SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
ดาวฤกษ์
สอนโดย: ครูวันวิสา แพนพันธุ์อ้วน
และครูสมฤทัย แปลงศรี
• ก้อนแก๊สขนาดใหญ่
• มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นธาตุไฮโดรเจน และฮีเลียม
• สมบัติของดาวฤกษ์ 2 ประการ
1. สามารถสร้างพลังงานได้ด้วยตัวเอง
2. มีวิวัฒนาการ ก่อให้เกิดธาตุหนัก (ฮีเลียม, ลิเทียม,
เบริลเลียม)
ดาวฤกษ์
- การสร้างธาตุ - ระบบของดาวฤกษ์
- ขนาด - มวล
- อุณหภูมิผิว - สเปกตรัมหรือสี
- องค์ประกอบทางเคมี - ระยะห่าง
- ความสว่างส่อง
ดาวฤกษ์
ความแตกต่างของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ คือ วัตถุท้องฟ้ าในอวกาศที่เป็นก้อนแก๊สมวล
มหาศาล ดาวฤกษ์ปรากฏเป็นจุดแสงในท้องฟ้ าเวลากลางคืน
เราเห็นแสงดาวกะพริบ จากผลของปรากฏการณ์ใน
บรรยากาศโลก และการที่ดาวฤกษ์อยู่ห่างไกลจากเรามาก
ยกเว้นกรณีของดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ดวงเดียวที่อยู่
ใกล้โลกมาก่จนปรากฏเป็นดวงกลมโตให้แสงสว่างในเวลา
กลางวัน
ดาวฤกษ์ไม่ได้อยู่กระจัดกระจายทั่วไปในเอกภพ แต่อยู่
เป็นระบบใหญ่เรียกว่าดาราจักรหรือกาแล็กซี่ซึ่งเป็นเมือง
ของดาวฤกษ์ ถ้าเราสามารถเดินทางไปยังดาวฤกษ์ต่างๆ
ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วแสง เราจะใช้เวลาในการ
เดินทางจากโลกไปยังดวงอาทิตย์เพียง 4 นาที ทั้งๆที่ดวง
อาทิตย์อยู่ห่างจากโลกเป็นระยทางถึง 180 ล้านกิโลเมตร แต่
การที่จะเดินทางไปยังดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด
คือ ดาวพรอกซิมาเซนทอรี่ ใช้เวลาเดินทางถึง 4.2 ปี
1. สังเกตการส่องแสงของดวงดาว ถ้าดวงดาวนั้น
กระพริบแสงก็จัดเป็นดาวฤกษ์ แต่ถ้าดาวดวงนั้นมีแสงสว่างนวล
นิ่งไม่อยู่ ณ ตาแหน่งเดิมเมื่อเทียบกับดาวส่วนใหญ่ก็จัดเป็นดาว
เคราะห์
2. สังเกตการเคลื่อนที่ ถ้าดาวแต่ละดวงไม่เคลื่อนที่และ
เกาะกลุ่มกันอยู่ในตาแหน่งเดิมก็จัดเป็นดาวฤกษ์ แต่ถ้าดาวแต่ละ
ดวงมีการเคลื่อนที่ไม่อยู่ ณ ตาแหน่งเดิมเมื่อเทียบกับดาวส่วน
ใหญ่ก็จัดเป็นดาวเคราะห์
3. ดาวฤกษ์จะอยู่เป็นกลุ่มหรือเป็นหมู่
4. ถ้าดูดาวฤกษ์ด้วยกล้องโทรทรรศน์ จะไม่เห็นเป็นดวง
กลมโตเพราะอยู่ไกลโลกมาก
วิวัฒนาการ
ของดาวฤกษ์
วิวัฒนาการของดาวฤกษ์
1. การยุบตัวของกลุ่มก๊าซขนาดใหญ่หรือเนบิวลา
2. สภาพดาวฤกษ์ก่อนเกิด (Protostar)
3. สภาพดาวฤกษ์ (Star)
4. สภาพหลังดาวฤกษ์
- ดาวยักษ์แดง (Red Giant) / ดาวซุปเปอร์ยักษ์ (Supergiant)
- เนบิวลาดาวเคราะห์ (Planetary Nebula) / ซูเปอร์โนวา (Supernova)
- ดาวแคระขาว (White Dwarf) / ดาวนิวตรอน (Neutron Star) / หลุม
