่าย สาหร่ายทาหน้าที่สร้าง
อาหารโดยการสังเคราะห์แสง
ส่วนราให้ความชุ่มชื้นแก่สาหร่าย
22Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน
แบบอิงอาศัย สิ่งมีชีวิตบางชนิดอยู่ร่วมกันได้ประโยชน์ฝ่ายเดียว แต่ไม่
ทาลายสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ด้วยกันเช่น เหาฉลามกับปลาฉลาม กล้วยไม้กับ
ต้นไม้ใหญ่
ภาพ
ความสัมพันธ์
ลักษณะความสัมพันธ์
สิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต
+ 0
เหาฉลามเป็นปลาชนิดหนึ่งที่
เกาะติด กับปลาฉลามคอย
อาศัยเศษอาหาร จากปลา
ฉลามที่เล็ดลอดออกมา 23Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน
แบบปรสิต สิ่งมีชีวิตบางชนิดเบียดเบียนกัน ได้ประโยชน์ฝ่ายเดียวและ
ยังทาลายสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันอีกด้วย เช่น พยาธิกับคน กาฝากกับต้นไม้
ใหญ่
ภาพ
ความสัมพันธ์
ลักษณะความสัมพันธ์
สิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต
+ -
กาฝากเป็นพืชที่อาศัยบนต้นไม้
อื่น และเบียดเบียนต้นไม้อื่น โดย
ชอนไชรากเข้าไปดูดน้าเลี้ยงจาก
ต้นไม้ที่อาศัยอยู่ 24Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
4. การหมุนเวียนสาร
25Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน
การหมุนเวียนของน้าหรือวัฏจักรของน้า
26Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
5. การดารงชีวิตในสภาพแวดล้อม
ต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต
27Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
การดารงชีวิตในสภาพแวดล้อมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตจะต้องมีโครงสร้างที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมหรือแหล่ง
ที่อยู่ เพื่อการดารงชีวิตในสิ่งแวดล้อมนั้น
การตอบสนองต่อสิ่งเร้า
การโน้มใบเข้าหาแสง การปิ ดปากใบ
28Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
การดารงชีวิตในสภาพแวดล้อมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต
โครงสร้างที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
อูฐมีโหนก
อูฐมีขายาว คอยาว มีโหนกบน
หลังที่เต็มไปด้วยไขมัน ทั้งนี้
เพื่อให้สามารถดารงชีวิตใน
ทะเลทรายที่มีอุณหภูมิสูงได้
29Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
การดารงชีวิตในสภาพแวดล้อมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต
โครงสร้างที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
หมีขาวขั้วโลก
หมีขั้วโลก จะมีขนหนาฟู อุ้งเท้าหนา
ลาตัวอ้วนกลม มีไขมันมาก ทั้งนี้เพื่อ
ความอบอุ่นของร่างกาย
30Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
การดารงชีวิตในสภาพแวดล้อมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต
โครงสร้างที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
โกงกาง
โกงกาง พืชที่มีรากค้าจุนลาต้น
ไม่ให้ล้มโค่นลง เนื่องจากบริเวณ
นั้นมีน้าทะเลขึ้น - ลง ตลอดเวลา
31Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
การดารงชีวิตในสภาพแวดล้อมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต
โครงสร้างที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
กระบองเพชร
กระบองเพชร พืชที่มีลาต้นและรูปใบ
เป็นหนามแหลมเพื่อลดการคายน้า
32Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
6. การพรางตัวของสิ่งมีชีวิต
33Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
การพรางตัวของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแต่ละแหล่งที่อยู่จะมีโครงสร้างที่เหมาะสมต่อ
การดารงชีวิตในแหล่งที่อยู่นั้น เช่น มีลักษณะโครงสร้างที่กลมกลืนกับ
ธรรมชาติที่อาศัยอยู่หรือมีการพรางตัว มีโครงสร้างของร่างกายที่
เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
34Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
การพรางตัวของสิ่งมีชีวิต
ตั๊กแตนกิ่งไม้
มีลักษณะร่างกายคล้ายกับกิ่งไม้
ที่อาศัยอยู่ เพื่อการพรางศัตรู
และล่อเหยื่อให้เข้ามาใกล้ ทั้งนี้
เพื่อการอยู่รอดในธรรมชาติ
35Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
การพรางตัวของสิ่งมีชีวิต
36Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
7. ป่าไม้กับความหลากหลาย
ของสิ่งมีชีวิต
37Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ป่าไม้กับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตร้อนชื้น มีภูมิอากาศเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต
ของพืช จึงอุดมไปด้วยป่าไม้หลากหลายชนิด
ป่าผลัดใบ ได้แก่ ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ
ป่าไม้
ป่าไม่ผลัดใบ ได้แก่ ป่าดิบชื้น ป่าดิบเขา ป่าชายเลน
38Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ป่าไม้กับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตร้อนชื้น มีภูมิอากาศเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต
ของพืช จึงอุดมไปด้วยป่าไม้หลากหลายชนิด
39Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
8. ป่าไม้กับสัตว์ป่า
40Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ป่าไม้กับสัตว์ป่า
ป่าไม้เป็นแหล่งที่อยู่ของสัตว์ป่านานาชนิด สัตว์ป่าช่วยรักษาสมดุล
ธรรมชาติ เช่น นกช่วยกระจายพันธุ์พืชและช่วยกาจัดแมลง และหนอนที่เป็น
ศัตรูของการเกษตรกรรม แมลงช่วยผสมเกสรและกระจายพันธุ์พืช สัตว์ป่ าช่วย
ให้เกิดกิจกรรมในป่า
41Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ป่าไม้กับสัตว์ป่า
ปัจจุบันจานวนประชากรมนุษย์เพิ่มขึ้นมากแต่พื้นที่ป่าไม้กลับลดลง
ป่าไม้ถูกทาลายทาให้มีผลต่อปริมาณและชนิดของสัตว์ป่าด้วยสัตว์ป่า บาง
ชนิดมีจานวนน้อยและบางชนิดสูญพันธุ์ไปจึงมีการกาหนดสัตว์ป่าสงวน
42Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ป่าไม้กับสัตว์ป่า
สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่าที่หายาก 15 ชนิด ตามพระราชบัญญัติ
สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ได้แก่
แมวลายหินอ่อน พะยูน
43Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
สัตว์ป่าสงวน
เก้งหม้อ เลียงผา กวางผา
44Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
สัตว์ป่าสงวน
ละองหรือละมั่ง สมัน
กูปรี ควายป่า
45Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
สัตว์ป่าสงวน
แรด กระซู่
สมเสร็จ
46Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
สัตว์ป่าสงวน
นกแต้วแล้วท้องดา นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร
นกกระเรียน
47Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
9. คุณภาพแหล่งน้าในท้องถิ่น
48Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ประชากรมนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติ
มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมและพึ่งพาอาศัยสิ่งแวดล้อม เพื่อการ
ดารงชีวิตทั้งอาหาร เครื่องนุ่งห่มที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค รวมไปถึงสิ่งอานวย
