SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
โครงงานวิทยาศาสตร์
เรื่อง เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โดย ๑. นางสาวณิชากรณ์ แสงมณี
๒. นายปองคุณ ศรีสุทธะ
๓. นายภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ประเภท ทีม
ในการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ เนื่องในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
วันที่ ๑๗ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จัดโดยสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
โครงงานวิทยาศาสตร์
เรื่อง เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โดย ๑. นางสาวณิชากรณ์ แสงมณี
๒. นายปองคุณ ศรีสุทธะ
๓. นายภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์เทวิน มูลวรรณ์
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | ก
โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์(ฟิสิกส์)
ประเภท ทีม
ชื่อเรื่อง เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
ชื่อผู้จัดทา ๑. นางสาว ณิชากรณ์ แสงมณี
๒. นาย ปองคุณ ศรีสุทธะ
๓. นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ เทวิน มูลวรรณ์
โรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย ที่อยู่ 238 ถนน พระปกเกล้า ตาบล ศรีภูมิ อาเภอ เมือง
จังหวัด เชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์50200 โทรศัพท์053-418673-5
ระยะเวลาทาโครงงาน ตั้งแต่ เดือนตุลาคม พ.ศ.2559 ถึง เดือนมิถุนายน พ.ศ.2560
บทคัดย่อ
การจัดทาโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดเพื่อการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
สร้างเครื่องมือที่ผ่อนแรงของเกษตรกรในการหยอดเมล็ดทั้งการย่นระยะเวลาให้หยอดเมล็ดและฝัง
กลบได้อย่างรวดเร็วมากขึ้น รวมทั้งยังใช้ต้นทุนการผลิตที่ต่าและสามารถนาวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่ได้ใช้
แล้วมาสร้างสรรค์นวัตกรรมให้เป็นประโยชน์โดยอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ และ
วิศวกรรมศาสตร์มาประยุกต์เพื่อนวัตกรรมการเกษตรตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 รวมทั้งยังเป็นการ
สร้างนวัตกรรมเครื่องมือเพื่อสนับสนุนเกษตรกรไทย
ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้คิดเครื่องหยอดเมล็ดเพื่อช่วยลดระยะเวลาในการปลูกข้าวโพดโดยเริ่ม
จากการใช้ท่อ PVC เป็นองค์ประกอบหลักในการประดิษฐ์รวมทั้งวัสดุเหลือใช้ อาทิเช่น ล้อจาก
จักรยาน ขวดพลาสติก เศษเหล็กเหลือใช้ โดยการนาท่อ PVC มาเป็นโครงของเครื่องและที่กลบ
หลุมของเมล็ด นาแท่งเหล็กมาสร้างเป็นที่เจาะดินโดยมีฟันเฟืองภายในตัวเครื่องซึ่งทาจากไม้อัด
ทาหน้าที่เป็นที่คัดเมล็ด ผลจากการทดลองพบว่าเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดสามารถทางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพโดยเมล็ดสามารถลงตรงหลุมที่เจาะได้อย่างแม่นยา คิดเป็น ร้อยละ 100
ดังนั้นเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดจึงสามารถนาไปใช้ได้จริงในด้านการเกษตร (การปลูก
ข้าวโพด) และสามารถย่นระยะเวลาในการหยอดเมล็ดและการฝังกลบได้มากโดยใช้เวลาประมาณ
50 นาทีต่อ 1 ไร่ ซึ่งเป็นการนาความรู้ในด้านฟิสิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ และหลักการทางวิทยาศาสตร์
มาประยุกต์เพื่อแก้ไขปัญหาของเกษตรกรไทยได้อย่างลงตัวจึงได้รับความสนใจเป็นอย่างมากโดย
สิ่งประดิษฐ์นี้จะเป็นจุดเล็กๆที่สร้างนวัตกรรมเพื่อการเกษตรได้ในอนาคตต่อไป
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเครื่องยอดเมล็ดข้าวโพดฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีได้ด้วยความ
สนับสนุนของ อาจารย์ เทวิน มูลวรรณ์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ที่ให้คาแนะนาต่างๆ การสนับสนุนงบประมาณและอุปกรณ์สาหรับการ
ทดลองโครงงาน คณะผู้จัดทาขอกราบขอบพระคุณมา ณ ที่นี้
ขอกราบขอบพระคุณท่าน ผู้อานวยการ บุญเสริญ สุริยา ผู้อานวยการ โรงเรียนยุพราช
วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ที่คอยสนับสนุนงบประมาณและคอยให้คาปรึกษาที่ดีมาโดยตลอด
ขอกราบขอบพระคุณ นาย วีระพันธ์ ยาวิธี ผู้สนับสนุนช่วยเหลือด้านการประกอบเครื่อง
การเชื่อมเหล็กรวมถึงเอื้อเฟื้อสถานที่ให้แก่คณะผู้จัดทาโครงงาน
ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่กรุณาให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนรวมถึงเอื้อเฟื้อ
สถานที่เป็นอย่างดีแก่คณะผู้จัดทาโครงงานมาตลอด
ขอขอบคุณเพื่อนๆ ตลอดจนผู้อยู่เบื้องหลังโครงงานนี้ทุกคนที่คอยเป็นกาลังใจ ช่วยเหลือ
และให้คาปรึกษามาโดยตลอด
ความสาเร็จ ความภาคภูมิใจ คุณค่าและประโยชน์ของโครงงานวิทยาศาสตร์ฉบับนี้
ขอมอบบูชาแด่พระคุณบิดามารดาผู้ให้กาเนิด ครูอาจารย์ผู้ประสิทธ์ประสาทความรู้วิชา ตลอดจนผู้
มีพระคุณทุกท่าน
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | ค
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญภาพ ง
สารบัญตาราง จ
บทที่ 1 บทนา
ที่มาและความสาคัญ 1
วัตถุประสงค์ 2
ขอบเขตการศึกษา 2
สถานที่ทาการทดลอง 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
สมมติฐาน 3
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 3
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4
บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์ 7
ขั้นตอนการดาเนินงาน 7
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
กลไกการทางานของเครื่อง 12
ผลการศึกษาค้นคว้า 12
บทที่ 5 สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
อภิปรายผลและสรุปผลการทดลอง 15
ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการดาเนินงาน 15
ข้อเสนอแนะ 16
ภาคผนวก 17
เอกสารอ้างอิง ฉ
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | ง
สารบัญภาพ
หน้า
ภาพที่ 1 : ภาพฟันเฟืองคัดเมล็ด 8
ภาพที่ 2 : ภาพส่วนกลางของตัวเครื่อง 8
ภาพที่ 3 : ภาพเมื่อประกอบโดยสมบูรณ์ 8
ภาพที่ 4 : การนาท่อมาครอบทับท่อเล็กอีกครั้งหนึ่ง 9
ภาพที่ 5 : นาแท่งเหล็กทั้ง 5 อันมาเชื่อมติดกับแผ่นเหล็กที่ท่อใหญ่โดยห่างกัน
แท่งละ 72 องศา 9
ภาพที่ 6 : เหล็กเส้นที่ดัดเป็นวงมาติดกับแท่งเหล็กทั้ง 5 แท่งเพื่อเพื่อควบคุมความลึก
ของหลุมให้มีความลึก 2.5 นิ้ว 10
ภาพที่ 7 : นาแผ่นเหล็กที่ดัดเพื่อครอบท่อใหญ่ติดกับท่อใหญ่โดยการยิงตะปูติดกับท่อ 10
ภาพที่ 8 : เจาะรูที่ท่อกลางบริเวณ 1/3 ของท่อด้านที่ไม่มีท่อใหญ่ครอบ
เพื่อเสียบท่อทาเป็นที่เข็นเครื่อง 10
ภาพที่ 9 : ใช้กาวติดท่อติดกับข้อต่อทั้งสองอันแล้วใช้เข็มขัดรัดท่อรัดทั้งหัว
และท้ายของท่อเพื่อความแข็งแรง 11
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | จ
สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1 : ตารางบันทึกผลการทดลองครั้งที่ 1 13
ตารางที่ 2 : ตารางบันทึกผลการทดลองครั้งที่ 2 14
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 1
บทที่ 1
บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจากในปัจจุบันข้าวโพดเป็นพืชเศรษฐกิจและพืชส่งออกที่สาคัญของประเทศไทย
รวมถึงนานาประเทศในแถบภูมิภาคเอเชีย การส่งออกผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานของไทยมีแนวโน้ม
เติบโตอย่างต่อเนื่อง อันเป็นผลมาจากผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานของไทยสามารถแข่งขันได้ทั้งใน
ด้านราคาและคุณภาพ โดยปัจจุบันไทยมีการส่งออกผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานมากเป็นอันดับ 3 ของ
โลก ปัจจุบันพื้นที่ปลูกข้าวโพดหวานในประเทศไทยมีประมาณ 737,500 ไร่ เนื่องจากหลากหลาย
ปัจจัยหนุน กล่าวคือ การส่งออกที่มีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง จึงทาให้การปลูกข้าวโพดหวาน
ในประเทศมีการขยายตัวอย่างมาก รองรับกับความต้องการของผู้ผลิตและผู้ส่งออกที่มีการขยายการ
ลงทุนในการผลิตผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานและขยายการลงทุนในการปลูกข้าวโพด โดยข้าวโพด
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในหลายๆด้าน เช่น นาไปเลี้ยงสัตว์ รวมทั้ง การแปรรูปเพื่อความ
ต้องการของตลาด เป็นต้น
ในปัจจุบันเทคโนโลยีการปลูกข้าวโพดมีราคาสูง จึงทาให้เกษตรกรที่มีกาลังทรัพย์ไม่
เพียงพอไม่สามารถซื้อมาใช้เพื่อผ่อนแรงในงานเกษตรของตนเองได้ส่งผลให้ต้องใช้ทรัพยากร
บุคคลเป็นจานวนมากจึงทาให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นตามไปด้วย ดังนั้นเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดจึง
พยายามหาวิธีแก้ไขปัญหาและแก้ไขปัญหาโดยการใส่ปุ๋ ยเร่งการผลิตซึ่งเป็นการเพิ่มต้นทุนการผลิต
สูงยิ่งขึ้นไปอีก โดยที่เกษตรกรยังมองข้ามบางขั้นตอนที่สามารถลดต้นทุนการผลิตได้
ทางคณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นถึงปัญหาข้างต้น จึงได้เริ่มศึกษาปัญหาอย่างถ่องแท้พบว่าตั้งแต่
ขั้นตอนการผลิตคือขณะที่หยอดเมล็ดเป็นขั้นตอนที่ค่อนข้างทาช้าจาทาให้ต้องใช้ทรัพยากรบุคคล
จานวนมากในขั้นตอนนี้ ทางคณะผู้จัดทาจึงได้ริเริ่มออกแบบและประดิษฐ์เครื่องหลอดเมล็ด
ข้าวโพด ที่ช่วยผ่อนแรงในขั้นตอนนี้มาก และใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่แล้วจึงใช้ค่าใช้จ่ายต่า และจะทา
ให้เข้าถึงเกษตรกรได้ง่ายมากขึ้น
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 2
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อนาหลักการทางฟิสิกส์มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
1.2.2 เพื่อศึกษาหลักการทางานของเครื่องกล
1.2.3 เพื่อลดต้นทุนและบุคลากรในการปลูกข้าวโพด
1.2.4 เพื่อย่นระยะเวลาในการหยอดเมล็ด
1.2.5 เป็นการฝึกการออกแบบเชิงวิศวกรรมเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมตามนโยบายThailand4.0
1.2.6 เพื่อสร้างนวัตกรรมสาหรับเกษตรกรไทย
1.3 ขอบเขตการศึกษา
การศึกษาโครงงานประดิษฐ์เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด ต้องการศึกษาและประดิษฐ์เฉพาะการ
หว่านเมล็ด ข้าวโพดในไร่ที่พรวนดินแล้วเท่านั้น การศึกษาและประดิษฐ์เครื่องหว่านเมล็ด
กาหนดเวลาที่ใช้ในการศึกษา ระหว่างเดือน ตุลาคม 2559 – มิถุนายน 2560 ในภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2559 และภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2560 ณ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ตาบลศรีภูมิ
อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50000 ประเทศไทย
1.4 สถานที่ทาการทดลอง
แปลงเพาะปลูก โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง จังหวัดชียงใหม่
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.5.1 สามารถประยุกต์หลักการทางฟิสิกส์และวิศวกรรมมาใช้ในการเกษตร
1.5.2 สามารถลดต้นทุนในการจ้างแรงงานเพื่อปลูกข้าวโพดได้
1.5.3 สามารถลดเวลาในการหยอดเมล็ด
1.5.4 สามารถสร้างนวัตกรรมการเกษตรเพื่อนาไปใช้ได้จริงตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 3
1.6 สมมติฐาน
ในการใช้เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดหยอดเมล็ดข้าวโพดในไร่ เมล็ดสามารถลงตรงหลุม
ที่เจาะได้ตรงทุกเมล็ด หรือคลาดเคลื่อนเล็กน้อย
1.7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลการทดลองเป็นไปตามสมมุติฐาน และเครื่องหยอดเมล็ดมีประสิทธิภาพการทางาน
เป็นไปตามระบบที่ได้วางแผนเอาไว้ โดยสิ่งประดิษฐ์นี้สามารถช่วยเหลือเกษตรกรโดยย่น
ระยะเวลาในการปลูกข้าวโพดและลดต้นทุนรวมทั้งทรัพยากรบุคคลในการปลูกข้าวโพดได้อย่าง
มาก ทั้งนี้สิ่งประดิษฐ์นี้จะเป็นจุดเล็กๆที่สร้างนวัตกรรมเพื่อการเกษตรได้ในอนาคต
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 4
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ในวิชาฟิสิกส์ ใน เรื่อง การทาเครื่องหยอดเมล็ด ผู้จัดทา
โครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
2.1 ความหมายของข้าวโพด
2.2 วิธีการปลูกข้าวโพดในไร่
2.3 ทฤษฏีบทเกี่ยวกับวงกลม
2.1 ความหมายของข้าวโพด
Class : Angiospermae
Subclass : Monocotyledoneae
Family : Gramineae
Sub-family : Panicoideae
Tribe : Maydeae
Genus : Zea
Species : mays
Scientific name : Zea mays
Common name : Maize, Corn
วงศ์ : Poaceae (Rutaceae)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zea mays L.