ดา (Black Hole)
ดาวฤกษ์
มวลน้อย
ดาวฤกษ์
มวลมาก
ดาวแคระดา
ดาวฤกษ์มีองค์ประกอบที่สาคัญ คือ ไฮโดรเจน ประมาณ 90.8 %
ฮีเลียม 9.1 % และธาตุโลหะอื่น ๆ ที่อยู่ในสภาพของแก๊สอีก 0.1 %
เมื่อแรงโน้มถ่วงดึงให้แก๊สยุบตัวลงไปอีก ความดัน ณ แก่นกลาง
สูงขึ้น และอุณหภูมิก็สูงขึ้นเป็น 10 ล้านเคลวิน เปลี่ยนรูปเป็นพลังงาน
ความร้อน และแผ่รังสีอินฟราเรดออกมา เรียกว่า ปฏิกิริยาเทอร์โม
นิวเคลียร์ฟิ วชั่น คือ การรวมอะตอมของไฮโดรเจน 4 อะตอม ให้เป็น
อะตอมของฮีเลียม 1 อะตอม
กลุ่มเมฆยุบตัวลง ความหนาแน่นภายในก็เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ
พลังงานจากแรงโน้มถ่วงถูกแปลงไปกลายเป็นความร้อนซึ่งทาให้อุณหภูมิ
สูงยิ่งขึ้นเป็นหลายแสนองศาเซลเซียส เรียกช่วงนี้ว่า ดาวฤกษ์ก่อน
เกิด (protostar)
1. กาเนิดของดาวฤกษ์
2. สภาพดาวฤกษ์
กาเนิดเป็นดาวฤกษ์ขึ้น ดาวฤกษ์ที่เห็นบนท้องฟ้าส่วนมากเป็น
ดาวในลาดับหลัก (พฤติกรรมของดาวที่ค่อนข้างคงที่เป็นเวลานาน)
ดาวฤกษ์มวลน้อย
เช่น ดวงอาทิตย์มีแสง
สว่างไม่มากจะใช้เชื้อเพลิงใน
อัตราที่น้อย จึงมีช่วงชีวิตยาว
ดาวฤกษ์มวลมาก
มีขนาดใหญ่ มวลมาก สว่าง
มาก จะใช้เชื้อเพลิงอย่างสิ้นเปลือง
ในอัตราที่สูงมาก จึงมีช่วงชีวิตที่สั้น
กว่า และจบชีวิตด้วยการระเบิด
อย่างรุนแรง
2. สภาพดาวฤกษ์
ดาวยักษ์แดง คือ “ดาว
ฤกษ์ในวัยชรา” บรรยากาศรอบนอกของ
ดาวจะลอยตัวและบางมาก ทาให้รัศมี
ของดาวขยายใหญ่ขึ้นมาก และอุณหภูมิ
พื้นผิวก็ต่า
3.วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์
เมื่อดาวฤกษ์ใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนเกือบหมด ฮีเลียมจะ
กลายเป็นเชื้อเพลิงต่อไป จะเปลี่ยนแปลงเป็นธาตุอื่น ๆ ต่อไปจน
เชื้อเพลิงหมดลง ดาวฤกษ์จะเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงจากการขยาย
เป็นดาวยักษ์แดง วาระสุดท้ายจะเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างไรขึ้นอยู่กับ
มวลสารของดาวฤกษ์ดาวนั้น
3.วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์มวลน้อย
ดาวฤกษ์มวลมาก
3.วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์มวล < 2 เท่าของดวงอาทิตย์ จบชีวิต
เป็น ดาวแคระดา (คาร์บอน)
ดาวฤกษ์มวล > 18 เท่าของดวงอาทิตย์ จบชีวิต
เป็น หลุมดา
ดาวฤกษ์มวล > 8 เท่าของดวงอาทิตย์ จบชีวิต
เป็น ดาวนิวตรอน
ดาวฤกษ์มวล < 8 เท่าของดวงอาทิตย์ จบชีวิต
เป็น ดาวแคระขาว (ออกซิเจน)
ดาวฤกษ์มีมวล
สารและขนาดที่
แตกต่างกัน
ขึ้นอยู่กับกลุ่มฝุ่น
ก๊าซที่รวมตัวกัน
ครั้งแรก
ดาวฤกษ์มวลน้อย
ดาวฤกษ์มวลมาก
3.วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์มวลน้อย
หลังจากขยายตัวเป็นดาวยักษ์แดง
แล้วจะหดตัวลง ปฏิกิริยานิวเคลียร์
สิ้นสุดลง และพลังงานความร้อนเดิม
ยังมีอยู่ เรียกว่า ดาวแคระขาว (white
Dwarf)
จะค่อย ๆ เย็นตัวลงที่สุดจะ
กลายเป็นก้อนสสารอัดแน่นไม่มีแสง
สว่าง เรียกว่า ดาวแคระดา
ดาวแคระดา
ดาวแคระขาว
3.วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์มวลน้อย
เนบิวลาดาวเคราะห์
เกิดจากการตายของดาวฤกษ์เพียง
ดวงเดียว ซึ่งเป็นดาวฤกษ์มวลน้อยและ
มวลปานกลาง ก่อนตายดาวจะเกิดการยุบ
พองและเป่าคาร์บอนออกมา การยุบพองของ
ดาว ทาให้เนื้อสารหลุดแยกออกจากดาวกลายเป็น
เนบิวลาดาวเคราะห์ แกนกลางของดาวกลายเป็น
ดาวแคระขาว ธาตุหลักของเนบิวลาดาวเคราะห์
ได้แก่ ไฮโดรเจน ฮีเลียม และออกซิเจน
กล้องโทรทรรศน์
อวกาศฮับเบิลได้จับ
ภาพเนบิวลาดาว
เคราะห์ NGC 6210
3.วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์มวลมาก
ระเบิดอย่างรุนแรงที่เรียกว่า ซูเปอร์โนวา
(supernova) การระเบิดแบบนี้มักจะเหลือแกน
กลางเป็นวัตถุความหนาแน่นสูง แรงโน้มถ่วงจะ
ทาให้ดาวยุบตัวลงกลายเป็นดาวนิวตรอน
หรือ หลุมดา
ในขณะเดียวกันก็มี แรงสะท้อนที่ทาให้ส่วนภายนอก
ของดาวระเบิดเกิดธาตุหนักต่างๆ เช่น ยูเรเนียม ทองคา ฯลฯ ซึ่งถูก
สาดกระจายออกสู่อวกาศกลายเป็นส่วนประกอบของเนบิวลารุ่นใหม่
และเป็นต้นกาเนิดของดาวฤกษ์รุ่นต่อไป
3.วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์มวลมาก
ดาวนิวตรอน
เมื่อดาวฤกษ์ใช้เชื้อเพลิงจน
หมด มีการเปลี่ยนแปลง อาจระเบิดออก
เรียกว่าซุปเปอร์โนวา คงเหลือมวลสาร
ขนาดเล็กหดตัวต่อไปเรื่อย ๆ จนทาให้
อิเล็กตรอนที่มีประจุลบอัดรวมตัวกับ
โปรตอนที่มีประจุบวก กลายเป็นดาว
นิวตรอนขนาดเล็ก
3.วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์มวลมาก
หลุมดา
วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์ขนาด
ใหญ่มวลสารมาก การหดตัวไม่หยุดลง
เหมือนดาวแคระขาวหรือดาวนิวตรอน
จะเกิดเป็นหลุมดาที่มีแรงดึงดูดสูง
มาก แม้แสงก็ไม่สามารถเล็ดลอด
ออกมาได้
ช่วงอายุของดาวฤกษ์
อายุของดาวฤกษ์ คือ ระยะเวลาของการเผาผลาญเชื้อเพลิง
ไฮโดรเจน เมื่อเชื้อเพลิงหมดก็จะเกิดวาระสุดท้ายของดาวฤกษ์ดวงนั้น
สีและการส่องสว่างของดาวฤกษ์อาจบอกถึงอายุของดาวฤกษ์
ได้ เพราะดาวฤกษ์เกิดใหม่มีพลังงานมาก อุณหภูมิสูงมองเห็นเป็นสี
ฟ้า เมื่อเชื้อเพลิงไฮโดรเจนค่อย ๆ ลดลงเป็นลาดับ อุณหภูมิจะ
เปลี่ยนแปลงลดลงไปด้วย สีจะเปลี่ยนเป็นสีขาว สีเหลือง และสีแดง
ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงครั้งสุดท้ายที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับมวลของดาว
ฤกษ์ดวงนั้น
กาเนิดและวิวัฒนาการ
ของดวงอาทิตย์
กาเนิดดวงอาทิตย์
เกิดจากการยุบรวมตัวของเนบิวลา
เมื่อประมาณ 5,000 ล้านปีมาแล้ว
การยุบรวมตัวของเนบิวลาเกิดจาก
แรงโน้มถ่วง
อุณหภูมิแก๊สแก่นกลางสูง 15 ล้านเคล
วิน หลอมนิวเคลียสไฮโดรเจนและฮีเลียม
เกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียส
(thermonuclear reaction) เรียกว่า “ดาว
ฤกษ์ก่อนเกิด” (protostar)
สมดุลระหว่างแรงโน้มถ่วงกับแรงดัน
ของแก๊สร้อนเกิดเป็นดาวฤกษ์สมบูรณ์
กาเนิดดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ในอนาคต
ไฮโดรเจนน้อยกว่าแรงโน้มถ่วง
มวลสูงกว่าแรงดัน
ดาวยุบตัวลง
แก่นกลางดาวฤกษ์มีอุณหภูมิกว่า 100
ล้านเคลวิน เกิดเทอร์โมนิวเคลียร์
รอบนอกมีอุณหภูมิสูงถึง 15 ล้านเคล
วิน (เกิดการหลอมเป็นฮีเลียมใหม่) ทาให้ดวง
อาทิตย์มีขนาดใหญ่กว่า 100 เท่าของปัจจุบัน
เปลี่ยนเป็นสีแดง กลายเป็นดาวฤกษ์สี
แดงขนาดใหญ่เรียกว่า “ดาวยักษ์แดง (red
giant)” ปล่อยพลังงานออกมาสูงมาก
ช่วงท้ายของอาทิตย์
ช่วงท้ายของดาวยักษ์แดง ไม่เกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์
ที่หลอมฮีเลียมเป็นคาร์บอนเพราะอุณหภูมิไม่สูงมากพอความดันจึง
ลดลง
ดาวยักษ์แดงจึงยุบตัวเป็นดาวแคระขาว (White dwarf) มี
เส้นผ่านศูนย์กลาง 13,000 กิโลเมตร หรือ 1 ใน 100 เท่าของดวง
อาทิตย์ในปัจจุบัน
ขณะที่แกนกลางยับตัว มวลของผิวดาวรอบนอกไม่ได้ยุบรวม
ด้วยจึงมีแก๊สหุ้มรอบเกิดเป็น เนบิวลาดาวเคราะห์ (planetary
nebula)
เมื่ออุณหภูมิแก่นกลางลดลงจะไม่เกิดปฏิกิริยาเทอร์โม
นิวเคลียร์หยุดส่องแสงสว่างกลายเป็นดาวแคระดา (black dwarf)
วิวัฒนาการของอาทิตย์
ความส่องสว่าง
และโชติมาตรของดาวฤกษ์
ความสว่าง (Brightness) ของดาว
ฤกษ์เป็นพลังงานที่แผ่ออกมาจากดาวฤกษ์ใน 1
วินาที (จูล/วินาที)
อันดับความสว่าง (Magnitude) หรือ
โชติมาตรของดาวฤกษ์ เป็นสเกลความสว่างของ
ดาวฤกษ์ (ไม่มีหน่วย) โดยตาเปล่า
ให้ดาวริบหรี่ที่สุดที่ตาเปล่าสามารถมองเห็น = 6
และดาวที่สว่างที่สุดที่ตาเปล่าสามารถมองเห็น = 1
ดาวที่มีโชติมาตรต่างกัน 1 จะมีความสว่างต่างกัน 2.512 เท่า
ถ้าโชติมาตรต่างกัน 5 จะสว่างต่างกัน 2.5125 หรือ 100 เท่า
เช่น อันดับความสว่าง 1 สว่างกว่าดาวที่มีอันดับความสว่าง 6
อยู่ 100 เท่า
อันดับความสว่าง (Magnitude) หรือโชติมาตร
สว่างมากกว่า
สว่างน้อยกว่า
สีและอุณหภูมิผิว
ของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์บนท้องฟ้ าแต่ละดวงนั้นมีสีไม่
เหมือนกัน แต่เดิมนั้นมีการจาแนกสีดาวฤกษ์
ออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่ ดาวประเภท O, B, A,
F, G, K, M
สี แดง น้าเงิน
อุณหภูมิพื้นผิว ร้อนที่สุด ร้อนน้อยที่สุด
ขนาดหรือมวล น้อย มาก
อายุ มาก น้อย
อุณหภูมิพื้นผิวจะสัมพันธ์กับอายุของดาว
ฤกษ์ คือดาวอายุน้อยจะมีการใช้พลังงานมาก
อุณหภูมิพื้นผิวสูงดาวฤกษ์จะมีสีน้าเงิน ขณะที่
ดาวอายุมากมีการใช้พลังงานน้อยอุณหภูมิ
พื้นผิวต่าดาวฤกษ์จะมีสีแดง
ระยะห่างของดาวฤกษ์
การหาระยะทางของดาวฤกษ์ทาได้หลายวิธี เช่น ความสว่าง
ปรากฏของดาวฤกษ์ หรือ
แพรัลแลกซ์
(Parallax)
หลักการคือ การสังเกตเห็นดาวฤกษ์เปลี่ยนตาแหน่งไปเมื่อ
เทียบกับดาวฤกษ์อ้างอิง (ซึ่งอยู่ห่างไกลจากโลกมาก) โดยจะสังเกต
ดาวฤกษ์จากโลก 2 ครั้ง ในช่วงระยะเวลาที่ห่างกัน 6 เดือน ทั้งนี้
เพราะจุดสังเกตทั้ง 2 ครั้งนั้น จะอยู่ห่างกันเป็นระยะทางประมาณ 2
เท่าของระยะทางเฉลี่ยระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์
เมื่อนักดาราศาสตร์วัดมุมที่
เปลี่ยนไประหว่างดาวฤกษ์ดวงนั้นกับ
ดาวฤกษ์อ้างอิงแล้ว จะสามารถ
คานวณหาระยะห่างระหว่างดวง
อาทิตย์กับดาวฤกษ์นั้นได้
เนบิวลา
แหล่งกาเนิดดาวฤกษ์
เนบิวลา
(nebura)
คือ กลุ่มของก๊าซและ
ฝุ่นผงที่รวมตัวกันอยู่
ระหว่างดาวฤกษ์
เนบิวลามาจากภาษาลาตินแปลว่า "เมฆ" เพราะเมื่อ
เราใช้กล้องโทรทรรศน์ส่องดู จะเห็นเป็นฝ้ าขาวคล้าย
กลุ่มเมฆ มีขนาดใหญ่มาก บ้างมีเส้นผ่าศูนย์กลางถึง
10 ปีแสง
ดาวฤกษ์ เกิดจากการยุบตัวของ
“เนบิวลา”
“เนบิวลา”
เป็นแหล่งกาเนิด
ของดาวฤกษ์ทุก
ชนิด
เนบิวลาที่เกิดขึ้นหลังจากเกิดบิกแบง ประมาณ
300,000 ปี
เนบิวลาเป็นวัตถุหนึ่งในเอกภพที่มีความสาคัญ
มากๆ เพราะดาวฤกษ์หรือดาวเคราะห์ล้วนเกิดขึ้น
มาจากเนบิวลาทั้งสิ้น
เนบิวลาเป็ นกลุ่มแก๊สที่เบาบางมีความ
หนาแน่นต่ามาก องค์ประกอบหลักของเนบิวลาคือ
แก๊สไฮโดรเจน
เ นบิ ว ล า มี อุณหภูมิ ต่า เ นื่ องจ ากไ ม่ มี
แหล่งกาเนิดความร้อน
เป็นกลุ่มก้อนมวลสารทั่วไปในจักรวาล
(Interstellar medium) เท่านั้น
มิได้รวมไปถึงดาวหรือกลุ่มดาว
“เนบิวลา”
คาดว่าเกิดมาพร้อมกับการกาเนิดเอก
ภพที่จะก่อเกิดดาวฤกษ์รุ่นแรกและ
เกิดจากการแตกดับของดาวฤกษ์รุ่น
แรกที่ทิ้งซากไว้เพื่อรอการกาเนิดเป็น
ดาวฤกษ์ขั้นที่สองอีกครั้ง
“เนบิวลา”
เนบิวลา แบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ
1. เนบิวลาประเภทเรืองแสง
(Emission nebula)
2. เนบิวลาประเภทสะท้อน
(Reflective nebula)
3. เนบิวลาประเภทดาวเคราะห์