ความสะดวกต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น แต่หาก มองย้อนกลับไป ก็จะพบว่าสิ่ง
ต่างๆ ที่ทาให้มนุษย์ดารงชีวิตอยู่ได้นั้นมาจากทรัพยากรธรรมชาติแทบทั้งสิ้น
49Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ประชากรมนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติ
มนุษย์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติทุกวันไม่ว่าจะเป็นอากาศ น้า ป่ าไม้ แร่ธาตุ
ปิโตเลียมและแก๊สธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้ถึงแม้ว่าจะสามารถ
หมุนเวียนกลับมาให้มนุษย์ ได้มีใช้อีก แต่ระยะเวลาในการกลับมาให้มีสภาพ
เช่นเดิมนั้นจะใช้ระยะเวลานานมาก
50Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
คุณภาพแหล่งน้าในท้องถิ่น
น้าทิ้งจากอาคารบ้านเรือน โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล หรือจาก
การเกษตรต่างๆ หากน้าทิ้งขาดการบาบัดก่อนปล่อยออกสู่แหล่งน้าตาม
ธรรมชาติ ทาให้แหล่งน้าตามธรรมชาติเน่าเสียได้
51Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
คุณภาพแหล่งน้าในท้องถิ่น
จุลินทรีย์ที่อยู่ในแหล่งน้าจะทาหน้าที่ย่อยสลายสารเหล่านั้น และ
จาเป็นต้องใช้ก๊าซออกซิเจนในน้าในกระบวนการย่อยสลาย ทาให้แก๊สออกซิเจน
ในแหล่งน้าลดลง ส่งผลต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้า น้าในแหล่งน้า
ที่อยู่ในสภาพเน่าเสีย จากการสังเกตจะพบว่า น้าในแหล่งน้าจะส่งกลิ่นเหม็น
สภาพของน้าเป็นสีดา มีฟองแก๊ส และอุณหภูมิสูง
52Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
10. ขยะกับคุณภาพสิ่งแวดล้อม
53Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ขยะกับคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ขยะหรือมูลฝอยที่ทิ้งจากบ้านเรือน โรงงานอุตสาหกรรม หรือการ
เกษตรกรรมต่างๆ จะมีทั้งขยะที่ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ขยะที่ย่อยสลายได้
ยาก หรือไม่ย่อยสลายและขยะที่เป็นอันตราย
 ขยะหรือมูลฝอยที่ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติในเวลาอันรวดเร็ว ได้แก่ เศษ
อาหาร เศษผัก เปลือก ผลไม้ ซากพืช ซากสัตว์
54Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ขยะกับคุณภาพสิ่งแวดล้อม
 ส่วนขยะที่ย่อยสลายได้ยากหรือใช้เวลาในการย่อยสลายนาน ได้แก่ ถ้วย
กระเบื้องเคลือบ ก้นกรอง บุหรี่ รองเท้าหนัง กระป๋องอะลูมิเนียม
ถุงพลาสติก
55Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ขยะกับคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ถังสีเขียว ถังขยะเปียก สาหรับขยะที่ย่อยสลายได้สามารถนา
กลับมาทาเป็นปุ๋ยหมักได้ เช่น ผัก ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้
ถังสีเหลือง ถังขยะแห้ง สาหรับขยะที่สามารถนากลับมา
รีไซเคิล หรือขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ
ถังสีฟ้า สาหรับขยะทั่วไปที่ย่อยสลายไม่ได้ ไม่เป็นพิษ เช่น
พลาสติกห่อลูกอมซองบะหมี่สาเร็จรูป ถุงพลาสติก โฟม ฟอล์ย
ห่ออาหาร
ถังสีเทาฝาแดง สาหรับขยะที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น หลอด
ฟลูออเรสเซนต์ ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ กระป๋องยาฆ่าแมลง
56Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
11. อากาศกับคุณภาพชีวิต
57Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
อากาศกับคุณภาพชีวิต
