SlideShare a Scribd company logo
LOGO

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์
ิ
รายวิชา วิทยาศาสตร์ 4 ( ว 22102)

่
เรือง ระบบย่อยอาหาร

(Digestion)
โดยครูสุกญญา นาคอ้น
ั
1
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. สามารถอธิบายส่ วนประกอบ และหน้ าที่
ของระบบย่ อยอาหารของมนุษย์
2. อธิบายกระบวนการย่ อยทีเ่ กิดขึนใน
้
ทางเดินอาหารส่ วนต่ างๆ ของมนุษย์
3. ตระหนักถึงความสาคัญ ทีจะต้ องดูแล
่
รักษาอวัยวะในระบบย่ อยอาหารให้ ทา
หน้ าทีเ่ ป็ นปกติ

ระบบย่ อยอาหาร

2
เปรียบเทียบร่ างกาย
ในร่ างกายถ้ าเปรียบระบบอวัยวะกับการทางานของระบบโรงงานสามารถเปรียบได้ ดงนี้เช่ น
ั

ผิวหนัง, ขน, เล็บ
สมอง
ตา
ลิน
้
หัวใจ
ปอด
ไต ตับ
กระเพาะอาหาร, ลาไส้
ระบบย่ อยอาหาร

เปรียบเหมือน
เปรียบเหมือน
เปรียบเหมือน
เปรียบเหมือน
เปรียบเหมือน
เปรียบเหมือน
เปรียบเหมือน
เปรียบเหมือน

กาแพง ด่ านตรวจ
คอมพิวเตอร์
กล้อง V.D.O. วงจรปิ ด, รปภ.
ผู้ตรวจสอบคุณภาพ
เครื่องปั้มนา
้
แอร์ ( ก๊าช )
เครื่องกาจัดของเสี ย ถังขยะ
ห้ องครัว

3
ส่ วนประกอบของร่ างกาย
ในร่ างกายจะประกอบด้ วยหน่ วยของสิ่ งมีชีวตทีเ่ ล็กทีสุดคือ เซลล์ (cell)
ิ
่
เซลล์ ทมขนาดเล็กทีสุด คือ สเปิ ร์ ม (sperm) และใหญ่ ทสุดคือไข่ (egg)
ี่ ี
่
ี่
cell หลาย ๆ cell
รวมกันกลายเป็ น เนือเยือ (tissue)
้ ่
เนือเยือ หลาย ๆ เนือเยือ รวมกันกลายเป็ น อวัยวะ (organ)
้ ่
้ ่
อวัยวะ หลายๆ อวัยวะ
รวมกันกลายเป็ น ระบบ (system)
ระบบหลาย ๆ ระบบ
รวมกันกลายเป็ น ส่ วนประกอบของร่ างกาย
ส่ วนประกอบของร่ างกาย รวมกันกลายเป็ น ร่ างกาย (body)
เชลล์

เนือเยือ
้ ่

ระบบย่ อยอาหาร

อวัยวะ

ระบบ

ส่ วนประกอบของร่ างกาย

ร่ างกาย

4
ระบบย่ อยอาหาร (Digestion)
ระบบย่อยอาหาร คือ กระบวนการที่ทาหน้าที่เปลี่ยน
อาหารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ให้เป็ นสารอาหารที่มีโมเลกุลขนาด
เล็ก จนร่ างกายสามารถนามาดูดซึมและใช้ประโยชน์ได้
ตัวอย่างอาหารและสารโมเลกุลเล็กที่ร่างกายดูดซึ มได้
เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน น้ าตาลโมเลกุลเดี่ยว
กรดอะมิโน กลีเชอรอล กรดไขมัน
ระบบย่ อยอาหาร

5
อวัยวะในการย่ อยอาหารของคน
แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน
1. อวัยวะที่เป็ นทางเดินอาหาร
ปาก

คอหอย

หลอดอาหาร

กระเพาะอาหาร

ทวารหนัก

ลาไส้ใหญ่

ลาไส้เล็ก

กากอาหาร

ระบบย่ อยอาหาร

6
อวัยวะในการย่ อยอาหารของคน
2. อวัยวะที่ช่วยย่ อยอาหาร แต่ ไม่ ใช่ ทางเดินอาหาร

ตับ

ระบบย่ อยอาหาร

ถุงนาดี
้

ตับอ่ อน

7
ระบบย่ อยอาหาร

ระบบย่ อยอาหาร

8
ประเภทของการย่ อยอาหาร
1. การย่อยเชิงกล (Mechanism digestion) คือ การย่อยโดยใช้แรงและการ
บีบตัวของท่อทางเดินอาหาร เป็ นการบดให้ละเอียดหรื อให้มีขนาดเล็ก
ลง โดยไม่ตองอาศัยเอนไซม์ จะพบในอวัยวะ เช่น ปาก หลอดอาหาร
้
ลาไส้ใหญ่
2. การย่อยเชิงเคมี (Chemical digestion) คือ เป็ นการย่อยที่ตองอาศัย
้
เอนไซม์ (ใช้น้ าย่อย) ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี จะพบในอวัยวะ เช่น ปาก
กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก

ระบบย่ อยอาหาร

9
การย่ อยอาหารในปาก
1. ปาก (mouth) เป็ นอวัยวะแรกของระบบย่อยอาหาร ภายใน
ประกอบด้วย ฟั น ทาหน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ลิน ทาหน้าที่
้
ส่ งอาหารให้ฟันบดเคี้ยว และคลุกเคล้าอาหารให้อ่อนตัว ง่ายต่อการ
บดเคี้ยวของฟัน ต่ อมนำลำย ทาหน้าที่ขบน้ าลายออกมาคลุกเคล้า
้
ั
กับอาหาร ในน้ าลายมีเอนไซม์อะไมเลส ซึ่งสามารถย่อยแป้ งให้เป็ น
น้ าตาล ดังนั้นเมื่อเราอมข้าวเปล่าไว้นาน ๆ จึงรู้สึกหวานนิด ๆ