(Planetary nebula)
4. เนบิวลาประเภทมืด
(Dark nebula)
1. เนบิวลาประเภทเรืองแสง
เนบิวลาชนิดนี้สว่างเพราะเนบิวลาแบบนี้จะเรืองแสงขึ้นเอง
เนื่องจากอะตอมของมวลสารที่อยู่ในเนบิวลา ถูกกระตุ้นด้วยพลังงานจาก
ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ๆ ถ้าก๊าซส่วนใหญ่ในเนบิวลาจะเป็นอะตอมไฮโดรเจน
ซึ่งจะปล่อยแสงสีแดง กับอะตอมของออกซิเจนซึ่งให้แสงสีเขียว และ
อะตอมของไฮโดรเจนมักจะรวมตัวกับอะตอมของออกซิเจน แล้วจะปล่อย
สีผสมระหว่างแดงกับเขียวคือสีเหลืองออกมา
M 8
ในกลุ่มดาวคนยิงธนู
M 42
ในกลุ่มดาวนายพราน
เนบิวลาอเมริกาเหนือ
ในกลุ่มดาวหงส์
2. เนบิวลาประเภทสะท้อนแสง
เนบิวลาใน
กระจุกดาว
ลูกไก่
เนบิวลา
M78
ในกลุ่มดาว
นายพราน
เนบิวลา
หัวแม่มด
เป็นเนบิวลาที่มีแสงสว่างได้
เนื่องจาก แสงจากเนบิวลาชนิดนี้เกิด
จากการกระเจิงแสงจากดาวฤกษ์
ใกล้เคียงที่ไม่ร้อนมากพอที่จะทาให้
เนบิวลานั้นเปล่งแสง กระบวนการ
ดังกล่าวทาให้เนบิวลาชนิดนี้มีสีฟ้า
2. เนบิวลาประเภทสะท้อนแสง
เนบิวลาสามแฉก
เนบิวลาชนิดนี้บางครั้งก็พบอยู่เป็นส่วนหนึ่งของ
เนบิวลาเปล่งแสง เช่น เนบิวลาสามแฉก (Trifid Nebula) ที่มีทั้ง
สีแดงจากไฮโดรเจน สีเขียวจากออกซิเจน และสีฟ้าจากการ
สะท้อนแสง
2. เนบิวลาประเภทดาวเคราะห์
เนบิวลา
คารินา
เป็นสถานะสุดท้ายของดวงดาว ที่มี
มวลประมาณดวงอาทิตย์ของเรา
ดาวที่ใจกลางของ nebula IC 418 มี
ลักษณะเป็นดาวยักษ์แดง(หรือ red giant) เมื่อ
ประมาณหลายพันปีที่แล้ว และมันได้พ่นกลุ่ม
ก๊าซให้กระจายอยู่ในอวกาศใกล้ๆ
รังสีอัลตราไวโอเลต ที่แผ่ออกมาจาก
แกนกลางที่เหลื่ออยู่ของดาว ทาให้กลุ่มก๊าซ
รอบๆ เกิดการเรืองแสงเป็นสีสวยงามอย่างที่
เห็นกัน เมื่อเวลาผ่านไปอีกหลายพันปีดาวก็จะ
เย็นตัวลงเกิดเป็นดาวแคระขาว
2. เนบิวลาประเภทดาวเคราะห์
“อีตา คาริเน่” (Eta Carinae)
เป็นดาวฤกษ์ที่ใหญ่ที่สุดในกาแล็กซี
ทางช้างเผือกหรืออาจจะใหญ่ที่สุดใน
จักรวาล ด้วยเหตุนี้มันจึงมีอีกชื่อหนึ่ง
ว่า “Eta Carinae Nebula”
4. เนบิวลาแบบมืด
โดยทั่วไปเนบิวล่ามืดมักจะอยู่รวมกับเนบิวล่าสว่าง หรือ เนบิว
ล่าสะท้อนแสง เพราะเราจะ สามารถมองเห็นเนบิวล่ามืดได้เพราะ ส่วนที่
เป็นเนบิวล่ามืดนั้นจะดูดกลืนแสงจากฉากด้านหลัง ไม่ให้มาเข้าตาเรา
คล้ายกับว่ามีวัตถุทึบแสงกันอยู่ ซึ่งอาจจะเป็นฝุ่นผงที่หนาทึบมากๆ
เนบิวล่ามืดรูปหัวม้า
ในกลุ่มดาวนายพราน
เนบิวลามังกร
แห่งกลุ่มดาวราศีธนู
Barnard 68
ระบบดาวฤกษ์
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์เดี่ยวที่มีบริวารซึ่งไม่ใช่ดาวฤกษ์
ดาวซีรีอัสเป็น
ดาวคู่คือเป็นระบบดาว
ฤกษ์ 2 ดวง เคลื่อนที่
รอบซึ่งกันและกันด้วย
แรงโน้มถ่วง
ดาวซีรีอัส เอ (ดวงสว่างกว่า) และ
ดาวซีรีอัส บี ซึ่งเป็นระบบดาวคู่
ดาวแอลฟาเซนเทารีเป็นระบบดาวฤกษ์ 3 ดวง
ประกอบด้วย ดาวแอลฟาเซนเทารี เอ ดาวแอลฟาเซนเทารี บี
เคลื่อนรอบซึ่งกันและกันรอบละ 80 ปี ในขณะที่ดาวแอลฟาเซน
เทารี ซี เคลื่อนรอบ 2 ดวงแรกรอบละ 50 ล้านปี ดาวแอลฟาเซน
เทารี ซี คือดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะที่สุด โดยอยู่ห่างเป็น
ระยะทางประมาณ 4 ปีแสง
ระบบดาวฤกษ์ที่ประกอบด้วยดาวฤกษ์จานวนมากคือ
กระจุกดาว เช่น ประจุกดาวลูกไก่ ซึ่งเป็นระบบดาวฤกษ์ที่มีดาว
ฤกษ์มากกว่าร้อยดวง กระจุกดาวทรงกลม M13 ประกอบด้วย
ดาวฤกษ์หลายแสนดวง ดาวฤกษ์และกระจุกดาวฤกษ์มักจะอยู่
ภายในกาแล็กซี่ซึ่งเป็นระบบดาวฤกษ์อีกระบบหนึ่งที่มีขนาด
กระจุกดาว M13
ใหญ่กว่ากระจุกดาวฤกษ์
มาก สาเหตุที่เกิดดาว
ฤกษ์เป็นระบบต่าง ๆ
กัน เพราะเนบิวลาต้น
กาเนิดมีปริมาณและ
ขนาดต่าง ๆ กัน
มวลของดาวฤกษ์
มวลเป็นเนื้อสาร มวลของดาวฤกษ์แต่ละดวงแตกต่างกัน
เพราะเนบิวลาที่ก่อกาเนิดเป็นดาวฤกษ์มีมวลไม่เท่ากัน มวลจึง
เป็นสมบัติที่แตกต่างของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์มวลมากจะใช้มวลที่แก่นดาวมากกว่าดาวฤกษ์
มวลน้อย ทั้งนี้เพื่อเพิ่มความดันของแก๊สให้สูงขึ้นพอที่จะสมดุล
กับแรงโน้มถ่วง
ดาวฤกษ์มวลน้อยมีแรงโน้มถ่วงน้อยกว่าดาวฤกษ์มวลมาก
ความดันของแก๊สร้อนในดาวฤกษ์มวลน้อยจึงน้อยกว่า การใช้
เชื้อเพลิงที่แก่นดาวต้องน้อยกว่าด้วย
นักดาราศาสตร์สามารถหามวลของดาวฤกษ์ได้หลายวิธี
เช่นในกรณีของดวงอาทิตย์ซึ่งมีบริวารเป็นกาวเคราะห์ สามารถ
ใช้กฎของเคพเลอร์ในการหามงลของดวงอาทิตย์ได้เนื่องจากว่า
คาบการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์และระยะห่าง
ของดาวเคราะห์จะมีความสัมพันธ์กับมวลของดวงอาทิตย์
ในกรณีของดาวคู่ซึ่งเคลื่อนที่รอบซึ่งกันและกันอาจปรากฏ
บังกัน การสังเกตแสงจากดาวระบบนี้จะช่วยบอกคาบการ
เคลื่อนที่รอบซึ่งกันและกันของดาวฤกษ์คู่นี้ คาบสัมพันธ์กับ
ระยะห่างระหว่างดาวกับมวลของดาวตามกฎเคพเลอร์ จึงใช้กฎ
นี้หามวลรวมของดาวได้ และถ้าทราบมวลของดาวดวงใดดวง
หนึ่งก็สามารถหามวลของอีกดวงหนึ่งได้
ต่อไปนี้มวลของดาวฤกษ์เทียบกับมวลดวงอาทิตย์
(MS = 2 x 1030 กิโลกรัม)
มวลดาวซีรีอัส เอ = 2.02 MS
มวลดาวซีรีอัส บี = 0.978 MS
มวลดาวแอลฟาเซนเทารี เอ = 0.123+/-0.006 MS
มวลดาวแอลฟาเซนเทารี บี = 1.100 MS
มวลดาวแอลฟาเซนเทารี ซี = 0.907 MS
มวลดาวปาริชาต = 15.5 MS
มวลดาวไรเจล = 17 MS

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
Jariya Jaiyot
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Thanyamon Chat.
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Supaluk Juntap
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 

Viewers also liked

ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
Miewz Tmioewr
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
น้อง อด.
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
Mook Sunita
 
ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์
Noknun Luesat
 
หลุมดำและอวกาศ
หลุมดำและอวกาศหลุมดำและอวกาศ
หลุมดำและอวกาศ
Hiran Vayakk
 
7 ระบบสุริยะ
7 ระบบสุริยะ7 ระบบสุริยะ
7 ระบบสุริยะ
Khaidaw Pha
 
Dark Matter and Dark Energy
Dark Matter and Dark EnergyDark Matter and Dark Energy
Dark Matter and Dark Energy
Bryan Higgs
 
การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนก
Nonglawan Saithong
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
narongsakday
 

Viewers also liked (17)

บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 
หลุมดำและอวกาศ
หลุมดำและอวกาศหลุมดำและอวกาศ
หลุมดำและอวกาศ
 
7 ระบบสุริยะ
7 ระบบสุริยะ7 ระบบสุริยะ
7 ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Dark Matter and Dark Energy
Dark Matter and Dark EnergyDark Matter and Dark Energy
Dark Matter and Dark Energy
 
การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนก
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 

Similar to บทที่ 6 ดาวฤกษ์

บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
narongsakday
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1
onchalermpong
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
supatthra1111
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
Wichai Likitponrak
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
Un Sn
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
Un Sn
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
Wichai Likitponrak
 
ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์
yadanoknun
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิม
Pornthip Nabnain
 

Similar to บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (20)

Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
ดาวฤกษ์.pptx
ดาวฤกษ์.pptxดาวฤกษ์.pptx
ดาวฤกษ์.pptx
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิม
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
Astro & space technology
Astro & space technologyAstro & space technology
Astro & space technology
 

More from Ta Lattapol

More from Ta Lattapol (7)

หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

บทที่ 6 ดาวฤกษ์