แหล่งที่มาของฝุ่นละอองอาจเกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ เช่น จากการก่อสร้าง
การขนส่ง การจราจร การอุตสาหกรรม การทากิจกรรมต่าง ๆ เช่น กวาดถนน
ทาสี ทาอาหาร ตลอดจนฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น ฝุ่นจากดิน
ทราย หิน อันเนื่องจากกระแสลม เขม่า ควันจากการเผาไหม้ และละอองเกสร
ดอกไม้ที่ลอยปะปนอยู่ในอากาศ
58Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ผลของฝุ่นละออง
ฝุ่นละอองหากมีมากในบรรยากาศ จะทาให้ทัศนวิสัยในการมองเห็นเสื่อม
ลง เกิดความสกปรกและที่สาคัญที่สุดหากฝุ่นละอองเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
ของมนุษย์จะก่อให้เกิดการระคายเคืองและการเสียหายของเนื้อเยื่ออวัยวะต่างๆ
เช่น เนื้อเยื่อปอด หลอดลม ถุงลม ทาให้ประสิทธิภาพในการทางานของปอด
ลดลง และมีโอกาสเกิดโรคระบบทางเดินหายใจได้
59Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ลองทาข้อสอบดูนะคนเก่ง ^^
60Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
1. สัตว์ในข้อใดไม่ใช่สัตว์ป่าสงวน
ก.ชะมดเช็ด
ข.พะยูน
ค.แมวลายหินอ่อน
ง. นกกระเรียน
61Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
2. เมญ่าต้องการทิ้งซองบะหมี่สาเร็จรูป เขาควรทิ้ง
ลงในถังขยะสีใด
ก.ถังสีเทาฝาแดง
ข.ถังสีเหลือง
ค.ถังสีฟ้า
ง. ถังสีเขียว
62Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
3. ก๊าซในข้อใดเกิดจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ของ
เครื่องยนต์
ก.ก๊าซออกซิเจน
ข.ก๊าซไนโตรเจน
ค.ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์
ง. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
63Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
4. ข้อใดไม่ใช่ระบบนิเวศในน้า
ก.ระบบนิเวศมหาสมุทร
ข.ระบบนิเวศทะเลสาบ
ค.ระบบนิเวศหนองน้า
ง. ระบบนิเวศทะเลทราย
64Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
5. ผึ้งกับดอกไม้มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด
ก.ได้ประโยชน์ร่วมกัน
ข.พึ่งพาอาศัยกัน
ค.อิงอาศัย
ง. ภาวะปรสิต
65Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
6. รูปแบบความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันของสิ่งมีชีวิต
ในข้อใด คล้ายความสัมพันธ์ระหว่างเหาฉลามกับ
ปลาฉลาม
ก.ปลวกกับโพรโตซัว
ข.กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่
ค.มดดากับเพลี้ยอ่อน
ง. พยาธิกับคน
66Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
7. โซ่อาหารในข้อใดเขียนถูกต้อง
ก.ต้นพืช --> ตั๊กแตน --> กิ้งก่า
ข.กบ --> ผึ้ง --> ดอกไม้
ค.ใบไม้ <-- ตั๊กแตน <-- คางคก
ง. สิงโต --> ม้าลาย --> เสือ
67Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
8. ใบไม้ --> A --> นก --> งู A น่าจะเป็นสัตว์ในข้อใด
ก.มด
ข.ลิง
ค.หนอน
ง. หมี
68Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
9. ข้อใดมีทั้ง ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคสัตว์ และผู้บริโภค
พืชและสัตว์ ครบทั้ง 3 ประเภท
ก.ควาย ไก่ แมว
ข.สุนัข ช้าง วัว
ค.จระเข้ กบ ไก่
ง. ม้า คน เสือ
69Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
10. การกินต่อกันเป็นทอดๆ ที่มีความซับซ้อน ไม่
เป็นระเบียบหรือประกอบด้วยโซ่อาหารหลายๆ
ห่วงรวมกัน เรียกว่าอะไร
ก.วัฏจักรอาหาร
ข.เส้นใยอาหาร
ค.สายใยอาหาร
ง. การหมุนเวียนของอาหาร
70Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun

More Related Content

What's hot

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Supaluk Juntap
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
dnavaroj
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
Taweesak Poochai
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
Pinutchaya Nakchumroon
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
Phanuwat Somvongs
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 

What's hot (20)

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 

More from Ta Lattapol

หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
Ta Lattapol
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
Ta Lattapol
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
Ta Lattapol
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
Ta Lattapol
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
Ta Lattapol
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
Ta Lattapol
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
Ta Lattapol
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
Ta Lattapol
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
Ta Lattapol
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
Ta Lattapol
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
Ta Lattapol
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
Ta Lattapol
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
Ta Lattapol
 

More from Ta Lattapol (13)

หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม

Editor's Notes

  1. กลุ่มสิ่งมีชีวิตในแต่ละสิ่งที่อยู่ สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรามีทั้งสิ่งมีชีวิต ได้แก่ พืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตเล็กๆ และสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ดิน หิน น้ า และอากาศ เป็นต้น ทั้งสองกลุ่มนี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ นอกจากนี้มีสิ่งไม่มีชีวิตที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อการด ารงชีวิตได้แก่ ตึก บ้าน ถนน เสาไฟ รถยนต์และ ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อการอยู่ร่วมกนัในสังคม สิ่งต่างๆ เหล่านี้ เรียกว่า สิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตหลายๆ ชนิดทั้งพืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่อาศัยอยู่รวมกันในแหล่งที่อยู่ใดที่อยู่หนึ่ง เรียกว่า กลุ่มสิ่งมีชีวิต กลุ่มสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่หนึ่งจะมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เช่น เป็นที่อยู่ อาศัย เป็นที่เลี้ยงดูลูกอ่อนและเป็นแหล่งอาหาร ฯลฯ ระบบนิเวศ หมายถึง หน่วยของความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ในแหล่งที่อยู่แหล่งใดแหล่งหนึ่ง ความสัมพันธ์นี้มี 2 ลักษณะ คือ ความสัมพันธ์ ระหว่าง สิ่งมีชีวิต กับ สิ่งไม่มีชีวิต ที่แวดล้อม อยู่และในขณะเดียวกันก็จะมีความสัมพันธ์อีก ลักษณะหนึ่ง คือ ความเกี่ยวโยง พึ่งพากันหรือ การส่งผลต่อกันระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง
  2. กลุ่มสิ่งมีชีวิตในแต่ละสิ่งที่อยู่ สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรามีทั้งสิ่งมีชีวิต ได้แก่ พืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตเล็กๆ และสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ดิน หิน น้ า และอากาศ เป็นต้น ทั้งสองกลุ่มนี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ นอกจากนี้มีสิ่งไม่มีชีวิตที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อการด ารงชีวิตได้แก่ ตึก บ้าน ถนน เสาไฟ รถยนต์และ ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อการอยู่ร่วมกนัในสังคม สิ่งต่างๆ เหล่านี้ เรียกว่า สิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตหลายๆ ชนิดทั้งพืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่อาศัยอยู่รวมกันในแหล่งที่อยู่ใดที่อยู่หนึ่ง เรียกว่า กลุ่มสิ่งมีชีวิต กลุ่มสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่หนึ่งจะมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เช่น เป็นที่อยู่ อาศัย เป็นที่เลี้ยงดูลูกอ่อนและเป็นแหล่งอาหาร ฯลฯ ระบบนิเวศ หมายถึง หน่วยของความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ในแหล่งที่อยู่แหล่งใดแหล่งหนึ่ง ความสัมพันธ์นี้มี 2 ลักษณะ คือ ความสัมพันธ์ ระหว่าง สิ่งมีชีวิต กับ สิ่งไม่มีชีวิต ที่แวดล้อม อยู่และในขณะเดียวกันก็จะมีความสัมพันธ์อีก ลักษณะหนึ่ง คือ ความเกี่ยวโยง พึ่งพากันหรือ การส่งผลต่อกันระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง
  3. กลุ่มสิ่งมีชีวิตในแต่ละสิ่งที่อยู่ สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรามีทั้งสิ่งมีชีวิต ได้แก่ พืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตเล็กๆ และสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ดิน หิน น้ า และอากาศ เป็นต้น ทั้งสองกลุ่มนี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ นอกจากนี้มีสิ่งไม่มีชีวิตที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อการด ารงชีวิตได้แก่ ตึก บ้าน ถนน เสาไฟ รถยนต์และ ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อการอยู่ร่วมกนัในสังคม สิ่งต่างๆ เหล่านี้ เรียกว่า สิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตหลายๆ ชนิดทั้งพืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่อาศัยอยู่รวมกันในแหล่งที่อยู่ใดที่อยู่หนึ่ง เรียกว่า กลุ่มสิ่งมีชีวิต กลุ่มสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่หนึ่งจะมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เช่น เป็นที่อยู่ อาศัย เป็นที่เลี้ยงดูลูกอ่อนและเป็นแหล่งอาหาร ฯลฯ ระบบนิเวศ หมายถึง หน่วยของความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ในแหล่งที่อยู่แหล่งใดแหล่งหนึ่ง ความสัมพันธ์นี้มี 2 ลักษณะ คือ ความสัมพันธ์ ระหว่าง สิ่งมีชีวิต กับ สิ่งไม่มีชีวิต ที่แวดล้อม อยู่และในขณะเดียวกันก็จะมีความสัมพันธ์อีก ลักษณะหนึ่ง คือ ความเกี่ยวโยง พึ่งพากันหรือ การส่งผลต่อกันระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง