SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนไหวแบบอะมีบา (Amoeboid Movement) เกิดจากการแปรสภาพกลับไปมาของเอ็กโท-
พลาซึม (Ectoplasm) ซึ่งมีลักษณะขนหนืดกับเอนโดพลาซึม (Endoplasm) ซึ่งมีลักษณะเหลวและไหลได โดย
การหดและคลายตัวของเสนใยโปรตีนในไซโทพลาซึม คือ ไมโครฟลาเมนต (Microfilament) ซึ่งประกอบดวย
แอกทิน (Actin) และไมโอซิน (Myosin) ทําใหเกิด เทาเทียม (Pseudopodium) ยื่นออกมา พบในโพรติสตหลาย
ชนิด เชน อะมีบา (Amoeba) อารเซลลา (Arcella) ดิฟฟลูเกีย (Difflugia) ฟอรามินิเฟอรา (Foraminifera) นอก
จากนี้ยังพบในราเมือก (Slime Mold) เซลลอะมีโบไซต (Amoebocyte) ของฟองน้ํา เซลลเม็ดเลือดขาวของมนุษย
เปนตน
การเคลื่อนไหวโดยใชแฟลเจลลัม (Flagellum) พบในพวกยูกลีนา (Euglena) เซอราเทียม (Ceratium)
วอลวอกซ (Volvox) คลามิโดโมแนส (Chlamydomonas) ทริปพาโนโซมา (Trypanosoma) ฯลฯ
แฟลเจลลัมโบกพัดจากโคนไปสูปลาย ทําใหแฟลเจลลัมเคลื่อนไหวแบบลูกคลื่นและเกิดแรงผลักให
โพรทิสตเคลื่อนที่ไปยังทิศตางๆ ได
โครงสรางภายในประกอบดวย ไมโครทิวบูล (Microtubule) เรียงตัวแบบ 9 + 2 (อยูตรงแกนกลาง
2 หลอด ลอมรอบดวยไมโครทิวบูลที่อยูกันเปนคูเรียงโดยรอบ 9 คู)
การเคลื่อนไหวโดยใชซิเลีย (Cilia) พบในพวกพารามีเซียม (Paramecium) วอรติเซลลา (Vorticella)
ดิดิเนียม (Didinium) ฯลฯ
การโบกพัดกลับไปมาของซิเลียคลายกรรเชียงเรือ ทําใหโพรทิสตเคลื่อนที่ไดทุกทิศทาง
โครงสรางภายในประกอบดวยไมโครทิวบูลเรียงตัวแบบ 9 + 2 เชนเดียวกับแฟลเจลลัม
การเคลื่อนไหวของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง มีรูปแบบแตกตางกันดังนี้
แมงกะพรุน (Jelly Fish) เคลื่อนที่โดยการหดตัวของเนื้อเยื่อบริเวณของกระดิ่งและผนังลําตัว ทําให
เกิดการพนน้ําออกจากลําตัว เกิดแรงดันใหเคลื่อนที่ในทิศทางตรงขามกับทิศทางที่น้ําพนออกมา
พลานาเรีย (Planaria) เคลื่อนที่โดยอาศัยการหดและคลายตัวสลับกันของกลามเนื้อวงกลม
(Circular muscle) และกลามเนื้อตามยาว (Longitudinal Muscle) และมีกลามเนื้อยืดระหวางสวนบนกับสวน
ลางของลําตัว (Dorsoventral Muscle) ชวยทําใหลําตัวแบบพลิ้วไปในน้ํา
ไสเดือนดิน (Earth Worm) เคลื่อนที่โดยการหดและคลายตัวสลับกันแบบแอนตาโกนิซึม
(Antagonism) ของกลามเนื้อวงกลม ซึ่งอยูชั้นนอก และกลามเนื้อตามยาวซึ่งอยูชั้นในโดยแตละปลองมีเดือย
(Setae) ชวยยึดพื้น ทําใหการเคลื่อนที่มีทิศทางแนนอน
หอยฝาเดียว (Gastropods) เคลื่อนที่โดยใชเทา (Foot) ซึ่งเปนกลามเนื้อหนาและแบนอยูดานทอง
สวนหอยสองฝา (Bivalves) นอกจากเคลื่อนที่โดยใชเทาซึ่งเปนกลามเนื้อยื่นออกมาเพื่อคืบคลานแลว ยังวายน้ํา
โดยการปดเปดฝาสลับกันอีกดวย
หมึก (Squid) เคลื่อนที่โดยการหดตัวของกลามเนื้อรอบทอพนน้ํา ซึ่งเรียกวา “ไซฟอน (Siphon)”
ทําใหน้ําถูกพนออกมาเกิดแรงดันใหหมึกเคลื่อนที่ไปในทิศตรงกันขาม
สรุปเนื้อหาเตรียมสอบ วิชาชีววิทยา รหัสวิชา วสรุปเนื้อหาเตรียมสอบ วิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว3024330243
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 55
บทที่บทที่ 77 การการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนไหวของมนุษย ตองอาศัยการทํางานรวมกันของระบบอวัยวะดังตอไปนี้
ระบบโครงกระดูก กระดูกมนุษยมีทั้งหมด 206 ชิ้น แบงออกเปน
ระบบโครงกระดูก
1. กระดูกแกน (Axial Skeleton) เปนโครงกระดูกแกนกลางของรางกาย มี 80 ชิ้น ไดแก
กะโหลกศีรษะ (Skull) 29 ชิ้น
กระดูกสันหลัง (Vertebrae) 26 ชิ้น ประกอบดวย
- กระดูกสันหลังบริเวณคอ (Cervical Vertebrae) 7 ชิ้น
- กระดูกสันหลังหลังบริเวณอก (Thoracic Vertebrae) 12 ชิ้น
- กระดูกสันหลังบริเวณสะเอว (Lumbar Vertebrae) 5 ชิ้น
- กระดูกกระเบนเหน็บ (Sacrum) 1 ชิ้น
- กระดูกกนกบ (Coccyx) 1 ชิ้น
2. กระดูกรยางค (Appendicular Skeleton) เชื่อมตอกับกระดูกแกนมี 126 ชิ้น ไดแก
กระดูกแขน (2 ขาง รวม 60 ชิ้น) ประกอบดวย
- กระดูกตนแขน (Humerus) - กระดูกปลายแขนทอนนอก (Radius)
- กระดูกปลายแขนทอนใน (Ulna) - กระดูกขอมือ (Carpals)
- กระดูกฝามือ (Metacarpals) - กระดูกนิ้วมือ (Phalanges)
กระดูกขา (2 ขางรวม 60 ชิ้น) ประกอบดวย
- กระดูกโคนขา (Femur) - กระดูกสะบา (Patella)
- กระดูกหนาแขง (Tibia) - กระดูกนอง (Fibula)
- กระดูกขอเทา (Tarsals) - กระดูกฝาเทา (Metatarsals)
- กระดูกนิ้วเทา (Phalanges)
กระดูกไหปลารา (Clavicle) 2 ชิ้น
กระดูกสะบัก (Scapula) 2 ชิ้น
กระดูกเชิงกราน (Pelvic Girdle) 2 ชิ้น
ระบบกลามเนื้อ รางกายมนุษยประกอบดวยกลามเนื้อมากกวา 500 มัด แบงออกเปน 3 ประเภท คือ
1. กลามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle)
เซลลมีรูปรางเรียว หัวทายแหลม มี 1 นิวเคลียส เห็นเดนชัด
อยูนอกอํานาจจิตใจ (Involuntary Muscle)
การหดและคลายตัวเกิดชาๆ พบในอวัยวะภายใน เชน ระบบยอยอาหาร ระบบขับถาย ระบบสืบพันธุ
และหลอดเลือด
2. กลามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle)
เซลลมีหลายนิวเคลียส มักแยกเปน 2 แฉกเรียงติดตอกับแฉกของเซลลอื่นๆ ดูคลายรางแห เห็น
เปนลาย
อยูนอกอํานาจจิตใจ
ทํางานติดตอกันตลาดเวลา พบเฉพาะที่หัวใจเทานั้น
3. กลามเนื้อลาย (Striated Muscle)
เซลลมีหลายนิวเคลียส ลักษณะเปนเสนใยคลายทรงกระบอกยาว
อยูในอํานาจจิตใจ (Voluntary Muscle) สั่งงานได โดยการควบคุมของระบบประสาทสวนกลาง
พบมากที่สุดในรางกายโดยยึดเกาะกับกระดูก ทําใหเกิดการเคลื่อนไหวได
ระบบกลามเนื้อลาย
การเคลื่อนไหวของสัตว
แอนทาโกนิซึม (Antagonism) หมายถึง การทํางานรวมกันของกลามเนื้อ 2 ชุด แบบตรงกันขาม โดย
ถาชุดหนึ่งหดตัว (Contraction) อีกชุดหนึ่งจะคลายตัว (Relax) เชน การงอแขน หรือการงอขา เกิดจาก
กลามเนื้อเฟลกเซอร (Flexor) หดตัว กลามเนื้อเอกซเทนเซอร (Extensor) คลายตัว
ระบบกลามเนื้อ
A B
C
รูปที่ 1 A กลามเนื้อลายที่ยึดติดกับกระดูก กลามเนื้อ Biceps จะยึดติดกับกระดูก Scapula โดยมีเอ็น
(Tendon) ที่เปนกลามเนื้อเกี่ยวพัน
B ลักษณะของกลามเนื้อลาย ประกอบดวยเสนใยกลามเนื้อ (Muscle fiber) ที่มี Myofibril เล็กๆ ที่ยืด
หดได Myofibril ประกอบดวยไมโครฟลาเมนท
C การควบคุมการทํางานแบบ Antagonism
รูปที่ 2 ลักษณะของกลามเนื้อลายที่มีโปรตีนไมโอซินและแอกติน
ประเภทของกลามเนื้อ
สิ่งเปรียบเทียบ กลามเนื้อลาย กลามเนื้อเรียบ กลามเนื้อหัวใจ
1. รูปรางและลักษณะของ
เซลล
ทรงกระบอกกลมยาว มีลาย ยาวเรียว คลายกระสวย ทรงกระบอกสั้นและมีลาย
พาดขวางเปนระยะๆ
2. จํานวนนิวเคลียสตอ
เซลล และตําแหนง
มีมากกวา 1 และอยูดานขาง
เซลล
1 นิวเคลียส อยูกลางๆ เซลล
3. โปรตีนสําคัญที่เปน
องคประกอบ
แอกทินและไมโอซิน แตการจัดเรียงโครงสรางตางกัน
4. การควบคุมการทํางาน อยูใตอํานาจจิตใจ
(Voluntary)
อยูนอกอํานาจจิตใจ (Involuntary)
5. ปริมาณในรางกาย มากที่สุด รองลงมา นอยที่สุด
6. ตําแหนงที่พบ เกาะยึดกับกระดูก โคนขน และองคประกอบ
ของผนังอวัยวะภายใน
ผนังของหัวใจ
7. ลักษณะการทํางาน หดตัวไดแรงและคลายตัว
ไดเร็ว เหมาะตอการ
เคลื่อนไหวที่รวดเร็วและ
การใชกําลัง
หดตัวและคลายตัวชาๆ หดตัวและคลายตัวเปน
จังหวะตอเนื่องตลอดชีวิต
8. ความตองการพลังงาน
ในการทํางาน
มาก (หายใจแบบไมใช O2
ขณะทํางาน)
นอย
(เฉพาะการหายใจแบบใช O2)
สูงสุด
(มีไมโทคอนเดรียมากที่สุด)
โครงสรางและการทํางานของกลามเนื้อลาย
เซลลกลามเนื้อลายประกอบดวยนิวเคลียสมากกวา 1 อัน และอยูขางๆ เซลล ในสวนไซโทพลาซึม
ประกอบดวย ไมโอไฟบริล (Myofibril) โดยในแตละไมโอไฟบริลประกอบดวย Thick filament ซึ่งมี Microfilament
ที่เรียกวา Myosin และ Thin filament ซึ่งมี Microfilament ที่เรียกวา Actin ถาพิจารณาภาคตัดขวางจะพบวา
ไมโอซิน 1 ใย ลอมรอบดวยแอกทิน 6 ใย มีลักษณะเปนรูป 6 เหลี่ยม
ในไมโอไฟบริลนั้น ชวงความยาวจาก Z-disc หนึ่งไปยังอีก Z-disc หนึ่ง เรียกวา Sarcomere โดยในแตละ
Sarcomere จะมี A-band ซึ่งมีชวงเทากับความยาวของไมโอซิน ซึ่งใน A-band จะมีไมโอซินกับแอกทินซอนกัน
สวนบริเวณกลางๆ ของ A-band ที่มีเฉพาะไมโอซิน เรียก H-band สําหรับชวงที่มีเฉพาะแอกทินอยางเดียวเรียก
I-band
รูปที่ 3 (A) โครงสรางของ Sarcomere (โครงสรางที่ประกอบดวย Z line หนึ่งถึงอีก Z line หนึ่ง) เปน
โครงสรางที่จะมีการหดตัว ; (B) Thin filament (แอกทิน) อยูติดกับ Z line สวน Thick filament (ไมโอซิน) อยู
ระหวางแอกทิน I band ประกอบดวย filament และ Z line, A band ประกอบดวย Thin (บางสวน) และ
Thick filament, H zone ประกอบดวย Thick filament เทานั้น โดยยึดติดกับ M line ; (C) เปนสวนของ
Sarcomere ที่หดตัวได โดยการเลื่อนตัวของ Thin filament สูตรงกลาง I brand หายไปในที่สุด

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตPodjaman Jongkaijak
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตtarcharee1980
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์zidane36
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อOui Nuchanart
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 

What's hot (20)

การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Body
BodyBody
Body
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 

Similar to Unit 7

การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdomIssara Mo
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdomIssara Mo
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...kasidid20309
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)pitsanu duangkartok
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่Thanyamon Chat.
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.itualeksuriya
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 

Similar to Unit 7 (20)

การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
B08
B08B08
B08
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Cell
CellCell
Cell
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 

Unit 7

  • 1. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต การเคลื่อนไหวแบบอะมีบา (Amoeboid Movement) เกิดจากการแปรสภาพกลับไปมาของเอ็กโท- พลาซึม (Ectoplasm) ซึ่งมีลักษณะขนหนืดกับเอนโดพลาซึม (Endoplasm) ซึ่งมีลักษณะเหลวและไหลได โดย การหดและคลายตัวของเสนใยโปรตีนในไซโทพลาซึม คือ ไมโครฟลาเมนต (Microfilament) ซึ่งประกอบดวย แอกทิน (Actin) และไมโอซิน (Myosin) ทําใหเกิด เทาเทียม (Pseudopodium) ยื่นออกมา พบในโพรติสตหลาย ชนิด เชน อะมีบา (Amoeba) อารเซลลา (Arcella) ดิฟฟลูเกีย (Difflugia) ฟอรามินิเฟอรา (Foraminifera) นอก จากนี้ยังพบในราเมือก (Slime Mold) เซลลอะมีโบไซต (Amoebocyte) ของฟองน้ํา เซลลเม็ดเลือดขาวของมนุษย เปนตน การเคลื่อนไหวโดยใชแฟลเจลลัม (Flagellum) พบในพวกยูกลีนา (Euglena) เซอราเทียม (Ceratium) วอลวอกซ (Volvox) คลามิโดโมแนส (Chlamydomonas) ทริปพาโนโซมา (Trypanosoma) ฯลฯ แฟลเจลลัมโบกพัดจากโคนไปสูปลาย ทําใหแฟลเจลลัมเคลื่อนไหวแบบลูกคลื่นและเกิดแรงผลักให โพรทิสตเคลื่อนที่ไปยังทิศตางๆ ได โครงสรางภายในประกอบดวย ไมโครทิวบูล (Microtubule) เรียงตัวแบบ 9 + 2 (อยูตรงแกนกลาง 2 หลอด ลอมรอบดวยไมโครทิวบูลที่อยูกันเปนคูเรียงโดยรอบ 9 คู) การเคลื่อนไหวโดยใชซิเลีย (Cilia) พบในพวกพารามีเซียม (Paramecium) วอรติเซลลา (Vorticella) ดิดิเนียม (Didinium) ฯลฯ การโบกพัดกลับไปมาของซิเลียคลายกรรเชียงเรือ ทําใหโพรทิสตเคลื่อนที่ไดทุกทิศทาง โครงสรางภายในประกอบดวยไมโครทิวบูลเรียงตัวแบบ 9 + 2 เชนเดียวกับแฟลเจลลัม การเคลื่อนไหวของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง มีรูปแบบแตกตางกันดังนี้ แมงกะพรุน (Jelly Fish) เคลื่อนที่โดยการหดตัวของเนื้อเยื่อบริเวณของกระดิ่งและผนังลําตัว ทําให เกิดการพนน้ําออกจากลําตัว เกิดแรงดันใหเคลื่อนที่ในทิศทางตรงขามกับทิศทางที่น้ําพนออกมา พลานาเรีย (Planaria) เคลื่อนที่โดยอาศัยการหดและคลายตัวสลับกันของกลามเนื้อวงกลม (Circular muscle) และกลามเนื้อตามยาว (Longitudinal Muscle) และมีกลามเนื้อยืดระหวางสวนบนกับสวน ลางของลําตัว (Dorsoventral Muscle) ชวยทําใหลําตัวแบบพลิ้วไปในน้ํา ไสเดือนดิน (Earth Worm) เคลื่อนที่โดยการหดและคลายตัวสลับกันแบบแอนตาโกนิซึม (Antagonism) ของกลามเนื้อวงกลม ซึ่งอยูชั้นนอก และกลามเนื้อตามยาวซึ่งอยูชั้นในโดยแตละปลองมีเดือย (Setae) ชวยยึดพื้น ทําใหการเคลื่อนที่มีทิศทางแนนอน หอยฝาเดียว (Gastropods) เคลื่อนที่โดยใชเทา (Foot) ซึ่งเปนกลามเนื้อหนาและแบนอยูดานทอง สวนหอยสองฝา (Bivalves) นอกจากเคลื่อนที่โดยใชเทาซึ่งเปนกลามเนื้อยื่นออกมาเพื่อคืบคลานแลว ยังวายน้ํา โดยการปดเปดฝาสลับกันอีกดวย หมึก (Squid) เคลื่อนที่โดยการหดตัวของกลามเนื้อรอบทอพนน้ํา ซึ่งเรียกวา “ไซฟอน (Siphon)” ทําใหน้ําถูกพนออกมาเกิดแรงดันใหหมึกเคลื่อนที่ไปในทิศตรงกันขาม สรุปเนื้อหาเตรียมสอบ วิชาชีววิทยา รหัสวิชา วสรุปเนื้อหาเตรียมสอบ วิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว3024330243 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 55 บทที่บทที่ 77 การการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
  • 2. การเคลื่อนไหวของมนุษย ตองอาศัยการทํางานรวมกันของระบบอวัยวะดังตอไปนี้ ระบบโครงกระดูก กระดูกมนุษยมีทั้งหมด 206 ชิ้น แบงออกเปน ระบบโครงกระดูก 1. กระดูกแกน (Axial Skeleton) เปนโครงกระดูกแกนกลางของรางกาย มี 80 ชิ้น ไดแก กะโหลกศีรษะ (Skull) 29 ชิ้น กระดูกสันหลัง (Vertebrae) 26 ชิ้น ประกอบดวย - กระดูกสันหลังบริเวณคอ (Cervical Vertebrae) 7 ชิ้น - กระดูกสันหลังหลังบริเวณอก (Thoracic Vertebrae) 12 ชิ้น - กระดูกสันหลังบริเวณสะเอว (Lumbar Vertebrae) 5 ชิ้น - กระดูกกระเบนเหน็บ (Sacrum) 1 ชิ้น - กระดูกกนกบ (Coccyx) 1 ชิ้น 2. กระดูกรยางค (Appendicular Skeleton) เชื่อมตอกับกระดูกแกนมี 126 ชิ้น ไดแก กระดูกแขน (2 ขาง รวม 60 ชิ้น) ประกอบดวย - กระดูกตนแขน (Humerus) - กระดูกปลายแขนทอนนอก (Radius) - กระดูกปลายแขนทอนใน (Ulna) - กระดูกขอมือ (Carpals) - กระดูกฝามือ (Metacarpals) - กระดูกนิ้วมือ (Phalanges) กระดูกขา (2 ขางรวม 60 ชิ้น) ประกอบดวย - กระดูกโคนขา (Femur) - กระดูกสะบา (Patella) - กระดูกหนาแขง (Tibia) - กระดูกนอง (Fibula) - กระดูกขอเทา (Tarsals) - กระดูกฝาเทา (Metatarsals) - กระดูกนิ้วเทา (Phalanges) กระดูกไหปลารา (Clavicle) 2 ชิ้น กระดูกสะบัก (Scapula) 2 ชิ้น กระดูกเชิงกราน (Pelvic Girdle) 2 ชิ้น
  • 3. ระบบกลามเนื้อ รางกายมนุษยประกอบดวยกลามเนื้อมากกวา 500 มัด แบงออกเปน 3 ประเภท คือ 1. กลามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle) เซลลมีรูปรางเรียว หัวทายแหลม มี 1 นิวเคลียส เห็นเดนชัด อยูนอกอํานาจจิตใจ (Involuntary Muscle) การหดและคลายตัวเกิดชาๆ พบในอวัยวะภายใน เชน ระบบยอยอาหาร ระบบขับถาย ระบบสืบพันธุ และหลอดเลือด 2. กลามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle) เซลลมีหลายนิวเคลียส มักแยกเปน 2 แฉกเรียงติดตอกับแฉกของเซลลอื่นๆ ดูคลายรางแห เห็น เปนลาย อยูนอกอํานาจจิตใจ ทํางานติดตอกันตลาดเวลา พบเฉพาะที่หัวใจเทานั้น 3. กลามเนื้อลาย (Striated Muscle) เซลลมีหลายนิวเคลียส ลักษณะเปนเสนใยคลายทรงกระบอกยาว อยูในอํานาจจิตใจ (Voluntary Muscle) สั่งงานได โดยการควบคุมของระบบประสาทสวนกลาง พบมากที่สุดในรางกายโดยยึดเกาะกับกระดูก ทําใหเกิดการเคลื่อนไหวได ระบบกลามเนื้อลาย
  • 4. การเคลื่อนไหวของสัตว แอนทาโกนิซึม (Antagonism) หมายถึง การทํางานรวมกันของกลามเนื้อ 2 ชุด แบบตรงกันขาม โดย ถาชุดหนึ่งหดตัว (Contraction) อีกชุดหนึ่งจะคลายตัว (Relax) เชน การงอแขน หรือการงอขา เกิดจาก กลามเนื้อเฟลกเซอร (Flexor) หดตัว กลามเนื้อเอกซเทนเซอร (Extensor) คลายตัว ระบบกลามเนื้อ A B C รูปที่ 1 A กลามเนื้อลายที่ยึดติดกับกระดูก กลามเนื้อ Biceps จะยึดติดกับกระดูก Scapula โดยมีเอ็น (Tendon) ที่เปนกลามเนื้อเกี่ยวพัน B ลักษณะของกลามเนื้อลาย ประกอบดวยเสนใยกลามเนื้อ (Muscle fiber) ที่มี Myofibril เล็กๆ ที่ยืด หดได Myofibril ประกอบดวยไมโครฟลาเมนท C การควบคุมการทํางานแบบ Antagonism