ระบบย่ อยอาหาร

10
การย่ อยอาหารในปาก
มีเฉพาะการย่ อยแป้ งเท่ านั้น ดังสมการ

แป้ ง + นา
้

อะไมเลส

เด็กซ์ ตริน + มอลโตส
(แปงขนาดเล็ก)
้

ระบบย่ อยอาหาร

(นาตาลโมเลกุลคู่)
้

11
การย่ อยอาหารในปาก
 ปาก ( MOUTH )
 มีการย่ อยอาหาร 2 แบบ

คือ
- การย่อยเชิงกล
- การย่อยทางเคมี
ระบบย่ อยอาหาร

12
ฟันของคนเรามี 2 ชุด
ฟันนานม มีท้งหมด 20 ซี่
้
ั

อยู่บนขากรรไกรบน 10 ซี่
ขากรรไกรล่ าง 10 ซี่ งอกขึนมา
้
หลังจากที่เด็กคลอดแล้ ว ช่ วง 6

เดือน และขึนครบอายุ 2 ปี ครึ่งอายุ
้
การใช้ งาน 10 ปี
ระบบย่ อยอาหาร

13
ฟันแท้ ( Permanent teeth )
ฟันแท้ มี 28 - 32 ซี่ แล้ วแต่ ว่า

กรามหลัง ( molar ) จะขึนครบ
้
หรือไม่ ฟันแท้ จะอยู่บนขา
กรรไกร บน 16 ซี่ ล่ าง 16 ซี่

สู ตรฟันแท้ = I C P M 2 1 2 3
-ICPM 2 1 2 3
ระบบย่ อยอาหาร

14
หน้ าที่ของฟัน
 ฟัน ใช้บดเคี้ยวอาหาร บดอาหาร ชิ้นใหญ่ให้มีขนาดเล็กลง
 รักษารู ปใบหน้า เช่น ฟันเขี้ยว ทาให้ใบหน้าไม่บุ่ม
 ช่วยในการออกเสี ยงให้ชดเจนยิงขึ้น เช่น ส ฟ ฝ ช
ั
่

ระบบย่ อยอาหาร

15
ลิน (Tongue)
้
เป็ นกล้ามเนื้อที่สามารถเคลื่อนที่ได้
อย่างคล่องแคล่วในหลายทิศทาง ทาหน้าที่
สาคัญ รับรสอาหาร เพราะมีต่อมรับรส
(Taste Buds), ช่วยคลุกเคล้าอาหารให้ผสม
กับน้ าลาย และตะล่อมให้อาหารเป็ นก้อน,
ช่วยหน่วงเหนี่ยวอาหารไม่ให้ไหลผ่านคอ
หอยเร็ วเกินไป, ช่วยในการกลืนอาหาร, ช่วย
ในการพูด ทาให้พดชัดเจน
ู
ระบบย่ อยอาหาร

16
การรับรสอาหารของลิน
้
ทาหน้ าที่ในการรับรสอาหาร เพราะทีลนมีปุ่ม
่ ิ้
รับรส เรียกว่ า Taste Buds อยู่ 4 ตาแหน่ ง
คือ
รสขม
รสเค็ม
รสหวาน
รสเปรี้ยว

ระบบย่ อยอาหาร

อยู่บริเวณโคนลิน
้
อยู่บริเวณปลายลินและข้ างลิน
้
้
อยู่บริเวณปลายลิน
้
อยู่บริเวณข้ างลิน
้

17
ต่ อมนาลาย ( salivary gland )
้
 เป็ นต่ อมมีท่อ ทาหน้ าที่ผลิตนาลายออกมาวันละประมาณ
้
1 - 1.5 ลิตร ต่ อมนาลายของคนเรา มีอยู่ 3 คู่
้
 ต่ อมนาลายใต้ กกหู เป็ นต่ อมทีมีขนาดใหญ่ สุด หากมีเชื้อไวรัส
้
่
เข้ าไปในต่ อมนีจะทาให้ เป็ นโรคคางทูม
้
 ต่ อมนาลายใต้ ขากรรไกร มีลกษณะคล้ายรู ปไข่
้
ั
 ต่ อมนาลายใต้ ลน อยู่ระหว่ างด้ านในของกระดูกขากรรไกรล่ าง
้
ิ้
ระบบย่ อยอาหาร

18
การย่ อยอาหารในปาก

ระบบย่ อยอาหาร

19
ส่ วนประกอบของนาลาย
้
 มีค่า pH ระหว่าง 6.2 - 7.4 แต่มีประสิ ทธิ ภาพดี เมื่ออยู่
ในค่า pH 6.8
 มีน้ าเป็ นองค์ประกอบ ประมาณ 97 - 99 %
 มีของแข็งปนอยูเ่ ป็ น พวกฟอสเฟต
 มีน้ าย่อยชื่อไทยาลิน หรื อ อะไมเลส ย่อยแป้ ง
 มีสารเมือกช่วยในการหล่อลื่นอาหาร
ระบบย่ อยอาหาร

20
หน้ าที่ของนาลาย
้
 ช่วยควบคุมปริ มาณน้ าในร่ างกาย
 ย่อยอาหารจาพวกคาร์โบไฮเดรต
 เป็ นตัวทาละลายอาหารทาให้อาหารอ่อนตัว
 ไม่ให้ปากแห้งทาให้ปากเปี ยกชื้นเหมาะกับ
การพูด
 ช่วยในการเคลื่อนไหวของลิ้นขณะพูด
ระบบย่ อยอาหาร

21
กระบวนการย่ อยในปาก
 เริ่ มต้นจากการเคี้ยวอาหารโดยการทางานร่ วมกันของ ฟัน ลิ้น และแก้ม
ซึ่งถือเป็ นการย่อยเชิงกล ทาให้อาหารกลายเป็ นชิ้นเล็กๆ มีพ้ืนที่ผวสัมผัส
ิ
กับเอนไซม์ได้มากขึ้น
 ในขณะเดียวกันต่อมน้ าลายก็จะหลังน้ าลายออกมาช่วยคลุกเคล้าให้อาหาร
่
เป็ นก้อนลื่นสะดวกต่อการกลืน
 เอนไซม์ในน้ าลาย คือ ไทยาลิน หรื ออะไมเลสจะย่อยแป้ งในระยะเวลา
่
สั้นๆ ในขณะที่อยูในช่องปากให้กลายเป็ นเดกซ์ทริ น (Dextrin) ซึ่งเป็ น
คาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลเล็กกว่าแป้ ง แต่ใหญ่กว่าน้ าตาล
ระบบย่ อยอาหาร

22
คอหอย หรือ Pharynx
2. คอหอย (pharynx) เป็ นท่ออยู่
ระหว่างด้านหลังของช่องปากและ
หลอดลม บริ เวณนี้เป็ น จุดเชื่อม
ระหว่างหลอดลมกับหลอดอาหาร
โดยมีกลไกควบคุมการส่ งอาหาร
หรื ออากาศคนละเวลากัน นอกจากนี้
ยังประกอบด้วยต่อมน้ าเหลือง 3 คู่
่
อยูรอบ ๆ คอหอย มีหน้าที่ดกจับเชื้อ
ั
โรค เรี ยกว่า “ต่อมทอนซิล” (tonsil)
ระบบย่ อยอาหาร

23
3. หลอดอาหาร (oesophagus)
3. หลอดอาหาร (oesophagus) เป็ น
หลอดที่ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารที่ต่อ
จากคอหอยไปยังกระเพาะอาหาร
หลอดอาหารยาวประมาณ 25 cm. ไม่ มี
ต่ อมสร้ ำงนำย่ อย หลอดอาหารจะรับ
้
อาหารจากคอหอยโดยการบีบรัดของ
กล้ามเนื้อทางเดินอาหารเป็ นลูกคลื่น
เรี ยกว่า เพอรี สตัลซีส (peristalsis)จาก
บนลงล่างและไม่ มีกำรดูดซึ มอำหำร
ระบบย่ อยอาหาร

24
กระเพาะอาหาร (stomach)
4. กระเพาะอาหาร (stomach)
ผลิต กรดไฮโดรคลอริ ก และน้ าย่อย
อาหารประเภทโปรตีนมีลกษณะเป็ นถุง รู ปร่ าง
ั
คล้ายตัว J ปกติกระเพาะอาหารที่ไม่มีอาหาร
จะมีขนาดประมาณ 50 มิลลิลิตร และสามารถ
ขยายตัวเพื่อบรรจุอาหารได้ 1-1.5 ลิตร
กระเพาะอาหารสามารถย่อยได้โดยการบีบตัว
ทาให้อาหารแตกเป็ นชิ้นเล็กๆ คลุกเคล้ากับ
น้ าย่อยในกระเพาะ ซึ่ งน้ าย่อยประกอบด้วย
่
กรดที่ใช้ยอยโปรตีนชื่อว่าเพปซิ นและเรนนิน
ระบบย่ อยอาหาร

25
การย่ อยในกระเพาะอาหาร
 การย่อยเชิงกล เมื่ออาหารตกมาถึงกระเพาะ
จะมีการหดตัวของกระเพาะเป็ นช่วง ๆ เรี ยก
Peristalsis
 การย่อยทางเคมี ส่ วนใหญ่เป็ นการย่อยโปรตีน
เพปซิน
โปรตีน
เพปไทด์
ระบบย่ อยอาหาร

26
การย่ อยในกระเพาะอาหาร
มีการย่อยโปรตีนเป็ นโปรตีนโมเลกุลย่อย ซึ่งยังไม่สามารถดูดซึมเข้า
สู่เซลล์ไปใช้ประโยชน์ได้
โปรตีน
เคซีน

เพปซิน
pH 2
เรนนิน
pH 2

เพปไทด์
พาราเคซีน (paracasein)
เพปซิน

เพปไทด์
ระบบย่ อยอาหาร

27
โรคแผลของกระเพาะอาหาร
เกิดจากการหลังกรดที่มากเกินไปของกระเพาะ
่
อาหาร ทาให้มีการย่อยและทาลายเยือบุกระเพาะอาหาร
่
ทาให้มีอาการปวดแสบ ปวดท้องใต้ลิ้นปี่ มีเลือดออก
จากแผล และหากแผลลึกมาจะทาให้กระเพาะอาหาร
ทะลุได้

28
วิธีททาให้ กระเพาะอาหารไม่ ถูกทาลาย
ี่
-

กินอาหารให้ตรงเวลา
ไม่รับประทานอาหารรสจัด เช่น เปรี้ ยวจัด เค็มจัด เผ็ดจัด
ไม่กินยาแก้ปวดขณะท้องว่าง
ไม่ดื่มอาหารที่มีแอลกอฮอล์
พยายามทาจิตใจให้แจ่มใสและร่ าเริ งอยูเ่ สมอ ไม่เครี ยด หรื อ
วิตกกังวลมากเกินไป
- พักผ่อนให้เพียงพอ
- ออกกาลังกายเป็ นประจาสม่าเสมอ
ระบบย่ อยอาหาร

29
ลาไส้เล็ก(Small Intestine)
ลาไส้เล็ก (Small Intestine) เป็ นส่ วนที่
ยาวที่สุดของทางเดินอาหาร ต่อมาจาก
กระเพาะอาหาร มีความยาวประมาณ
7-8 เมตร ขดไปมาในช่องท้อง ผนังด้าน
ในของลาไส้เล็กมีลกษณะเป็ นลอนตาม
ั
ขวาง มีส่วนยืนเล็กๆมากมายเป็ นตุ่ม
่
เรี ยกว่า วิลลัส เพื่อเพิมพื้นที่ผวในการ
ิ
่
่
ดูดซึมสารอาหารที่ยอยแล้วได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
ระบบย่ อยอาหาร

คาถาม..........วิลลัสในลาไส้ เล็กมีเพือทาหน้ าที่อะไร
่

30
ลาไส้เล็ก(Small Intestine)
แบ่ งเป็ น 3 ส่ วน คือ
อวัยวะส่ วนต้ น
1. ดูโอดีนัม (Duodenum) เป็ นลาไส้ เล็กส่ วนต้ น ยาวประมาณ 25-30 เซนติเมตรรู ปร่ าง
เป็ นตัวยู อยู่ต่อจากกระเพาะอาหาร เป็ นบริเวณทีมสารเคมีหลายชนิด เช่ น
่ ี
Pancreatic Juice เป็ นนาย่อยที่สร้ างจากตับอ่อน, นาดี (Bile) สร้ างจากตับ,
้
้
Intestinal Juice เป็ นนาย่ อยทีสร้ างจากกผนังลาไส้ เล็กของดูโอดีนัม จัดเป็ นส่ วนที่
้
่
มีการย่ อยอาหารเกิดขึ้นมากทีสุด
่
2. เจจนัม (Jejunum) เป็ นส่ วนที่ต่อจาก Duodenum ยาวประมาณ 2 ใน 5 หรือ
ู
ประมาณ 2.50 เมตร เป็ นส่ วนที่มีการดดซึมอาหารมากทีสุด
่
ู
3. ไอเลียม (Ileum) เป็ นลาไส้ เล็กส่ วนสุ ดท้ าย ปลายสุ ดของ Ileum ต่ อกับลาไส้ ใหญ่ มี
ขนาดเล็กและยาวทีสุดประมาณ 4.3 เมตร
่
ระบบย่ อยอาหาร

31
นาดีจากตับ
้

 มีสีเขียว รสขม มีภาวะเป็ นเบส ช่วยลดความเป็ นกรดของอาหารที่
ผ่านมาจากกระเพาะอาหาร
 ทาให้ไขมันแตกตัวเป็ นเม็ดเล็กๆ เพื่อให้เอนไซม์ไลเพสย่อยได้ง่ายขึ้น

ไขมันธรรมดา

นาดี
้

ไขมันแตกตัว

ไลเพส

(emulsified fat)

กรดไขมัน + กลีเซอรอล

่
ถุงนาดี ทาหน้าที่ในการเก็บน้ าดี ดังนั้นผูป่วยที่ผาตัดถุงน้ าดีจึงควรงด
้
้

รับประทานอาหารจาพวกไขมัน
ระบบย่ อยอาหาร

32
ชนิดของนาย่ อยในลาไส้ เล็ก
้
1.น้าย่อยจากตับอ่ อน

2. น้าดี สร้ างจากตับ

3. น้าย่อยที่ลาไส้ เล็ก
สร้ างขึ้นเอง

- อะไมเลส ช่ วยย่อยแปง
้
เป็ นนาตาลมอลโทส
้
- ลิเพส ย่อยไขมันหรือ
นามันเป็ นกรดไขมันและกลี
้
เซอรอล
- ทริปซินย่อยโปรตีนเป็ น
เพปไทด์

มีสีเขียว รสขม มีสมบัติเป็ น
เบส ช่ วยลดความเป็ นกรด
ของอาหารทีผ่านมาจาก
่
กระเพาะอาหาร และช่ วยใน
การย่อยสลายอาหารจาพวก
ไขมันให้ เกิดการแตกตัวเป็ น
โมเลกุลทีเ่ ล็กลงเพือง่ ายต่ อ
่
การย่อยต่ อไป

- อะไมเลส ช่ วยย่ อยแป้ งเป็ น
นาตาลมอลโทส
้
- มอลเทส ย่ อยมอลโทสให้ เป็ น
นาตาลกลูโคส
้
- ซูเครส ย่ อยนาตาลซู โครสให้
้
เป็ นกลูโคสและฟรักโทส
- แลกเทส ย่ อยนาตาลแลกโทส
้
ให้ เป็ นกลูโคสและกาแลกโทส
- เพปติเดส ย่ อยพอลิเทปไทด์ ให้
เป็ นกรดอะมิโน

ระบบย่ อยอาหาร

33
ลาไส้ใหญ่ (Large Intestine)
ลาไส้ใหญ่ (Large Intestine)
มีหน้าที่ดูดซึมน้ า แร่ ธาตุ วิตามิน
บางชนิดและกลูโคสเข้าสู่กระแส
เลือดซึ่งส่ วนใหญ่จะเป็ นน้ า จากนั้น
ลาไส้ใหญ่จะบีบตัวเพื่อให้กาก
อาหารที่ไม่มีประโยชน์แล้ว เรี ยกว่า
อุจจาระ ออกสู่ภายนอกร่ างกายทาง
ทวารหนัก (Rectum) ในลาไส้ใหญ่
จะไม่ มีกำรย่ อยอำหำร
ระบบย่ อยอาหาร

34
ตารางสรุปการย่ อยอาหารเชิงเคมีโดยใช้ นาย่ อย
้
อวัยวะที่ย่อย เอนไซม์
ปาก
กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็ก

อะไมเลส
เพปซิน
ลิเพส
เพปซิน
อะไมเลส
มอลเตส
ซูเครส
แลกเทส

สารทีถูกย่ อย
่

ผลที่ได้ จากการย่ อย

แป้ ง
โปรตีน
ไขมัน,น้ ามัน
เพปไทด์
แป้ ง
น้ าตาลมอลโทส
น้ าตาลซูโครส
น้ าตาลแลกโทส

น้ าตาลมอลโทส
เพปไทด์
กรดไขมันและกลีเซอรอล
กรดอะมิโน
น้ าตาลมอลโทส
น้ าตาลกลูโคส+น้ าตาลกลูโคส
น้ าตาลกลูโคส+น้ าตาลฟรักโทส
น้ าตาลกลูโคส+น้ าตาลกาแลกโทส

 เอนไซม์ในปาก จะทางานได้ดี ในสภาพเป็ นเบสอ่อน
 เอนไซม์ในกระเพาะอาหาร จะทางานได้ดีในสภาพเป็ นกรด
 เอนไซม์ในสาไส้เล็ก จะทางานได้ดีในสภาพเบส
ระบบย่ อยอาหาร

35
สรุปลาดับขั้นการย่ อยอาหาร
คาร์โบไฮเดรต ถูกย่อยเป็ นอันดับแรกในปาก
โปรตีน ถูกย่อยเป็ นอันดับแรกในกระเพาะอาหาร
ไขมัน ถูกย่อยเป็ นอันดับแรกในลาไส้เล็ก
ในลาไส้ เล็กมีการย่ อยอาหารทั้ง คาร์ โบไฮเดรต
โปรตีน และไขมัน
ระบบย่ อยอาหาร

36
คาถามทบทวนความร้ ู
1.
2.
3.
4.
5.

