SlideShare a Scribd company logo
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง เรื่อง ใบย่านางผง จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาวิธการผลิต
ใบย่านางผง ไว้ใช้ในการประกอบอาหารและใช้เป็นเครื่องดื่มสมุนไพร คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่ง
ว่าโครงงานนี้คงจะมีประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ และเป็นแนวคิดในการผลิตใบย่าผงขึ้นมา เพื่อใช้ได้สะดวก
รวดเร็วยิ่งขึ้น หากการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้มีข้อบกพร่องประการใดไก้โปรดชี้แนะ
เพื่อจะได้นามาปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ขอขอบพระคุณ นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล ครูโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม และ
นางสาวลลิตา ผ่องผิว คุณครูฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่ให้คาปรึกษาการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
ในครั้งนี้ให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ขอขอบคุณ ไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทาโครงงาน
ชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ ใบย่านางผง
คณะผู้จัดทา 1. เด็กหญิงกัญญารัตน์ ทรายคา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1
2. เด็กหญิงไพริน พรมแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1
3. เด็กหญิงอนุลักษณ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1
โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์
ครูที่ปรึกษา 1. นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล
2. นางสาวลลิตา ผ่องผิว
บทคัดย่อ
จากพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรื่อง การใช้ชีวิตแบบพอเพียง ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการกินและอยู่อย่างพอเพียงนั้น และจากการศึกษาสรรพคุณของ
ใบย่านาง มีช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยและการแก่ชรา และยังว่าเป็นยาอายุวัฒนะ เหมาะสาหรับ
ทุกเพศทุกวัย ก่อให้เกิดแนวคิดในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง เรื่อง ใบย่านางผง
โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาวิธีการผลิตใบย่านางผง ไว้ประกอบอาหารและเป็นเครื่องดื่มสมุนไพรไว้
ใช้เองในบ้าน และ ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน
การทดลองครั้งนี้ แบ่งการทดลอง ออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ศึกษาวิธีการผลิตผง
สมุนไพร ตอนที่ 2 หาอัตราส่วนที่เหมาะสมของผงสมุนไพร ผลการทดลองพบว่า ใบย่านางสามารถ
นามาทาให้เป็นผงได้โดยผสมกับน้าตาลทรายขาว และอัตราส่วนที่เหมาะสมของการผลิต ใบย่านาง
ผง คือ อัตราส่วน1 : 1 ซึ่งจะทาให้ได้ใบย่านางผง ที่มีลักษณะสีเขียวเข้ม และมีกลิ่นหอม สามารถ
นาไปใช้ชงเป็นเครื่องดื่มสมุนไพรที่ดื่มได้จริง และได้ผงใบย่านางที่มีรสชาติดี มีกลิ่นหอม ชวนดื่ม
นอกจากนี้ ใบย่านางผง ที่ผลิตได้ สามารถนาไปใช้ประกอบอาหารประเภท แกงหน่อไม้ ซุปหน่อไม้
แกงยอดหวาย แกงยอดมะพร้าว ได้อีกด้วย
คณะผู้จัดทาโครงงาน
สารบัญ
เรื่อง หน้า
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
บทที่ 1 บทนา
บทที่ 2 เอกสารความรู้ที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และวิธีการดาเนินการทดลอง
บทที่ 4 ผลการทดลอง
บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและอภิปรายผลการทดลอง
ภาคผนวก
เอกสารอ้างอิง
บทที่ 1
บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ใบย่านาง เป็นพืชชนิดหนึ่ง ที่มีลักษณะมีลาต้นเป็นเถาวัลย์เป็นไม้เลื้อย เถาสี
เขียวสดและอวบน้า ภายในลาต้นมีน้าเมือกเหนียว มีขนตามกิ่งอ่อน เถาเมื่อแก่มีผิวเรียบและเหนียว
มากใบเป็นใบเดี่ยว มีสารต้านอนุมูลอิสระละยังช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยและการแก่ชราอย่างได้ผล
ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูงละยังช่วยป้องกันการเกิดโรคหัวใจและจัดว่าเป็นยาอายุวัฒนะ
ใบย่านางเป็นพืชที่ชาวอาเภอหล่มเก่าและคนภาคอีสานมักจะนามาใช้ในการประกอบอาหารโดยการ
คั่นเอาน้าของใบย่านางสด มาเป็นส่วนประกอบในการปรุงอาหารประเภทแกง เช่น แกงหน่อไม้
ซุปหน่อไม้ แกงยอดหวาย แกงยอดมะพร้าว แกงเลียง แกงหวาน เป็นต้น จะเห็นได้ว่า ใบย่านางมี
ความสาคัญต่อชีวิตประจาวันเป็นอย่างมาก แต่เนื่องจากปัจจุบันชาวหล่มเก่าและคนภาคอีสานได้ย้าย
ถิ่นฐานไปประกอบอาชีพในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัดที่ไม่มีใบย่านางไว้เพื่อประกอบอาหารจึง
ทาให้ไม่สามารถทาอาหารขึ้นมารับประทานได้
ผู้จัดทาโครงงานจึงมีแนวคิดว่า ควรจะหาวิธีการประยุกต์ดัดแปลงใบย่านางให้เกิด
ประโยชน์หลายด้าน เช่น สามารถส่งไปยังพื้นที่ที่ไม่มีใบย่านางประกอบอาหารได้สะดวกและ
สามารถนามาประกอบอาหารได้รวดเร็ว และสามารถใช้เป็นเครื่องดื่มสมุนไพร จึงได้จัดทาโครงงาน
ใบย่านางผง ขึ้นมา
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาวิธีการผลิตใบย่านางผง
2. เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องดื่มสมุนไพร
3. เพื่อนาใบย่านางผงไปประกอบอาหารได้อย่างรวดเร็ว
และเก็บรักษาไว้ได้นาน
1.3 ขอบเขตการทดลอง
ใช้ใบย่านางเขียว ที่มีลักษณะเป็นใบสีเขียวเข้ม มาคั้นผสมกับน้า น้าตาลทรายขาว
และเคี่ยวจนแห้ง
1.4 สมมติฐานของการทดลอง
ใบย่านาง น่าจะนามาผลิตใบย่านางผง ที่สามารถนามาใช้เป็นเครื่องดื่ม และ
ประกอบอาหารได้
1.5 กาหนดตัวแปร
ตอนที่ 1
- ตัวแปรต้น คือ น้าตาล เกลือ
- ตัวแปรตาม คือ การเกิดผงของใบย่านาง
- ตัวแปรที่ต้องควบคุม คือ ปริมาณใบย่านาง ชนิดของใบย่านาง ปริมาณน้า
อุณหภูมิ เวลา และภาชนะที่ใช้ต้ม
ตอนที่ 2
- ตัวแปรต้น คือ ปริมาณใบย่านาง น้าตาล
- ตัวแปรตาม คือ ลักษณะผงของใบย่านาง
- ตัวแปรที่ต้องควบคุม คือ ชนิดของใบย่านาง ปริมาณน้า อุณหภูมิ เวลา และ
ภาชนะที่ใช้ต้ม
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการผลิตใบย่านางผง
2. มีเครื่องดื่มสมุนไพรไว้ใช้ในครัวเรือน
3. สามารถลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนได้
3. สามารถผลิตใบย่านางผงได้
4. ใบย่านางผงที่ผลิตได้สามารถนาไปประกอบอาหาร และเก็บรักษาไว้ได้นาน
บทที่ 2
เอกสาร ความรู้ที่เกี่ยวข้อง
ใบย่านาง
วงศ์ MENISPERMACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Tiliacora triandra (Colebr.) Diels
ชื่อพื้นเมือง
ภาคกลาง เถาย่านาง, เถาหญ้านาง, เถาวัลย์เขียว, หญ้าภคินี
เชียงใหม่ จ้อยนาง, จอยนาง, ผักจอยนาง
ภาคใต้ ย่านนาง, ยานนาง, ขันยอ
สุราษฎร์ธานี ยาดนาง, วันยอ
ภาคอีสาน ย่านาง
ไม่ระบุถิ่น เครือย่านาง, ปู่เจ้าเขาเขียว, เถาเขียว, เครือเขางาม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ต้น เป็นไม้เถาเลื้อย เกี่ยวพันไม้อื่น เป็นเถากลมๆ ขนาดเล็ก แต่เหนียว มีสีเขียว เมื่อเถาแก่
จะมีสีเข้ม บริเวณเถามีข้อห่างๆ เถาอ่อน มีขนอ่อนปกคลุม เมื่อแก่แล้วผิวค่อนข้างเรียบ
ราก มีหัวใต้ดิน รากมีขนาดใหญ่
ใบ เป็นใบเดี่ยวคล้ายใบพริกไทย ออกติดกับลาต้นแบบสลับ รูปร่างใบคล้ายรูปไข่ หรือรูปไข่
ขอบขนาน ปลายใบเรียว ฐานใบมน ขนาดใบยาว 5-10 ซม. กว้าง 2-4 ซม. ขอบใบเรียบ ผิวใบเป็น
คลื่นเล็กน้อย ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ในภาคใต้ใบค่อนข้างเรียวยาวแหลมกว่า สีเขียวเข้ม หน้าและ
หลังใบเป็นมัน
ดอก ออกตามซอกใบ ซอกโคนก้าน จากข้อเถาแก่เป็นช่อยาว 2-5 ซม. ช่อหนึ่งๆ มีดอก
ขนาดเล็กสีเหลีอง 3-5 ดอก ออกดอกแยกเพศอยู่คนละต้น ไม่มีกลีบดอก ขนาดโตกว่าเมล็ดงา
เล็กน้อย ต้นเพศผู้จะมีดออกสีน้าตาล อับเรณูสีเหลืองอ่อน ดอกย่อยของต้นเพศผู้จะมีขนาดเล็ก ก้าน
ช่อดอกมีขนสั้นๆ ละเอียด ปกคลุมหนาแน่น ออกดอกช่วงเดือนเมษายน
ผล รูปร่างกลมเล็ก ขนาดเท่าผลมะแว้ง สีเขียว เมื่อแก่กลายเป็นสีเหลืองอมแดง หรือสีแดง
สด และกลายเป็นสีดาในที่สุด
เมล็ด เมล็ดแข็งรูปเกือกม้า
แหล่งที่พบ ย่านางเป็นพืชที่พบในแหล่งธรรมชาติ ป่าทั่วไปที่มีความชุ่มชื้น บริเวณป่าผสม
ผลัดใบ ป่าดงดิบ และป่าโปร่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งภาคอื่นๆ ก็มีกระจายทั่วไป
การปลูกและขยายพันธุ์
ย่านางเป็นพืชที่ขึ้นในดินทุกชนิด และปลูกได้ทุกฤดู ขยายพันธุ์โดยการใช้หัวใต้ดิน เถาแก่ที่
ติดหัว ปักชายอด หรือการเพาะเมล็ด เป็นไม้ที่ปลูกง่ายโดยปลูกเป็นหลุมหรือยกร่องก็ได้
ประโยชน์ทางยา
สารเคมีที่สาคัญ
รากย่านางมี isoquinolone alkaloid ได้แก่ Tiliacorine, Tiliacorinine, Nortiliacorinine
A, Tiliacotinine 2-N-oxde และ tiliandrine, tetraandrine, D-isochondendrine (isberberine)
จากการทดลองพบว่าสารสกัดจากรากย่านางมีฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรียชนิด ฟัลซิพารัมในหลอดทดลอง
ใบ รสจืดขม รับประทาน ถอนพิษผิดสาแดง แก้ไข้ ตัวร้อน แก้ไข้รากสาด ไข้พิษ ไข้หัว ไข้
กลับซ้า ใช้เข้ายาเขียว ทายาพอก ลิ้นกระด้าง คางแข็ง กวาดคอ แก้ไข้ฝีดาษ ไข้ดาแดงเถา
ราก รสจืดขม กระทุ้งพิษไข้ แก้ไข้ ปรุงยาแก้ไข้รากสาด ไข้กลับ ไข้พิษ ไข้ผิดสาแดง ไข้เหนือ
ไข้หัวจาพวกเหือดหัด สุกใส ฝีดาษ ไข้กาฬ รับประทานแก้พิษเมาเบื่อแก้เมสุรา แก้พิษภายในให้ตกสิ้น
บารุงหัวใจ บารุงธาตุ แก้โรคหัวใจบวม ถอนพิษผิดสาแดง แก่ไม่ผูก ไม่ถ่าย แก้กาเดา แก้ลม
ทั้งต้น ปรุงเป็นยาแก้ไข้กลับ
1. แก้ไข้ ใช้รากย่านางแห้ง 1 กามือ ประมาณ 15 กรัม ต้มกับน้า 2 แก้วครึ่ง เคี่ยวให้เหลือ
2 แก้ว ให้ดื่มครั้งละ 1-2 แก้ว ก่อนอาหาร 3 เวลา
2. แก้ป่วง (ปวดท้องเพราะกินอาหารผิดสาแดง)
ใช้รากย่านางแดงและรากมะปรางหวาน ฝนกับน้าอุ่น แต่ไม่ถึงกับข้น ดื่มครั้งละ 1-2 แก้วต่อครั้ง วัน
ละ 3-4 ครั้ง หรือทุกๆ 2 ชั่วโมง ถ้าไม่มีรากมะปรางหวาน ก็ใช้รากย่านางแดงอย่างเดียวก็ได้ หรือถ้า
ให้ดียิ่งขึ้น ใช้รากมะขามฝนรวมด้วย
3. ถอนพิษเบื่อเมาในอาหาร เช่น เห็ด กลอย ใช้รากย่านางต้นและใบ 1 กามือ ตาผสมกับ
ข้าวสารเจ้า 1 หยิบมือ เติมน้าคั้นให้ได้ 1 แก้ว กรองด้วยผ้าขาวบาง ใส่เกลือและน้าตาลเล็กน้อยพอ
ดื่มง่ายให้หมดทั้งแก้ว ทาให้อาเจียนออกมา จะช่วยให้ดีขึ้น
4. ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ ใช้หัวย่านางเคี่ยวกับน้า 3 ส่วน ให้เหลือ 1 ส่วนดื่มครั้งละ
1-2 แก้ว
การใช้เป็นยาพื้นบ้านในภาคอีสาน
1. ใช้ราก ต้มเป็นยาแก้อีสุกอีใส ตุ่มผื่น
2. ใช้รากย่านางผสมรากหมาน้อย ต้มแก้ไข้มาลาเรีย
3. ใช้ราก ต้มขับพิษต่างๆ
รสและคุณค่าทางโภชนาการ
ใบย่านางรสจืด
คุณค่าทางโภชนาการ ข้อมูลจากหนังสือ Thai Food Composition Institute of
Nutrition, Mahidol University (สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล) พบว่า ปริมาณ
สารสาคัญที่มีมากและโดดเด่นในใบย่านาง คือ ไฟเบอร์ แคลเซียม เหล็ก เบต้าแคโรทีน วิตามินเอ
ใบย่านาง 100 กรัม ให้คุณค่าโภชนาการดังนี้
พลังงาน 95 กิโลแคลอรี่
เส้นใย 7.9 กรัม
แคลเซียม 155 มิลลิกรัม
ฟอสฟอรัส 11 มิลลิกรัม
เหล็ก 7.0 มิลลิกรัม
วิตามินเอ 30625 IU
วิตามินบีหนึ่ง 0.03 มิลลิกรัม
วิตามินบีสอง 0.36 มิลลิกรัม
ไนอาซิน 1.4 มิลลิกรัม
วิตามินซี 141 มิลลิกรัม
หรือโปรตีน 15.5 เปอร์เซนต์
ฟอสฟอรัส 0.24 เปอร์เซนต์
โพแทสเซียม 1.29 เปอร์เซนต์
แคลเซียม 1.42 เปอร์เซนต์
ADF 33.7 เปอร์เซนต์
NDF 46.8 เปอร์เซนต์
DMD 62.0 เปอร์เซนต์
แทนนิน 0.21 เปอร์เซ็นต์
ประโยชน์ทางอาหาร
ย่านาง มีทุกฤดูกาล ให้ยอดมากในฤดูฝน และให้ผลในฤดูแล้ง
ส่วนที่กินและการปรุงอาหาร คนไทยนิยมใช้ใบย่านางคั้นเอาน้าปรุงอาหารต่างๆ เช่น แกงหน่อไม้
ซุบหน่อไม้ (ย่านางสามารถต้านพิษกรดยูริกในหน่อไม้ได้) แกงอ่อม แกงเห็ด หรือขยี้ใบสดกับหมา
น้อย รับประทานถอนพิษร้อนต่างๆ
ภาคอีสาน
เถาและใบของย่านางนิยมใช้เป็นเครื่องปรุงรส ใช้แต่งสีเขียวในอาหารคาว และช่วยทาให้น้า
แกงข้นมากขึ้นด้วย นอกจากนี้ยังสามารถนาไปประกอบเป็นอาหารต่างๆ ดังนี้
1. เถา ใบอ่อน ใบแก่ ตา คั้นเอาน้าสีเขียว นาไปต้มกับหน่อไม้ ปรุงเป็นแกงหน่อไม้ ซุบ
หน่อไม้ แกงต้มเปรอะ เชื่อว่าย่านางจะช่วยลดรสขม ของหน่อไม้ได้ดี ทาให้หน่อไม้มีรสหวานอร่อย
2. นาไปแกงกับยอดหวาย
3. นาไปแกงกับขี้เหล็ก
4. นาไปใส่แกงขนุน แกงผักอีลอก
5. นาไปอ่อมและหมก
ข้อควรระวัง (ขลา) ต้องทาให้สุก
เป็นที่น่าสังเกตว่า คนอีสานไม่มีข้อห้ามในการกินหน่อไม้ในคนที่สูงอายุ ซึ่งแตกต่างจากทาง
ภาคอื่นๆ ที่มีข้อห้ามในการบริโภคหน่อไม้ เมื่อมีอายุมากขึ้น โดยเชื่อกันว่าหน่อไม้มีผลทาให้ปวดข้อ
แต่คนอีสานมีวัฒนธรรมการกินหน่อไม้คู่กับย่านางเสมอ จึงไม่มีปัญหาเหมือนการกินหน่อไม้ของภาค
อื่นๆ
ภาคใต้
1. ใช้ยอด ใบเพสลาด (ไม้อ่อน ไม่แก่เกินไป) นาไปแกงเลียง ผัด แกงกะทิ
2. ผลสุก ใช้กินเล่น
ภาคเหนือ
1. ยอดอ่อน นามาลวกเป็นผักจิ้มน้าพริก
2. ยอดอ่อน ใบแก่ คั้นน้านามาใส่แกงพื้นเมือง เช่น แกงหน่อไม้ แกงแค
ประโยชน์ใช้สอยอื่นๆ
1. น้าสีเขียวจากใบย่านางนาไปใช้ย้อมผ้าได้อีกด้วย
2. ใช้เป็นอาหารสัตว์ เช่น กระบือ
3. เถา มีความเหนียว ใช้มัดสัมภาระได้
สรรพคุณใบย่านาง
1. ใบย่านาง ในตาราสมุนไพรจัดว่าเป็นยาอายุวัฒนะ
2. มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระจานวนมาก จึงช่วยลดและชะลอการเกิดริ้วและความแก่ชรา
อย่างได้ผล
3. ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านโรคในร่างกายให้แข็งแรง
4. ช่วยเพิ่มความสดชื่นให้กับร่างกาย
5. ช่วยฟื้นฟูเซลล์ต่าง ๆในร่างกาย
6. ช่วยในการปรับสมดุลของร่างกาย
7. เป็นสมุนไพรที่ช่วยในการลดความอ้วนได้อย่างเห็นผลและปลอดภัย
8. ช่วยในการเผาผลาญไขมันและนาไปใช้เป็นพลังงาน
9. ช่วยป้องกันและลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งชนิดต่าง ๆ
10. เป็นสมุนไพรที่มีฤทธิ์เย็นเหมาะสาหรับผู้ที่เป็นมะเร็งอย่างมาก
11. หากดื่มน้าใบย่านางเป็นประจา ก้อนมะเร็งจะฝ่อและเล็กลง
12. ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูง
13. ช่วยป้องกันการเกิดโรคหัวใจ
14. ช่วยในการบารุงรักษาตับ และไต
15. ช่วยรักษาและบาบัดอาการอัมพฤกษ์
16. ช่วยแก้อาการอ่อนล้า อ่อนเพลียของร่างกาย แม่นอนพักก็ไม่หาย
17. ช่วยรักษาอาการเกร็ง ชัก หรือเป็นตะคริวบ่อย ๆ
บทที่ 3
วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินการ
วัสดุอุปกรณ์
1. ใบย่านาง
2. น้าตาล
3. น้า
4. ชาม
5. บีกเกอร์
6. กระทะ
7. เตา
8. ตะแกรง
วิธีทดลอง
ตอนที่ 1 ศึกษาวิธีการทาให้เป็นผง
1. นาใบย่านางมาเด็ดใบออกจากเถาก่อนแล้วนาใบย่านางไปชั่งปริมาณ 600 กรัม
แบ่งเป็น 3 ส่วน ดังนี้ กะละมังใบที่ 1 ใช้ใบย่านาง 200 กรัม กะละมังใบที่ 2 ใช้ใบย่านาง
200 กรัม กะละมังใบที่ 3 ใช้ใบย่านาง 200 กรัม
2. นาใบย่านางทีได้ไปล้างด้วยน้าเปล่าให้สะอาด
3. เติมน้าดื่มปริมาตร 1,800, 1,800 และ 1,800 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงไปในกะละมังที่มี
ใบย่านางอยู่ทั้ง 3 ใบ และคั่นใบย่างจนกระทั่งได้น้าที่เขียวเข้ม
4. กะละมังใบที่ 1 เติมน้าตาล 100 กรัม ใบที่ 2 เติมเกลือ 100 กรัม ใบที่ 3 ไม่เติมอะไร
นาไปต้มและเคี้ยวจนแห้ง
5. ทิ้งไว้ให้เย็น สังเกตลักษณะของผงของใบย่านาง
ตอนที่ 2 หาอัตราส่วนที่เหมาะสม
1. นาใบย่านางมาเด็ดใบออกจากเถาก่อนแล้วนาใบย่านางไปชั่งปริมาณ 500 กรัม
นาใบย่านางทีได้ไปล้างด้วยน้าเปล่าให้สะอาด แบ่งเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 200 ,200 ,100 กรัม
ใส่ไว้ในกะละมังตามลาดับ
2. เติมน้าดื่มปริมาตร 1,800 ลูกบาศก์เซนติเมตร และคั่นใบย่างจนกระทั่งได้น้าที่เขียวเข้ม
3. นาไปต้มจนเดือดแล้วนาน้าตาลปริมาณ 100, 200, และ 300 กรัม (อัตราส่วน(2:1)
คือ ใช้ใบย่านาง 200 กรัม น้าตาล 100 กรัม อัตราส่วน(1:1) คือ ใช้ใบย่านาง 200 กรัม
น้าตาล 200 กรัม และอัตราส่วน (1:2) คือ ใช้ใบย่านาง 100 กรัม น้าตาล 200 กรัม
เคี่ยวเป็นเวลา 1.30 ชั่วโมง
4. ทิ้งไว้ให้เย็น สังเกตลักษณะของผงของใบย่านาง
บทที่ 4
ผลการทดลอง
ผลการทดลอง
ตอนที่ 1 การศึกษาวิธีการผลิตใบย่านางผง
วัสดุที่ใช้ เวลาที่ใช้ต้ม
(นาที)
ลักษณะของผงใบย่านาง
น้าใบย่านางสด + น้าตาล 90 ผงใบย่านางมีลักษณะ สีเขียวอ่อน
มีกลิ่นหอม รสหวานเล็กน้อย
น้าใบย่านางสด + เกลือ 90 ผงใบย่านางมีลักษณะสีเขียวเข้ม
และมีรสเค็มและขม
น้าใบย่านางสด 90 ไม่มีผงใบย่างนางเกิดขึ้น น้าใบย่านางแห้ง
เป็นแผ่นติดกระทะ
จากตาราง พบว่า ใบย่านางสามารถนามาผลิตเป็นผงได้จริง โดยใช้น้าตาลและเกลือเป็น
ส่วนผสม ซึ่งใบย่านางผงที่สามารถนามารับประทานได้ คือ ใบย่านางผง ที่ผลิตจาก น้าใบย่านางสด
ผสมน้าตาล ไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
ลักษณะของใบย่านางผง
ตอนที่ 2 การหาอัตราส่วนที่เหมาะสม ของใบย่านาง ต่อ น้าตาล
อัตราส่วน
ผลที่ได้ นาไปใช้ประโยชน์ใบย่านาง : น้าตาล
1:1 ผงละเอียด สีเขียวเข้ม
มีรสชาติหวานเล็กน้อย
ใกล้เคียงกับน้าย่านางสด
สามารถนาไปใช้แกงได้ เช่น
แกงหน่อไม้ แกงหวาน เป็น
ต้น
1:2 ผงค่อนข้างละเอียด สีเขียวอ่อน
มีรสชาติหวานมาก
สามารถนาไปชงเป็น
เครื่องดื่มสมุนไพรดื่มได้
2:1 ผงละเอียดมาก สีเขียวเข้ม
มีรสชาติใกล้เคียงกับน้าใบ
ย่านางสด
สามารถนาไปแกงได้ เช่น
แกงหน่อไม้ แกงเลียง แกง
หวาน ซุปหน่อไม้ เป็นต้น
จากตาราง พบว่า อัตราส่วนที่เหมาะสาหรับ การทาใบย่านางผง เพื่อใช้เป็นเครื่องดื่ม
สมุนไพร คือ อัตราส่วน 1 : 2 และอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตใบย่านางผงเพื่อใช้ในการ
ประกอบอาหาร คือ อัตราส่วน 2 : 1 และ อัตราส่วน 1 : 1 เพราะมีลักษณะใกล้เคียงกับใบย่านาง
สดมากที่สุด นั่นแสดงว่า ใบย่านาง สามารถนามาผลิตเป็นใบย่านางผง เพื่อใช้เป็นเครื่องดื่ม และ
ประกอบอาหารได้จริง เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
บทที่ 5
สรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลอง
การนาใบย่านางสด มาทาเป็นผง สามารถทาได้โดยนาใบย่านางสด มาคั่นกับน้า
ในปริมาตร 1,800 ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้วผสมน้าตาล เคี่ยวจนแห้ง จะได้ใบย่านางผงที่มีกลิ่นหอม
รสชาติหวานเล็กน้อย มีสีเขียวเข้มใกล้เคียงกับน้าใบย่านางสด ใช้เป็นเครื่องดื่มสมุนไพร และใช้
ประกอบอาหารได้จริง ซึ่งส่งผลให้สามารถลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว อีกทั้งยังสืบทอดพระราชดารัส
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และสอดคล้องกับคาขวัญวันวิทยาศาสตร์ไทย 18 สิงหาคม 2558 ที่ว่า “จุดประกาย
ความคิด พัฒนาชีวิตด้วยวิทยาศาสตร์ สร้างชาติด้วยเทคโนโลยี สู่วิถีแห่งนวัตกรรม”
อภิปรายผลการทดลอง
1. จากการนาใบย่านางสด มาคั้นกับน้าปริมาตร 1,800 ลูกบาศก์เซนติเมตร
จนกระทั่งได้น้าใบย่านางสดที่มีสีเขียวเข้ม และนาไปเคี่ยวกับน้าตาลจนกระทั้งแห้ง ใช้เวลาประมาณ
90 นาที พบว่า น้าใบย่านางสด กลายเป็นผงใบย่านางที่มีลักษณะสีเขียวเข้ม
2. จากการหาอัตราส่วนของใบย่านางสด ต่อ น้าตาล ที่เหมาะสมในการทาใบย่านาง
ผง พบว่า อัตราส่วนที่เหมาะสาหรับ การทาใบย่านางผง เพื่อใช้เป็นเครื่องดื่มสมุนไพร คือ
อัตราส่วน 1 : 2 และอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตใบย่านางผงเพื่อใช้ในการประกอบอาหาร คือ
อัตราส่วน 2 : 1 และ อัตราส่วน 1 : 1 เพราะมีลักษณะใกล้เคียงกับใบย่านางสดมากที่สุด
นั่นแสดงว่า ใบย่านางสด สามารถนามาผลิตเป็นใบย่านางผง เพื่อใช้เป็นเครื่องดื่ม และประกอบ
อาหารได้จริง เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. รู้วิธีการผลิตใบย่านางผง
2. ได้ใบย่านางผง ที่เป็นเครื่องดื่มสมุนไพร
3. ได้ใบย่านางผง ที่ใช้ประกอบอาหารประเภทแกงหน่อไม้ ซุบหน่อไม้ เป็นต้น
4. ประหยัดและช่วยลดค่าใช้จ่ายภายในบ้าน
4. ถนอมอาหรที่เป็นพืชไว้ใช้ได้นาน และรวดเร็ว
ข้อเสนอแนะ
1. อาจใช้ใบหรือดอกพืชชนิดอื่น ทาเป็นผงสมุนไพรได้ เช่น ใบย่านางแดง
ใบมะกรูด ใบขิง ดอกขิง ดอกอัญชัญ ใบผักปลัง เป็นต้น
2. อาจใช้น้าอ้อย หรือน้าตาลสด แทนน้าตาลทราย ในการทดลองครั้งต่อไป
บรรณานุกรม
ชาตรี เกิดธรรม. เทคนิคการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์. ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์.
เอกสารอัดสาเนาม, 2548.
จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย.โรงเรียน.ตัวอย่างบทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์.ชลบุรี.
เอกสารอัดสาเนา, 2552.
พรพรรณ. สมุนไพรในครัว. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2541.
ศิรินยา. พืชผักรักษาโรค. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2545.
สุวิทย์ วรรณศรี.เทคนิคการทาโครงงานนักเรียน.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา,2554.
สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์, กระทรวงสาธารณสุข. ผักพื้นบ้านความหมายและ
ภูมิปัญญาของสามัญชนไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์
ทหารผ่านศึก,2540.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา
ประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ตามแนวพระราชดาริ
เศรษฐกิจพอเพียง,2555.
ภาคผนวก
ภาพแสดงขั้นตอนการทาใบย่านางผง
ขั้นที่ 1 ชั่งใบย่านาง 200 กรัม ขั้นที่ 2 ล้างใบย่านางให้สะอาด
ขั้นที่ 3 ขยี้ใบย่านางฉีกออกจากกันเป็นชิ้นเล็กๆ ขั้นที่ 4 กรองกากใบย่านางทิ้ง
ขั้นที่ 5 ได้น้าใบย่านางสีเขียวเข้ม
ขั้นที่ 6 นาไปตั้งไฟเคี่ยวบนเตาถ่าน
ขั้นที่ 7 เติมน้าตาลเคี่ยวไปเรื่อยๆจนแห้งกลายเป็นผง
ขั้นที่ 8 ลักษณะผงใบย่านาง
ขั้นที่ 9 นาผงที่ได้มาร่อนให้ได้ผงที่ละเอียดจะได้ผงที่ละเอียดและผงหยาบแยกออกจากัน
ขั้นที่ 10 บรรจุผงผงใบย่านางในกล่องพลาสติก
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง
เรื่อง ใบย่านางผง
โดย
1. เด็กหญิงกัญญารัตน์ ทรายคา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1
2. เด็กหญิงไพริน พรมแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1
3. เด็กหญิงอนุลักษณ์ แสงราช ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1
ครูที่ปรึกษา
นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล
นางสาวลลิตา ผ่องผิว
โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์
ประเภททดลอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3
เนื่องในงานมหกรรมวิชาการเฉลิมพระเกียรติฯ ครั้งที่ 1
ระหว่างวันที่ 25-27 สิงหาคม พ.ศ.2558

More Related Content

What's hot

โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
Pawit Chamruang
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) Np Vnk
 
โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร Patcharida Nun'wchph
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษีโครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
ศิรินทร์รัตน์ ยศถาวร
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
Thunrada Sukkaseam
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
Phongsak Kongkham
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
Pongpan Pairojana
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้Theyok Tanya
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โรงเรียนบ้านหนองคูโนนแก้วหนองอีย่า .
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
Sutthiluck Kaewboonrurn
 

What's hot (20)

โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 
โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษีโครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 

Similar to โครงงานใบย่านางผง

โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 
สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้
Thanyalak Chanmai
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
สบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาว
สบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาวสบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาว
สบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาว
PuHi Sion
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
รัชศวรรณ มูลหา
 
Plant ser 126_60_1
Plant ser 126_60_1Plant ser 126_60_1
Plant ser 126_60_1
Wichai Likitponrak
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
Nattakarntick
 
ดอกอัญชัน
ดอกอัญชันดอกอัญชัน
ดอกอัญชัน
Kosamphee Wittaya School
 
Project thitinan
 Project thitinan Project thitinan
Project thitinan
Apaiwong Nalinee
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยsakuntra
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยsakuntra
 
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรคหญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง จตุกา
 
Star fruit wardrobe
Star fruit wardrobeStar fruit wardrobe
Star fruit wardrobe
Dewdeng Npd
 

Similar to โครงงานใบย่านางผง (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้
 
11
1111
11
 
34355599
3435559934355599
34355599
 
กระดาษกล้วย
กระดาษกล้วยกระดาษกล้วย
กระดาษกล้วย
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
สบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาว
สบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาวสบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาว
สบู่มะขามนมสดน้ำผึ้งมะนาว
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
 
Plant ser 126_60_1
Plant ser 126_60_1Plant ser 126_60_1
Plant ser 126_60_1
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
ดอกอัญชัน
ดอกอัญชันดอกอัญชัน
ดอกอัญชัน
 
Project thitinan
 Project thitinan Project thitinan
Project thitinan
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทย
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทย
 
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรคหญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
 
Star fruit wardrobe
Star fruit wardrobeStar fruit wardrobe
Star fruit wardrobe
 

More from Chok Ke

Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Obec awords arb1 57  ล่าสุด3Obec awords arb1 57  ล่าสุด3
Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Chok Ke
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
Chok Ke
 
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบนำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
Chok Ke
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
Chok Ke
 
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
Chok Ke
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
Chok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
วพ.04
วพ.04วพ.04
วพ.04Chok Ke
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
ปก Obec
ปก Obecปก Obec
ปก ObecChok Ke
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10Chok Ke
 

More from Chok Ke (20)

Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Obec awords arb1 57  ล่าสุด3Obec awords arb1 57  ล่าสุด3
Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
 
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบนำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
597 02
597 02597 02
597 02
 
วพ.04
วพ.04วพ.04
วพ.04
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
ปก Obec
ปก Obecปก Obec
ปก Obec
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

โครงงานใบย่านางผง

  • 1. กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง เรื่อง ใบย่านางผง จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาวิธการผลิต ใบย่านางผง ไว้ใช้ในการประกอบอาหารและใช้เป็นเครื่องดื่มสมุนไพร คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าโครงงานนี้คงจะมีประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ และเป็นแนวคิดในการผลิตใบย่าผงขึ้นมา เพื่อใช้ได้สะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น หากการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้มีข้อบกพร่องประการใดไก้โปรดชี้แนะ เพื่อจะได้นามาปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณ นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล ครูโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม และ นางสาวลลิตา ผ่องผิว คุณครูฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่ให้คาปรึกษาการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ในครั้งนี้ให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ขอขอบคุณ ไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทาโครงงาน
  • 2. ชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ ใบย่านางผง คณะผู้จัดทา 1. เด็กหญิงกัญญารัตน์ ทรายคา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1 2. เด็กหญิงไพริน พรมแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1 3. เด็กหญิงอนุลักษณ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1 โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ ครูที่ปรึกษา 1. นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล 2. นางสาวลลิตา ผ่องผิว บทคัดย่อ จากพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรื่อง การใช้ชีวิตแบบพอเพียง ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการกินและอยู่อย่างพอเพียงนั้น และจากการศึกษาสรรพคุณของ ใบย่านาง มีช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยและการแก่ชรา และยังว่าเป็นยาอายุวัฒนะ เหมาะสาหรับ ทุกเพศทุกวัย ก่อให้เกิดแนวคิดในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง เรื่อง ใบย่านางผง โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาวิธีการผลิตใบย่านางผง ไว้ประกอบอาหารและเป็นเครื่องดื่มสมุนไพรไว้ ใช้เองในบ้าน และ ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน การทดลองครั้งนี้ แบ่งการทดลอง ออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ศึกษาวิธีการผลิตผง สมุนไพร ตอนที่ 2 หาอัตราส่วนที่เหมาะสมของผงสมุนไพร ผลการทดลองพบว่า ใบย่านางสามารถ นามาทาให้เป็นผงได้โดยผสมกับน้าตาลทรายขาว และอัตราส่วนที่เหมาะสมของการผลิต ใบย่านาง ผง คือ อัตราส่วน1 : 1 ซึ่งจะทาให้ได้ใบย่านางผง ที่มีลักษณะสีเขียวเข้ม และมีกลิ่นหอม สามารถ นาไปใช้ชงเป็นเครื่องดื่มสมุนไพรที่ดื่มได้จริง และได้ผงใบย่านางที่มีรสชาติดี มีกลิ่นหอม ชวนดื่ม นอกจากนี้ ใบย่านางผง ที่ผลิตได้ สามารถนาไปใช้ประกอบอาหารประเภท แกงหน่อไม้ ซุปหน่อไม้ แกงยอดหวาย แกงยอดมะพร้าว ได้อีกด้วย คณะผู้จัดทาโครงงาน
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ บทที่ 1 บทนา บทที่ 2 เอกสารความรู้ที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และวิธีการดาเนินการทดลอง บทที่ 4 ผลการทดลอง บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและอภิปรายผลการทดลอง ภาคผนวก เอกสารอ้างอิง
  • 4. บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ใบย่านาง เป็นพืชชนิดหนึ่ง ที่มีลักษณะมีลาต้นเป็นเถาวัลย์เป็นไม้เลื้อย เถาสี เขียวสดและอวบน้า ภายในลาต้นมีน้าเมือกเหนียว มีขนตามกิ่งอ่อน เถาเมื่อแก่มีผิวเรียบและเหนียว มากใบเป็นใบเดี่ยว มีสารต้านอนุมูลอิสระละยังช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยและการแก่ชราอย่างได้ผล ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูงละยังช่วยป้องกันการเกิดโรคหัวใจและจัดว่าเป็นยาอายุวัฒนะ ใบย่านางเป็นพืชที่ชาวอาเภอหล่มเก่าและคนภาคอีสานมักจะนามาใช้ในการประกอบอาหารโดยการ คั่นเอาน้าของใบย่านางสด มาเป็นส่วนประกอบในการปรุงอาหารประเภทแกง เช่น แกงหน่อไม้ ซุปหน่อไม้ แกงยอดหวาย แกงยอดมะพร้าว แกงเลียง แกงหวาน เป็นต้น จะเห็นได้ว่า ใบย่านางมี ความสาคัญต่อชีวิตประจาวันเป็นอย่างมาก แต่เนื่องจากปัจจุบันชาวหล่มเก่าและคนภาคอีสานได้ย้าย ถิ่นฐานไปประกอบอาชีพในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัดที่ไม่มีใบย่านางไว้เพื่อประกอบอาหารจึง ทาให้ไม่สามารถทาอาหารขึ้นมารับประทานได้ ผู้จัดทาโครงงานจึงมีแนวคิดว่า ควรจะหาวิธีการประยุกต์ดัดแปลงใบย่านางให้เกิด ประโยชน์หลายด้าน เช่น สามารถส่งไปยังพื้นที่ที่ไม่มีใบย่านางประกอบอาหารได้สะดวกและ สามารถนามาประกอบอาหารได้รวดเร็ว และสามารถใช้เป็นเครื่องดื่มสมุนไพร จึงได้จัดทาโครงงาน ใบย่านางผง ขึ้นมา 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาวิธีการผลิตใบย่านางผง 2. เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องดื่มสมุนไพร 3. เพื่อนาใบย่านางผงไปประกอบอาหารได้อย่างรวดเร็ว และเก็บรักษาไว้ได้นาน 1.3 ขอบเขตการทดลอง ใช้ใบย่านางเขียว ที่มีลักษณะเป็นใบสีเขียวเข้ม มาคั้นผสมกับน้า น้าตาลทรายขาว และเคี่ยวจนแห้ง 1.4 สมมติฐานของการทดลอง ใบย่านาง น่าจะนามาผลิตใบย่านางผง ที่สามารถนามาใช้เป็นเครื่องดื่ม และ ประกอบอาหารได้
  • 5. 1.5 กาหนดตัวแปร ตอนที่ 1 - ตัวแปรต้น คือ น้าตาล เกลือ - ตัวแปรตาม คือ การเกิดผงของใบย่านาง - ตัวแปรที่ต้องควบคุม คือ ปริมาณใบย่านาง ชนิดของใบย่านาง ปริมาณน้า อุณหภูมิ เวลา และภาชนะที่ใช้ต้ม ตอนที่ 2 - ตัวแปรต้น คือ ปริมาณใบย่านาง น้าตาล - ตัวแปรตาม คือ ลักษณะผงของใบย่านาง - ตัวแปรที่ต้องควบคุม คือ ชนิดของใบย่านาง ปริมาณน้า อุณหภูมิ เวลา และ ภาชนะที่ใช้ต้ม 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการผลิตใบย่านางผง 2. มีเครื่องดื่มสมุนไพรไว้ใช้ในครัวเรือน 3. สามารถลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนได้ 3. สามารถผลิตใบย่านางผงได้ 4. ใบย่านางผงที่ผลิตได้สามารถนาไปประกอบอาหาร และเก็บรักษาไว้ได้นาน
  • 6. บทที่ 2 เอกสาร ความรู้ที่เกี่ยวข้อง ใบย่านาง วงศ์ MENISPERMACEAE ชื่อวิทยาศาสตร์ Tiliacora triandra (Colebr.) Diels ชื่อพื้นเมือง ภาคกลาง เถาย่านาง, เถาหญ้านาง, เถาวัลย์เขียว, หญ้าภคินี เชียงใหม่ จ้อยนาง, จอยนาง, ผักจอยนาง ภาคใต้ ย่านนาง, ยานนาง, ขันยอ สุราษฎร์ธานี ยาดนาง, วันยอ ภาคอีสาน ย่านาง ไม่ระบุถิ่น เครือย่านาง, ปู่เจ้าเขาเขียว, เถาเขียว, เครือเขางาม ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น เป็นไม้เถาเลื้อย เกี่ยวพันไม้อื่น เป็นเถากลมๆ ขนาดเล็ก แต่เหนียว มีสีเขียว เมื่อเถาแก่ จะมีสีเข้ม บริเวณเถามีข้อห่างๆ เถาอ่อน มีขนอ่อนปกคลุม เมื่อแก่แล้วผิวค่อนข้างเรียบ ราก มีหัวใต้ดิน รากมีขนาดใหญ่ ใบ เป็นใบเดี่ยวคล้ายใบพริกไทย ออกติดกับลาต้นแบบสลับ รูปร่างใบคล้ายรูปไข่ หรือรูปไข่ ขอบขนาน ปลายใบเรียว ฐานใบมน ขนาดใบยาว 5-10 ซม. กว้าง 2-4 ซม. ขอบใบเรียบ ผิวใบเป็น คลื่นเล็กน้อย ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ในภาคใต้ใบค่อนข้างเรียวยาวแหลมกว่า สีเขียวเข้ม หน้าและ หลังใบเป็นมัน
  • 7. ดอก ออกตามซอกใบ ซอกโคนก้าน จากข้อเถาแก่เป็นช่อยาว 2-5 ซม. ช่อหนึ่งๆ มีดอก ขนาดเล็กสีเหลีอง 3-5 ดอก ออกดอกแยกเพศอยู่คนละต้น ไม่มีกลีบดอก ขนาดโตกว่าเมล็ดงา เล็กน้อย ต้นเพศผู้จะมีดออกสีน้าตาล อับเรณูสีเหลืองอ่อน ดอกย่อยของต้นเพศผู้จะมีขนาดเล็ก ก้าน ช่อดอกมีขนสั้นๆ ละเอียด ปกคลุมหนาแน่น ออกดอกช่วงเดือนเมษายน ผล รูปร่างกลมเล็ก ขนาดเท่าผลมะแว้ง สีเขียว เมื่อแก่กลายเป็นสีเหลืองอมแดง หรือสีแดง สด และกลายเป็นสีดาในที่สุด เมล็ด เมล็ดแข็งรูปเกือกม้า แหล่งที่พบ ย่านางเป็นพืชที่พบในแหล่งธรรมชาติ ป่าทั่วไปที่มีความชุ่มชื้น บริเวณป่าผสม ผลัดใบ ป่าดงดิบ และป่าโปร่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งภาคอื่นๆ ก็มีกระจายทั่วไป การปลูกและขยายพันธุ์ ย่านางเป็นพืชที่ขึ้นในดินทุกชนิด และปลูกได้ทุกฤดู ขยายพันธุ์โดยการใช้หัวใต้ดิน เถาแก่ที่ ติดหัว ปักชายอด หรือการเพาะเมล็ด เป็นไม้ที่ปลูกง่ายโดยปลูกเป็นหลุมหรือยกร่องก็ได้ ประโยชน์ทางยา สารเคมีที่สาคัญ รากย่านางมี isoquinolone alkaloid ได้แก่ Tiliacorine, Tiliacorinine, Nortiliacorinine A, Tiliacotinine 2-N-oxde และ tiliandrine, tetraandrine, D-isochondendrine (isberberine) จากการทดลองพบว่าสารสกัดจากรากย่านางมีฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรียชนิด ฟัลซิพารัมในหลอดทดลอง ใบ รสจืดขม รับประทาน ถอนพิษผิดสาแดง แก้ไข้ ตัวร้อน แก้ไข้รากสาด ไข้พิษ ไข้หัว ไข้ กลับซ้า ใช้เข้ายาเขียว ทายาพอก ลิ้นกระด้าง คางแข็ง กวาดคอ แก้ไข้ฝีดาษ ไข้ดาแดงเถา ราก รสจืดขม กระทุ้งพิษไข้ แก้ไข้ ปรุงยาแก้ไข้รากสาด ไข้กลับ ไข้พิษ ไข้ผิดสาแดง ไข้เหนือ ไข้หัวจาพวกเหือดหัด สุกใส ฝีดาษ ไข้กาฬ รับประทานแก้พิษเมาเบื่อแก้เมสุรา แก้พิษภายในให้ตกสิ้น บารุงหัวใจ บารุงธาตุ แก้โรคหัวใจบวม ถอนพิษผิดสาแดง แก่ไม่ผูก ไม่ถ่าย แก้กาเดา แก้ลม ทั้งต้น ปรุงเป็นยาแก้ไข้กลับ 1. แก้ไข้ ใช้รากย่านางแห้ง 1 กามือ ประมาณ 15 กรัม ต้มกับน้า 2 แก้วครึ่ง เคี่ยวให้เหลือ 2 แก้ว ให้ดื่มครั้งละ 1-2 แก้ว ก่อนอาหาร 3 เวลา 2. แก้ป่วง (ปวดท้องเพราะกินอาหารผิดสาแดง) ใช้รากย่านางแดงและรากมะปรางหวาน ฝนกับน้าอุ่น แต่ไม่ถึงกับข้น ดื่มครั้งละ 1-2 แก้วต่อครั้ง วัน ละ 3-4 ครั้ง หรือทุกๆ 2 ชั่วโมง ถ้าไม่มีรากมะปรางหวาน ก็ใช้รากย่านางแดงอย่างเดียวก็ได้ หรือถ้า ให้ดียิ่งขึ้น ใช้รากมะขามฝนรวมด้วย 3. ถอนพิษเบื่อเมาในอาหาร เช่น เห็ด กลอย ใช้รากย่านางต้นและใบ 1 กามือ ตาผสมกับ ข้าวสารเจ้า 1 หยิบมือ เติมน้าคั้นให้ได้ 1 แก้ว กรองด้วยผ้าขาวบาง ใส่เกลือและน้าตาลเล็กน้อยพอ ดื่มง่ายให้หมดทั้งแก้ว ทาให้อาเจียนออกมา จะช่วยให้ดีขึ้น 4. ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ ใช้หัวย่านางเคี่ยวกับน้า 3 ส่วน ให้เหลือ 1 ส่วนดื่มครั้งละ 1-2 แก้ว
  • 8. การใช้เป็นยาพื้นบ้านในภาคอีสาน 1. ใช้ราก ต้มเป็นยาแก้อีสุกอีใส ตุ่มผื่น 2. ใช้รากย่านางผสมรากหมาน้อย ต้มแก้ไข้มาลาเรีย 3. ใช้ราก ต้มขับพิษต่างๆ รสและคุณค่าทางโภชนาการ ใบย่านางรสจืด คุณค่าทางโภชนาการ ข้อมูลจากหนังสือ Thai Food Composition Institute of Nutrition, Mahidol University (สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล) พบว่า ปริมาณ สารสาคัญที่มีมากและโดดเด่นในใบย่านาง คือ ไฟเบอร์ แคลเซียม เหล็ก เบต้าแคโรทีน วิตามินเอ ใบย่านาง 100 กรัม ให้คุณค่าโภชนาการดังนี้ พลังงาน 95 กิโลแคลอรี่ เส้นใย 7.9 กรัม แคลเซียม 155 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 11 มิลลิกรัม เหล็ก 7.0 มิลลิกรัม วิตามินเอ 30625 IU วิตามินบีหนึ่ง 0.03 มิลลิกรัม วิตามินบีสอง 0.36 มิลลิกรัม ไนอาซิน 1.4 มิลลิกรัม วิตามินซี 141 มิลลิกรัม หรือโปรตีน 15.5 เปอร์เซนต์ ฟอสฟอรัส 0.24 เปอร์เซนต์ โพแทสเซียม 1.29 เปอร์เซนต์ แคลเซียม 1.42 เปอร์เซนต์ ADF 33.7 เปอร์เซนต์ NDF 46.8 เปอร์เซนต์ DMD 62.0 เปอร์เซนต์ แทนนิน 0.21 เปอร์เซ็นต์ ประโยชน์ทางอาหาร ย่านาง มีทุกฤดูกาล ให้ยอดมากในฤดูฝน และให้ผลในฤดูแล้ง ส่วนที่กินและการปรุงอาหาร คนไทยนิยมใช้ใบย่านางคั้นเอาน้าปรุงอาหารต่างๆ เช่น แกงหน่อไม้ ซุบหน่อไม้ (ย่านางสามารถต้านพิษกรดยูริกในหน่อไม้ได้) แกงอ่อม แกงเห็ด หรือขยี้ใบสดกับหมา น้อย รับประทานถอนพิษร้อนต่างๆ ภาคอีสาน เถาและใบของย่านางนิยมใช้เป็นเครื่องปรุงรส ใช้แต่งสีเขียวในอาหารคาว และช่วยทาให้น้า แกงข้นมากขึ้นด้วย นอกจากนี้ยังสามารถนาไปประกอบเป็นอาหารต่างๆ ดังนี้ 1. เถา ใบอ่อน ใบแก่ ตา คั้นเอาน้าสีเขียว นาไปต้มกับหน่อไม้ ปรุงเป็นแกงหน่อไม้ ซุบ หน่อไม้ แกงต้มเปรอะ เชื่อว่าย่านางจะช่วยลดรสขม ของหน่อไม้ได้ดี ทาให้หน่อไม้มีรสหวานอร่อย
  • 9. 2. นาไปแกงกับยอดหวาย 3. นาไปแกงกับขี้เหล็ก 4. นาไปใส่แกงขนุน แกงผักอีลอก 5. นาไปอ่อมและหมก ข้อควรระวัง (ขลา) ต้องทาให้สุก เป็นที่น่าสังเกตว่า คนอีสานไม่มีข้อห้ามในการกินหน่อไม้ในคนที่สูงอายุ ซึ่งแตกต่างจากทาง ภาคอื่นๆ ที่มีข้อห้ามในการบริโภคหน่อไม้ เมื่อมีอายุมากขึ้น โดยเชื่อกันว่าหน่อไม้มีผลทาให้ปวดข้อ แต่คนอีสานมีวัฒนธรรมการกินหน่อไม้คู่กับย่านางเสมอ จึงไม่มีปัญหาเหมือนการกินหน่อไม้ของภาค อื่นๆ ภาคใต้ 1. ใช้ยอด ใบเพสลาด (ไม้อ่อน ไม่แก่เกินไป) นาไปแกงเลียง ผัด แกงกะทิ 2. ผลสุก ใช้กินเล่น ภาคเหนือ 1. ยอดอ่อน นามาลวกเป็นผักจิ้มน้าพริก 2. ยอดอ่อน ใบแก่ คั้นน้านามาใส่แกงพื้นเมือง เช่น แกงหน่อไม้ แกงแค ประโยชน์ใช้สอยอื่นๆ 1. น้าสีเขียวจากใบย่านางนาไปใช้ย้อมผ้าได้อีกด้วย 2. ใช้เป็นอาหารสัตว์ เช่น กระบือ 3. เถา มีความเหนียว ใช้มัดสัมภาระได้ สรรพคุณใบย่านาง 1. ใบย่านาง ในตาราสมุนไพรจัดว่าเป็นยาอายุวัฒนะ 2. มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระจานวนมาก จึงช่วยลดและชะลอการเกิดริ้วและความแก่ชรา อย่างได้ผล
  • 10. 3. ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านโรคในร่างกายให้แข็งแรง 4. ช่วยเพิ่มความสดชื่นให้กับร่างกาย 5. ช่วยฟื้นฟูเซลล์ต่าง ๆในร่างกาย 6. ช่วยในการปรับสมดุลของร่างกาย 7. เป็นสมุนไพรที่ช่วยในการลดความอ้วนได้อย่างเห็นผลและปลอดภัย 8. ช่วยในการเผาผลาญไขมันและนาไปใช้เป็นพลังงาน 9. ช่วยป้องกันและลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งชนิดต่าง ๆ 10. เป็นสมุนไพรที่มีฤทธิ์เย็นเหมาะสาหรับผู้ที่เป็นมะเร็งอย่างมาก 11. หากดื่มน้าใบย่านางเป็นประจา ก้อนมะเร็งจะฝ่อและเล็กลง 12. ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูง 13. ช่วยป้องกันการเกิดโรคหัวใจ 14. ช่วยในการบารุงรักษาตับ และไต 15. ช่วยรักษาและบาบัดอาการอัมพฤกษ์ 16. ช่วยแก้อาการอ่อนล้า อ่อนเพลียของร่างกาย แม่นอนพักก็ไม่หาย 17. ช่วยรักษาอาการเกร็ง ชัก หรือเป็นตะคริวบ่อย ๆ
  • 11. บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินการ วัสดุอุปกรณ์ 1. ใบย่านาง 2. น้าตาล 3. น้า 4. ชาม 5. บีกเกอร์ 6. กระทะ 7. เตา 8. ตะแกรง วิธีทดลอง ตอนที่ 1 ศึกษาวิธีการทาให้เป็นผง 1. นาใบย่านางมาเด็ดใบออกจากเถาก่อนแล้วนาใบย่านางไปชั่งปริมาณ 600 กรัม แบ่งเป็น 3 ส่วน ดังนี้ กะละมังใบที่ 1 ใช้ใบย่านาง 200 กรัม กะละมังใบที่ 2 ใช้ใบย่านาง 200 กรัม กะละมังใบที่ 3 ใช้ใบย่านาง 200 กรัม 2. นาใบย่านางทีได้ไปล้างด้วยน้าเปล่าให้สะอาด 3. เติมน้าดื่มปริมาตร 1,800, 1,800 และ 1,800 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงไปในกะละมังที่มี ใบย่านางอยู่ทั้ง 3 ใบ และคั่นใบย่างจนกระทั่งได้น้าที่เขียวเข้ม 4. กะละมังใบที่ 1 เติมน้าตาล 100 กรัม ใบที่ 2 เติมเกลือ 100 กรัม ใบที่ 3 ไม่เติมอะไร นาไปต้มและเคี้ยวจนแห้ง 5. ทิ้งไว้ให้เย็น สังเกตลักษณะของผงของใบย่านาง ตอนที่ 2 หาอัตราส่วนที่เหมาะสม 1. นาใบย่านางมาเด็ดใบออกจากเถาก่อนแล้วนาใบย่านางไปชั่งปริมาณ 500 กรัม นาใบย่านางทีได้ไปล้างด้วยน้าเปล่าให้สะอาด แบ่งเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 200 ,200 ,100 กรัม ใส่ไว้ในกะละมังตามลาดับ 2. เติมน้าดื่มปริมาตร 1,800 ลูกบาศก์เซนติเมตร และคั่นใบย่างจนกระทั่งได้น้าที่เขียวเข้ม 3. นาไปต้มจนเดือดแล้วนาน้าตาลปริมาณ 100, 200, และ 300 กรัม (อัตราส่วน(2:1) คือ ใช้ใบย่านาง 200 กรัม น้าตาล 100 กรัม อัตราส่วน(1:1) คือ ใช้ใบย่านาง 200 กรัม น้าตาล 200 กรัม และอัตราส่วน (1:2) คือ ใช้ใบย่านาง 100 กรัม น้าตาล 200 กรัม เคี่ยวเป็นเวลา 1.30 ชั่วโมง 4. ทิ้งไว้ให้เย็น สังเกตลักษณะของผงของใบย่านาง
  • 12. บทที่ 4 ผลการทดลอง ผลการทดลอง ตอนที่ 1 การศึกษาวิธีการผลิตใบย่านางผง วัสดุที่ใช้ เวลาที่ใช้ต้ม (นาที) ลักษณะของผงใบย่านาง น้าใบย่านางสด + น้าตาล 90 ผงใบย่านางมีลักษณะ สีเขียวอ่อน มีกลิ่นหอม รสหวานเล็กน้อย น้าใบย่านางสด + เกลือ 90 ผงใบย่านางมีลักษณะสีเขียวเข้ม และมีรสเค็มและขม น้าใบย่านางสด 90 ไม่มีผงใบย่างนางเกิดขึ้น น้าใบย่านางแห้ง เป็นแผ่นติดกระทะ จากตาราง พบว่า ใบย่านางสามารถนามาผลิตเป็นผงได้จริง โดยใช้น้าตาลและเกลือเป็น ส่วนผสม ซึ่งใบย่านางผงที่สามารถนามารับประทานได้ คือ ใบย่านางผง ที่ผลิตจาก น้าใบย่านางสด ผสมน้าตาล ไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ลักษณะของใบย่านางผง
  • 13. ตอนที่ 2 การหาอัตราส่วนที่เหมาะสม ของใบย่านาง ต่อ น้าตาล อัตราส่วน ผลที่ได้ นาไปใช้ประโยชน์ใบย่านาง : น้าตาล 1:1 ผงละเอียด สีเขียวเข้ม มีรสชาติหวานเล็กน้อย ใกล้เคียงกับน้าย่านางสด สามารถนาไปใช้แกงได้ เช่น แกงหน่อไม้ แกงหวาน เป็น ต้น 1:2 ผงค่อนข้างละเอียด สีเขียวอ่อน มีรสชาติหวานมาก สามารถนาไปชงเป็น เครื่องดื่มสมุนไพรดื่มได้ 2:1 ผงละเอียดมาก สีเขียวเข้ม มีรสชาติใกล้เคียงกับน้าใบ ย่านางสด สามารถนาไปแกงได้ เช่น แกงหน่อไม้ แกงเลียง แกง หวาน ซุปหน่อไม้ เป็นต้น จากตาราง พบว่า อัตราส่วนที่เหมาะสาหรับ การทาใบย่านางผง เพื่อใช้เป็นเครื่องดื่ม สมุนไพร คือ อัตราส่วน 1 : 2 และอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตใบย่านางผงเพื่อใช้ในการ ประกอบอาหาร คือ อัตราส่วน 2 : 1 และ อัตราส่วน 1 : 1 เพราะมีลักษณะใกล้เคียงกับใบย่านาง สดมากที่สุด นั่นแสดงว่า ใบย่านาง สามารถนามาผลิตเป็นใบย่านางผง เพื่อใช้เป็นเครื่องดื่ม และ ประกอบอาหารได้จริง เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
  • 14. บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง สรุปผลการทดลอง การนาใบย่านางสด มาทาเป็นผง สามารถทาได้โดยนาใบย่านางสด มาคั่นกับน้า ในปริมาตร 1,800 ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้วผสมน้าตาล เคี่ยวจนแห้ง จะได้ใบย่านางผงที่มีกลิ่นหอม รสชาติหวานเล็กน้อย มีสีเขียวเข้มใกล้เคียงกับน้าใบย่านางสด ใช้เป็นเครื่องดื่มสมุนไพร และใช้ ประกอบอาหารได้จริง ซึ่งส่งผลให้สามารถลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว อีกทั้งยังสืบทอดพระราชดารัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และสอดคล้องกับคาขวัญวันวิทยาศาสตร์ไทย 18 สิงหาคม 2558 ที่ว่า “จุดประกาย ความคิด พัฒนาชีวิตด้วยวิทยาศาสตร์ สร้างชาติด้วยเทคโนโลยี สู่วิถีแห่งนวัตกรรม” อภิปรายผลการทดลอง 1. จากการนาใบย่านางสด มาคั้นกับน้าปริมาตร 1,800 ลูกบาศก์เซนติเมตร จนกระทั่งได้น้าใบย่านางสดที่มีสีเขียวเข้ม และนาไปเคี่ยวกับน้าตาลจนกระทั้งแห้ง ใช้เวลาประมาณ 90 นาที พบว่า น้าใบย่านางสด กลายเป็นผงใบย่านางที่มีลักษณะสีเขียวเข้ม 2. จากการหาอัตราส่วนของใบย่านางสด ต่อ น้าตาล ที่เหมาะสมในการทาใบย่านาง ผง พบว่า อัตราส่วนที่เหมาะสาหรับ การทาใบย่านางผง เพื่อใช้เป็นเครื่องดื่มสมุนไพร คือ อัตราส่วน 1 : 2 และอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตใบย่านางผงเพื่อใช้ในการประกอบอาหาร คือ อัตราส่วน 2 : 1 และ อัตราส่วน 1 : 1 เพราะมีลักษณะใกล้เคียงกับใบย่านางสดมากที่สุด นั่นแสดงว่า ใบย่านางสด สามารถนามาผลิตเป็นใบย่านางผง เพื่อใช้เป็นเครื่องดื่ม และประกอบ อาหารได้จริง เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ประโยชน์ที่ได้รับ 1. รู้วิธีการผลิตใบย่านางผง 2. ได้ใบย่านางผง ที่เป็นเครื่องดื่มสมุนไพร 3. ได้ใบย่านางผง ที่ใช้ประกอบอาหารประเภทแกงหน่อไม้ ซุบหน่อไม้ เป็นต้น 4. ประหยัดและช่วยลดค่าใช้จ่ายภายในบ้าน 4. ถนอมอาหรที่เป็นพืชไว้ใช้ได้นาน และรวดเร็ว ข้อเสนอแนะ 1. อาจใช้ใบหรือดอกพืชชนิดอื่น ทาเป็นผงสมุนไพรได้ เช่น ใบย่านางแดง ใบมะกรูด ใบขิง ดอกขิง ดอกอัญชัญ ใบผักปลัง เป็นต้น 2. อาจใช้น้าอ้อย หรือน้าตาลสด แทนน้าตาลทราย ในการทดลองครั้งต่อไป
  • 15. บรรณานุกรม ชาตรี เกิดธรรม. เทคนิคการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์. ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์. เอกสารอัดสาเนาม, 2548. จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย.โรงเรียน.ตัวอย่างบทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์.ชลบุรี. เอกสารอัดสาเนา, 2552. พรพรรณ. สมุนไพรในครัว. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2541. ศิรินยา. พืชผักรักษาโรค. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2545. สุวิทย์ วรรณศรี.เทคนิคการทาโครงงานนักเรียน.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา,2554. สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์, กระทรวงสาธารณสุข. ผักพื้นบ้านความหมายและ ภูมิปัญญาของสามัญชนไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ ทหารผ่านศึก,2540. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา ประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ตามแนวพระราชดาริ เศรษฐกิจพอเพียง,2555.
  • 17. ภาพแสดงขั้นตอนการทาใบย่านางผง ขั้นที่ 1 ชั่งใบย่านาง 200 กรัม ขั้นที่ 2 ล้างใบย่านางให้สะอาด ขั้นที่ 3 ขยี้ใบย่านางฉีกออกจากกันเป็นชิ้นเล็กๆ ขั้นที่ 4 กรองกากใบย่านางทิ้ง ขั้นที่ 5 ได้น้าใบย่านางสีเขียวเข้ม
  • 18. ขั้นที่ 6 นาไปตั้งไฟเคี่ยวบนเตาถ่าน ขั้นที่ 7 เติมน้าตาลเคี่ยวไปเรื่อยๆจนแห้งกลายเป็นผง ขั้นที่ 8 ลักษณะผงใบย่านาง
  • 20. รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง เรื่อง ใบย่านางผง โดย 1. เด็กหญิงกัญญารัตน์ ทรายคา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 2. เด็กหญิงไพริน พรมแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 3. เด็กหญิงอนุลักษณ์ แสงราช ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ครูที่ปรึกษา นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล นางสาวลลิตา ผ่องผิว โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เนื่องในงานมหกรรมวิชาการเฉลิมพระเกียรติฯ ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 25-27 สิงหาคม พ.ศ.2558