  • 5. รูปที่ 2 ลักษณะของกลามเนื้อลายที่มีโปรตีนไมโอซินและแอกติน ประเภทของกลามเนื้อ สิ่งเปรียบเทียบ กลามเนื้อลาย กลามเนื้อเรียบ กลามเนื้อหัวใจ 1. รูปรางและลักษณะของ เซลล ทรงกระบอกกลมยาว มีลาย ยาวเรียว คลายกระสวย ทรงกระบอกสั้นและมีลาย พาดขวางเปนระยะๆ 2. จํานวนนิวเคลียสตอ เซลล และตําแหนง มีมากกวา 1 และอยูดานขาง เซลล 1 นิวเคลียส อยูกลางๆ เซลล 3. โปรตีนสําคัญที่เปน องคประกอบ แอกทินและไมโอซิน แตการจัดเรียงโครงสรางตางกัน 4. การควบคุมการทํางาน อยูใตอํานาจจิตใจ (Voluntary) อยูนอกอํานาจจิตใจ (Involuntary) 5. ปริมาณในรางกาย มากที่สุด รองลงมา นอยที่สุด 6. ตําแหนงที่พบ เกาะยึดกับกระดูก โคนขน และองคประกอบ ของผนังอวัยวะภายใน ผนังของหัวใจ 7. ลักษณะการทํางาน หดตัวไดแรงและคลายตัว ไดเร็ว เหมาะตอการ เคลื่อนไหวที่รวดเร็วและ การใชกําลัง หดตัวและคลายตัวชาๆ หดตัวและคลายตัวเปน จังหวะตอเนื่องตลอดชีวิต 8. ความตองการพลังงาน ในการทํางาน มาก (หายใจแบบไมใช O2 ขณะทํางาน) นอย (เฉพาะการหายใจแบบใช O2) สูงสุด (มีไมโทคอนเดรียมากที่สุด)
  • 6. โครงสรางและการทํางานของกลามเนื้อลาย เซลลกลามเนื้อลายประกอบดวยนิวเคลียสมากกวา 1 อัน และอยูขางๆ เซลล ในสวนไซโทพลาซึม ประกอบดวย ไมโอไฟบริล (Myofibril) โดยในแตละไมโอไฟบริลประกอบดวย Thick filament ซึ่งมี Microfilament ที่เรียกวา Myosin และ Thin filament ซึ่งมี Microfilament ที่เรียกวา Actin ถาพิจารณาภาคตัดขวางจะพบวา ไมโอซิน 1 ใย ลอมรอบดวยแอกทิน 6 ใย มีลักษณะเปนรูป 6 เหลี่ยม ในไมโอไฟบริลนั้น ชวงความยาวจาก Z-disc หนึ่งไปยังอีก Z-disc หนึ่ง เรียกวา Sarcomere โดยในแตละ Sarcomere จะมี A-band ซึ่งมีชวงเทากับความยาวของไมโอซิน ซึ่งใน A-band จะมีไมโอซินกับแอกทินซอนกัน สวนบริเวณกลางๆ ของ A-band ที่มีเฉพาะไมโอซิน เรียก H-band สําหรับชวงที่มีเฉพาะแอกทินอยางเดียวเรียก I-band รูปที่ 3 (A) โครงสรางของ Sarcomere (โครงสรางที่ประกอบดวย Z line หนึ่งถึงอีก Z line หนึ่ง) เปน โครงสรางที่จะมีการหดตัว ; (B) Thin filament (แอกทิน) อยูติดกับ Z line สวน Thick filament (ไมโอซิน) อยู ระหวางแอกทิน I band ประกอบดวย filament และ Z line, A band ประกอบดวย Thin (บางสวน) และ Thick filament, H zone ประกอบดวย Thick filament เทานั้น โดยยึดติดกับ M line ; (C) เปนสวนของ Sarcomere ที่หดตัวได โดยการเลื่อนตัวของ Thin filament สูตรงกลาง I brand หายไปในที่สุด