การย่อยอาหารมีกี่ประเภท อะไรบ้าง?
อาหารที่เรารับประทานเข้าไปจะต้องผ่านการย่อยที่อวัยวะส่ วนใดบ้าง?
เอนไซม์น้ าลายทาหน้าที่อะไร?
สารอาหารประเภทใดไม่ถูกย่อยในกระเพาะอาหาร
อวัยวะส่ วนใดในระบบทางเดินอาหารที่ไม่มีหน้าที่ในการย่อยอาหาร

ระบบย่ อยอาหาร

37
LOGO

38

More Related Content

What's hot

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Supaluk Juntap
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
Pinutchaya Nakchumroon
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 

What's hot (20)

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 

Similar to ระบบย่อยอาหาร

วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
issarayuth
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
thitichaya24
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
thitichaya24
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
สุขใจ สุขกาย
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์kanitnun
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
Tanchanok Pps
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
Krupol Phato
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
Thanyamon Chat.
 
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
วิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
kasidid20309
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
Ta Lattapol
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้
tawitch58
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 

Similar to ระบบย่อยอาหาร (20)

วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
404766008
404766008404766008
404766008
 
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ระบบย่อยอาหาร

  • 2. จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายส่ วนประกอบ และหน้ าที่ ของระบบย่ อยอาหารของมนุษย์ 2. อธิบายกระบวนการย่ อยทีเ่ กิดขึนใน ้ ทางเดินอาหารส่ วนต่ างๆ ของมนุษย์ 3. ตระหนักถึงความสาคัญ ทีจะต้ องดูแล ่ รักษาอวัยวะในระบบย่ อยอาหารให้ ทา หน้ าทีเ่ ป็ นปกติ ระบบย่ อยอาหาร 2
  • 3. เปรียบเทียบร่ างกาย ในร่ างกายถ้ าเปรียบระบบอวัยวะกับการทางานของระบบโรงงานสามารถเปรียบได้ ดงนี้เช่ น ั ผิวหนัง, ขน, เล็บ สมอง ตา ลิน ้ หัวใจ ปอด ไต ตับ กระเพาะอาหาร, ลาไส้ ระบบย่ อยอาหาร เปรียบเหมือน เปรียบเหมือน เปรียบเหมือน เปรียบเหมือน เปรียบเหมือน เปรียบเหมือน เปรียบเหมือน เปรียบเหมือน กาแพง ด่ านตรวจ คอมพิวเตอร์ กล้อง V.D.O. วงจรปิ ด, รปภ. ผู้ตรวจสอบคุณภาพ เครื่องปั้มนา ้ แอร์ ( ก๊าช ) เครื่องกาจัดของเสี ย ถังขยะ ห้ องครัว 3
  • 4. ส่ วนประกอบของร่ างกาย ในร่ างกายจะประกอบด้ วยหน่ วยของสิ่ งมีชีวตทีเ่ ล็กทีสุดคือ เซลล์ (cell) ิ ่ เซลล์ ทมขนาดเล็กทีสุด คือ สเปิ ร์ ม (sperm) และใหญ่ ทสุดคือไข่ (egg) ี่ ี ่ ี่ cell หลาย ๆ cell รวมกันกลายเป็ น เนือเยือ (tissue) ้ ่ เนือเยือ หลาย ๆ เนือเยือ รวมกันกลายเป็ น อวัยวะ (organ) ้ ่ ้ ่ อวัยวะ หลายๆ อวัยวะ รวมกันกลายเป็ น ระบบ (system) ระบบหลาย ๆ ระบบ รวมกันกลายเป็ น ส่ วนประกอบของร่ างกาย ส่ วนประกอบของร่ างกาย รวมกันกลายเป็ น ร่ างกาย (body) เชลล์ เนือเยือ ้ ่ ระบบย่ อยอาหาร อวัยวะ ระบบ ส่ วนประกอบของร่ างกาย ร่ างกาย 4
  • 5. ระบบย่ อยอาหาร (Digestion) ระบบย่อยอาหาร คือ กระบวนการที่ทาหน้าที่เปลี่ยน อาหารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ให้เป็ นสารอาหารที่มีโมเลกุลขนาด เล็ก จนร่ างกายสามารถนามาดูดซึมและใช้ประโยชน์ได้ ตัวอย่างอาหารและสารโมเลกุลเล็กที่ร่างกายดูดซึ มได้ เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน น้ าตาลโมเลกุลเดี่ยว กรดอะมิโน กลีเชอรอล กรดไขมัน ระบบย่ อยอาหาร 5
  • 6. อวัยวะในการย่ อยอาหารของคน แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน 1. อวัยวะที่เป็ นทางเดินอาหาร ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ทวารหนัก ลาไส้ใหญ่ ลาไส้เล็ก กากอาหาร ระบบย่ อยอาหาร 6
  • 7. อวัยวะในการย่ อยอาหารของคน 2. อวัยวะที่ช่วยย่ อยอาหาร แต่ ไม่ ใช่ ทางเดินอาหาร ตับ ระบบย่ อยอาหาร ถุงนาดี ้ ตับอ่ อน 7
  • 9. ประเภทของการย่ อยอาหาร 1. การย่อยเชิงกล (Mechanism digestion) คือ การย่อยโดยใช้แรงและการ บีบตัวของท่อทางเดินอาหาร เป็ นการบดให้ละเอียดหรื อให้มีขนาดเล็ก ลง โดยไม่ตองอาศัยเอนไซม์ จะพบในอวัยวะ เช่น ปาก หลอดอาหาร ้ ลาไส้ใหญ่ 2. การย่อยเชิงเคมี (Chemical digestion) คือ เป็ นการย่อยที่ตองอาศัย ้ เอนไซม์ (ใช้น้ าย่อย) ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี จะพบในอวัยวะ เช่น ปาก กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ระบบย่ อยอาหาร 9
  • 10. การย่ อยอาหารในปาก 1. ปาก (mouth) เป็ นอวัยวะแรกของระบบย่อยอาหาร ภายใน ประกอบด้วย ฟั น ทาหน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ลิน ทาหน้าที่ ้ ส่ งอาหารให้ฟันบดเคี้ยว และคลุกเคล้าอาหารให้อ่อนตัว ง่ายต่อการ บดเคี้ยวของฟัน ต่ อมนำลำย ทาหน้าที่ขบน้ าลายออกมาคลุกเคล้า ้ ั กับอาหาร ในน้ าลายมีเอนไซม์อะไมเลส ซึ่งสามารถย่อยแป้ งให้เป็ น น้ าตาล ดังนั้นเมื่อเราอมข้าวเปล่าไว้นาน ๆ จึงรู้สึกหวานนิด ๆ ระบบย่ อยอาหาร 10
  • 11. การย่ อยอาหารในปาก มีเฉพาะการย่ อยแป้ งเท่ านั้น ดังสมการ แป้ ง + นา ้ อะไมเลส เด็กซ์ ตริน + มอลโตส (แปงขนาดเล็ก) ้ ระบบย่ อยอาหาร (นาตาลโมเลกุลคู่) ้ 11
  • 12. การย่ อยอาหารในปาก  ปาก ( MOUTH )  มีการย่ อยอาหาร 2 แบบ คือ - การย่อยเชิงกล - การย่อยทางเคมี ระบบย่ อยอาหาร 12
  • 13. ฟันของคนเรามี 2 ชุด ฟันนานม มีท้งหมด 20 ซี่ ้ ั อยู่บนขากรรไกรบน 10 ซี่ ขากรรไกรล่ าง 10 ซี่ งอกขึนมา ้ หลังจากที่เด็กคลอดแล้ ว ช่ วง 6 เดือน และขึนครบอายุ 2 ปี ครึ่งอายุ ้ การใช้ งาน 10 ปี ระบบย่ อยอาหาร 13
  • 14. ฟันแท้ ( Permanent teeth ) ฟันแท้ มี 28 - 32 ซี่ แล้ วแต่ ว่า กรามหลัง ( molar ) จะขึนครบ ้ หรือไม่ ฟันแท้ จะอยู่บนขา กรรไกร บน 16 ซี่ ล่ าง 16 ซี่ สู ตรฟันแท้ = I C P M 2 1 2 3 -ICPM 2 1 2 3 ระบบย่ อยอาหาร 14
  • 15. หน้ าที่ของฟัน  ฟัน ใช้บดเคี้ยวอาหาร บดอาหาร ชิ้นใหญ่ให้มีขนาดเล็กลง  รักษารู ปใบหน้า เช่น ฟันเขี้ยว ทาให้ใบหน้าไม่บุ่ม  ช่วยในการออกเสี ยงให้ชดเจนยิงขึ้น เช่น ส ฟ ฝ ช ั ่ ระบบย่ อยอาหาร 15
  • 16. ลิน (Tongue) ้ เป็ นกล้ามเนื้อที่สามารถเคลื่อนที่ได้ อย่างคล่องแคล่วในหลายทิศทาง ทาหน้าที่ สาคัญ รับรสอาหาร เพราะมีต่อมรับรส (Taste Buds), ช่วยคลุกเคล้าอาหารให้ผสม กับน้ าลาย และตะล่อมให้อาหารเป็ นก้อน, ช่วยหน่วงเหนี่ยวอาหารไม่ให้ไหลผ่านคอ หอยเร็ วเกินไป, ช่วยในการกลืนอาหาร, ช่วย ในการพูด ทาให้พดชัดเจน ู ระบบย่ อยอาหาร 16
  • 17. การรับรสอาหารของลิน ้ ทาหน้ าที่ในการรับรสอาหาร เพราะทีลนมีปุ่ม ่ ิ้ รับรส เรียกว่ า Taste Buds อยู่ 4 ตาแหน่ ง คือ รสขม รสเค็ม รสหวาน รสเปรี้ยว ระบบย่ อยอาหาร อยู่บริเวณโคนลิน ้ อยู่บริเวณปลายลินและข้ างลิน ้ ้ อยู่บริเวณปลายลิน ้ อยู่บริเวณข้ างลิน ้ 17
  • 18. ต่ อมนาลาย ( salivary gland ) ้  เป็ นต่ อมมีท่อ ทาหน้ าที่ผลิตนาลายออกมาวันละประมาณ ้ 1 - 1.5 ลิตร ต่ อมนาลายของคนเรา มีอยู่ 3 คู่ ้  ต่ อมนาลายใต้ กกหู เป็ นต่ อมทีมีขนาดใหญ่ สุด หากมีเชื้อไวรัส ้ ่ เข้ าไปในต่ อมนีจะทาให้ เป็ นโรคคางทูม ้  ต่ อมนาลายใต้ ขากรรไกร มีลกษณะคล้ายรู ปไข่ ้ ั  ต่ อมนาลายใต้ ลน อยู่ระหว่ างด้ านในของกระดูกขากรรไกรล่ าง ้ ิ้ ระบบย่ อยอาหาร 18
  • 20. ส่ วนประกอบของนาลาย ้  มีค่า pH ระหว่าง 6.2 - 7.4 แต่มีประสิ ทธิ ภาพดี เมื่ออยู่ ในค่า pH 6.8  มีน้ าเป็ นองค์ประกอบ ประมาณ 97 - 99 %  มีของแข็งปนอยูเ่ ป็ น พวกฟอสเฟต  มีน้ าย่อยชื่อไทยาลิน หรื อ อะไมเลส ย่อยแป้ ง  มีสารเมือกช่วยในการหล่อลื่นอาหาร ระบบย่ อยอาหาร 20
  • 21. หน้ าที่ของนาลาย ้  ช่วยควบคุมปริ มาณน้ าในร่ างกาย  ย่อยอาหารจาพวกคาร์โบไฮเดรต  เป็ นตัวทาละลายอาหารทาให้อาหารอ่อนตัว  ไม่ให้ปากแห้งทาให้ปากเปี ยกชื้นเหมาะกับ การพูด  ช่วยในการเคลื่อนไหวของลิ้นขณะพูด ระบบย่ อยอาหาร 21
  • 22. กระบวนการย่ อยในปาก  เริ่ มต้นจากการเคี้ยวอาหารโดยการทางานร่ วมกันของ ฟัน ลิ้น และแก้ม ซึ่งถือเป็ นการย่อยเชิงกล ทาให้อาหารกลายเป็ นชิ้นเล็กๆ มีพ้ืนที่ผวสัมผัส ิ กับเอนไซม์ได้มากขึ้น  ในขณะเดียวกันต่อมน้ าลายก็จะหลังน้ าลายออกมาช่วยคลุกเคล้าให้อาหาร ่ เป็ นก้อนลื่นสะดวกต่อการกลืน  เอนไซม์ในน้ าลาย คือ ไทยาลิน หรื ออะไมเลสจะย่อยแป้ งในระยะเวลา ่ สั้นๆ ในขณะที่อยูในช่องปากให้กลายเป็ นเดกซ์ทริ น (Dextrin) ซึ่งเป็ น คาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลเล็กกว่าแป้ ง แต่ใหญ่กว่าน้ าตาล ระบบย่ อยอาหาร 22
  • 23. คอหอย หรือ Pharynx 2. คอหอย (pharynx) เป็ นท่ออยู่ ระหว่างด้านหลังของช่องปากและ หลอดลม บริ เวณนี้เป็ น จุดเชื่อม ระหว่างหลอดลมกับหลอดอาหาร โดยมีกลไกควบคุมการส่ งอาหาร หรื ออากาศคนละเวลากัน นอกจากนี้ ยังประกอบด้วยต่อมน้ าเหลือง 3 คู่ ่ อยูรอบ ๆ คอหอย มีหน้าที่ดกจับเชื้อ ั โรค เรี ยกว่า “ต่อมทอนซิล” (tonsil) ระบบย่ อยอาหาร 23
  • 24. 3. หลอดอาหาร (oesophagus) 3. หลอดอาหาร (oesophagus) เป็ น หลอดที่ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารที่ต่อ จากคอหอยไปยังกระเพาะอาหาร หลอดอาหารยาวประมาณ 25 cm. ไม่ มี ต่ อมสร้ ำงนำย่ อย หลอดอาหารจะรับ ้ อาหารจากคอหอยโดยการบีบรัดของ กล้ามเนื้อทางเดินอาหารเป็ นลูกคลื่น เรี ยกว่า เพอรี สตัลซีส (peristalsis)จาก บนลงล่างและไม่ มีกำรดูดซึ มอำหำร ระบบย่ อยอาหาร 24
  • 25. กระเพาะอาหาร (stomach) 4. กระเพาะอาหาร (stomach) ผลิต กรดไฮโดรคลอริ ก และน้ าย่อย อาหารประเภทโปรตีนมีลกษณะเป็ นถุง รู ปร่ าง ั คล้ายตัว J ปกติกระเพาะอาหารที่ไม่มีอาหาร จะมีขนาดประมาณ 50 มิลลิลิตร และสามารถ ขยายตัวเพื่อบรรจุอาหารได้ 1-1.5 ลิตร กระเพาะอาหารสามารถย่อยได้โดยการบีบตัว ทาให้อาหารแตกเป็ นชิ้นเล็กๆ คลุกเคล้ากับ น้ าย่อยในกระเพาะ ซึ่ งน้ าย่อยประกอบด้วย ่ กรดที่ใช้ยอยโปรตีนชื่อว่าเพปซิ นและเรนนิน ระบบย่ อยอาหาร 25
  • 26. การย่ อยในกระเพาะอาหาร  การย่อยเชิงกล เมื่ออาหารตกมาถึงกระเพาะ จะมีการหดตัวของกระเพาะเป็ นช่วง ๆ เรี ยก Peristalsis  การย่อยทางเคมี ส่ วนใหญ่เป็ นการย่อยโปรตีน เพปซิน โปรตีน เพปไทด์ ระบบย่ อยอาหาร 26
  • 27. การย่ อยในกระเพาะอาหาร มีการย่อยโปรตีนเป็ นโปรตีนโมเลกุลย่อย ซึ่งยังไม่สามารถดูดซึมเข้า สู่เซลล์ไปใช้ประโยชน์ได้ โปรตีน เคซีน เพปซิน pH 2 เรนนิน pH 2 เพปไทด์ พาราเคซีน (paracasein) เพปซิน เพปไทด์ ระบบย่ อยอาหาร 27
  • 29. วิธีททาให้ กระเพาะอาหารไม่ ถูกทาลาย ี่ - กินอาหารให้ตรงเวลา ไม่รับประทานอาหารรสจัด เช่น เปรี้ ยวจัด เค็มจัด เผ็ดจัด ไม่กินยาแก้ปวดขณะท้องว่าง ไม่ดื่มอาหารที่มีแอลกอฮอล์ พยายามทาจิตใจให้แจ่มใสและร่ าเริ งอยูเ่ สมอ ไม่เครี ยด หรื อ วิตกกังวลมากเกินไป - พักผ่อนให้เพียงพอ - ออกกาลังกายเป็ นประจาสม่าเสมอ ระบบย่ อยอาหาร 29
  • 30. ลาไส้เล็ก(Small Intestine) ลาไส้เล็ก (Small Intestine) เป็ นส่ วนที่ ยาวที่สุดของทางเดินอาหาร ต่อมาจาก กระเพาะอาหาร มีความยาวประมาณ 7-8 เมตร ขดไปมาในช่องท้อง ผนังด้าน ในของลาไส้เล็กมีลกษณะเป็ นลอนตาม ั ขวาง มีส่วนยืนเล็กๆมากมายเป็ นตุ่ม ่ เรี ยกว่า วิลลัส เพื่อเพิมพื้นที่ผวในการ ิ ่ ่ ดูดซึมสารอาหารที่ยอยแล้วได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ ระบบย่ อยอาหาร คาถาม..........วิลลัสในลาไส้ เล็กมีเพือทาหน้ าที่อะไร ่ 30
  • 31. ลาไส้เล็ก(Small Intestine) แบ่ งเป็ น 3 ส่ วน คือ อวัยวะส่ วนต้ น 1. ดูโอดีนัม (Duodenum) เป็ นลาไส้ เล็กส่ วนต้ น ยาวประมาณ 25-30 เซนติเมตรรู ปร่ าง เป็ นตัวยู อยู่ต่อจากกระเพาะอาหาร เป็ นบริเวณทีมสารเคมีหลายชนิด เช่ น ่ ี Pancreatic Juice เป็ นนาย่อยที่สร้ างจากตับอ่อน, นาดี (Bile) สร้ างจากตับ, ้ ้ Intestinal Juice เป็ นนาย่ อยทีสร้ างจากกผนังลาไส้ เล็กของดูโอดีนัม จัดเป็ นส่ วนที่ ้ ่ มีการย่ อยอาหารเกิดขึ้นมากทีสุด ่ 2. เจจนัม (Jejunum) เป็ นส่ วนที่ต่อจาก Duodenum ยาวประมาณ 2 ใน 5 หรือ ู ประมาณ 2.50 เมตร เป็ นส่ วนที่มีการดดซึมอาหารมากทีสุด ่ ู 3. ไอเลียม (Ileum) เป็ นลาไส้ เล็กส่ วนสุ ดท้ าย ปลายสุ ดของ Ileum ต่ อกับลาไส้ ใหญ่ มี ขนาดเล็กและยาวทีสุดประมาณ 4.3 เมตร ่ ระบบย่ อยอาหาร 31
  • 32. นาดีจากตับ ้  มีสีเขียว รสขม มีภาวะเป็ นเบส ช่วยลดความเป็ นกรดของอาหารที่ ผ่านมาจากกระเพาะอาหาร  ทาให้ไขมันแตกตัวเป็ นเม็ดเล็กๆ เพื่อให้เอนไซม์ไลเพสย่อยได้ง่ายขึ้น ไขมันธรรมดา นาดี ้ ไขมันแตกตัว ไลเพส (emulsified fat) กรดไขมัน + กลีเซอรอล ่ ถุงนาดี ทาหน้าที่ในการเก็บน้ าดี ดังนั้นผูป่วยที่ผาตัดถุงน้ าดีจึงควรงด ้ ้ รับประทานอาหารจาพวกไขมัน ระบบย่ อยอาหาร 32
  • 33. ชนิดของนาย่ อยในลาไส้ เล็ก ้ 1.น้าย่อยจากตับอ่ อน 2. น้าดี สร้ างจากตับ 3. น้าย่อยที่ลาไส้ เล็ก สร้ างขึ้นเอง - อะไมเลส ช่ วยย่อยแปง ้ เป็ นนาตาลมอลโทส ้ - ลิเพส ย่อยไขมันหรือ นามันเป็ นกรดไขมันและกลี ้ เซอรอล - ทริปซินย่อยโปรตีนเป็ น เพปไทด์ มีสีเขียว รสขม มีสมบัติเป็ น เบส ช่ วยลดความเป็ นกรด ของอาหารทีผ่านมาจาก ่ กระเพาะอาหาร และช่ วยใน การย่อยสลายอาหารจาพวก ไขมันให้ เกิดการแตกตัวเป็ น โมเลกุลทีเ่ ล็กลงเพือง่ ายต่ อ ่ การย่อยต่ อไป - อะไมเลส ช่ วยย่ อยแป้ งเป็ น นาตาลมอลโทส ้ - มอลเทส ย่ อยมอลโทสให้ เป็ น นาตาลกลูโคส ้ - ซูเครส ย่ อยนาตาลซู โครสให้ ้ เป็ นกลูโคสและฟรักโทส - แลกเทส ย่ อยนาตาลแลกโทส ้ ให้ เป็ นกลูโคสและกาแลกโทส - เพปติเดส ย่ อยพอลิเทปไทด์ ให้ เป็ นกรดอะมิโน ระบบย่ อยอาหาร 33
  • 34. ลาไส้ใหญ่ (Large Intestine) ลาไส้ใหญ่ (Large Intestine) มีหน้าที่ดูดซึมน้ า แร่ ธาตุ วิตามิน บางชนิดและกลูโคสเข้าสู่กระแส เลือดซึ่งส่ วนใหญ่จะเป็ นน้ า จากนั้น ลาไส้ใหญ่จะบีบตัวเพื่อให้กาก อาหารที่ไม่มีประโยชน์แล้ว เรี ยกว่า อุจจาระ ออกสู่ภายนอกร่ างกายทาง ทวารหนัก (Rectum) ในลาไส้ใหญ่ จะไม่ มีกำรย่ อยอำหำร ระบบย่ อยอาหาร 34
  • 35. ตารางสรุปการย่ อยอาหารเชิงเคมีโดยใช้ นาย่ อย ้ อวัยวะที่ย่อย เอนไซม์ ปาก กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก อะไมเลส เพปซิน ลิเพส เพปซิน อะไมเลส มอลเตส ซูเครส แลกเทส สารทีถูกย่ อย ่ ผลที่ได้ จากการย่ อย แป้ ง โปรตีน ไขมัน,น้ ามัน เพปไทด์ แป้ ง น้ าตาลมอลโทส น้ าตาลซูโครส น้ าตาลแลกโทส น้ าตาลมอลโทส เพปไทด์ กรดไขมันและกลีเซอรอล กรดอะมิโน น้ าตาลมอลโทส น้ าตาลกลูโคส+น้ าตาลกลูโคส น้ าตาลกลูโคส+น้ าตาลฟรักโทส น้ าตาลกลูโคส+น้ าตาลกาแลกโทส  เอนไซม์ในปาก จะทางานได้ดี ในสภาพเป็ นเบสอ่อน  เอนไซม์ในกระเพาะอาหาร จะทางานได้ดีในสภาพเป็ นกรด  เอนไซม์ในสาไส้เล็ก จะทางานได้ดีในสภาพเบส ระบบย่ อยอาหาร 35
  • 36. สรุปลาดับขั้นการย่ อยอาหาร คาร์โบไฮเดรต ถูกย่อยเป็ นอันดับแรกในปาก โปรตีน ถูกย่อยเป็ นอันดับแรกในกระเพาะอาหาร ไขมัน ถูกย่อยเป็ นอันดับแรกในลาไส้เล็ก ในลาไส้ เล็กมีการย่ อยอาหารทั้ง คาร์ โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน ระบบย่ อยอาหาร 36
  • 37. คาถามทบทวนความร้ ู 1. 2. 3. 4. 5. การย่อยอาหารมีกี่ประเภท อะไรบ้าง? อาหารที่เรารับประทานเข้าไปจะต้องผ่านการย่อยที่อวัยวะส่ วนใดบ้าง? เอนไซม์น้ าลายทาหน้าที่อะไร? สารอาหารประเภทใดไม่ถูกย่อยในกระเพาะอาหาร อวัยวะส่ วนใดในระบบทางเดินอาหารที่ไม่มีหน้าที่ในการย่อยอาหาร ระบบย่ อยอาหาร 37