ชื่อไทย : ข้าวโพด
ข้าวโพดเป็นพืชในเผ่า (tribe) Maydeae ซึ่งลักษณะสาคัญของพืชในเผ่านี้คือ มีดอกตัวผู้
และดอกตัวเมียอยู่แยกกัน แต่อยู่ในต้นเดียวกัน (monoecious) ข้าวโพดซึ่งเป็นพืชปลูกเพียงชนิด
เดียวในเผ่านี้ จะมีช่อดอกตัวผู้ทางปลายยอด และมีช่อดอกตัวเมียอยู่บนแกน ซึ่งแตกจากด้านข้าง
ของลาต้น การที่ดอกอยู่แยกกันเช่นนี้อีกทั้งการที่ดอกตัวผู้โปรยละอองเกสรก่อนที่ stigma ของดอก
ตัวเมียแก่พร้อมจะผสมทาให้ดอกตัวเมียส่วนใหญ่จะถูกผสมข้ามต้น
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 5
2.2 วิธีการปลูกข้าวโพดในไร่
ฤดูปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม
ต้นฤดูฝน ปลูกได้ตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคม-ต้นเดือนมิถุนายน ตามสภาพฝนแต่ละพื้นที่
ปลายฤดูฝน ปลูกได้ตั้งแต่กลางเดือนกรกฎาคม-กลางเดือนสิงหาคม
ฤดูแล้ง ปลูกได้ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธ์
การเตรียมดิน สาหรับปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
วัตถุประสงค์ของการเตรียมดิน เพื่อให้ผิวดินอ่อนตัว และห่อหุ้มเมล็ดข้าวโพดให้ชื้นอยู่
เสมอ และให้ดินมีอากาศถ่ายเทสะดวก และทาลายเหง้าวัชพืชให้แห้งตายและฝังกลบซากวัชพืชเดิม
ให้จมดิน การไถพรวนควรไถอย่างน้อย 2 ครั้ง ภายใต้หลักการ ไถดะให้ลึก ไถแปรให้ดินแตก
ละเอียด
1. ไถดะ การไถด้วยผาน 3 หรือผาน 4 ควรไถให้ลึกประมาณ 30 ซม.เพราะการไถลึก จะทา
ให้ดินเก็บน้าได้มาก และตากดินไว้ประมาณ 10-15 วัน เพื่อทาลายวัชพืชและศัตรูพืชในดินบางชนิด
2. ไถแปร ควรไถด้วยผาน 7 โดยไถขวางรอยเดิมของไถดะเพื่อย่อยดินก้อนใหญ่ให้แตก ทา
ให้ดินมีความร่วนซุยมากยิ่งขึ้น เพื่อให้เมล็ดพันธุ์งอกได้อย่างสม่าเสมอ
การปลูกและระยะปลูก ทาได้2 วิธี ดังนี้
1. ใช้เครื่องปลูก เลือกรูจานหยอดให้เหมาะกับขนาดของเมล็ดพันธุ์ ซึ่งจะระบุไว้ที่ถุง
โดยทั่วไปจะใช้ระยะห่างระหว่างแถว 75 ซม. ระยะระหว่างหลุมประมาณ 20-25 ซม. โดยปริมาณ
เมล็ดที่ใช้จะประมาณ 3-3.5 กก./ไร่ และ จะมีจานวนต้นข้าวโพด/ไร่ ประมาณ 8,533-10,600 ต้นต่อ
ไร่ ควรหยอดเมล็ดข้าวโพดให้ลึก 2.5-3 นิ้ว
2. ใช้คนปลูก ในหลายพื้นที่โดยเฉพาะทางภาคเหนือ จะใช้เชือกในการกาหนดระยะให้มี
ระยะห่างระหว่างร่องประมาณ 70 ซม. แล้วใช้จอบขุด หยอดเมล็ด 1-2 เมล็ดแล้วกลบ โดยจานวน
เมล็ดที่หยอดและระยะห่างระหว่างหลุม ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ว่า สายพันธุ์นั้นเหมาะกับการปลูกถี่ได้ดี
เพียงใด
การทดสอบความชื้นของดินว่าเพียงพอหรือไม่ ให้นาดินที่ระดับความลึกที่ใช้หยอดเมล็ด
จริงมาปั้น หากปั้นเป็นก้อนได้แสดงว่าความชื้อพอเหมาะ
ควรทาการทดสอบเครื่องหยอด, รูจานหยอด กับเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูกจริง ว่าได้ตามระยะที่
ต้องการหรือเปล่า ถ้าหากถี่หรือห่างเกินไป จะได้เปลี่ยนจานที่มีจานวนรูจานตามต้องการ
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 6
ความลึกในการหยอดเมล็ด ขึ้นอยู่กับความชื้น, ประเภทของดิน รวมถึงประสบการณ์ของ
เจ้าของแปลงซึ่งโดยทั่วไป หยอดลึกไม่เกิน 4-5 ซม.
2.3 ทฤษฏีบทเกี่ยวกับวงกลม
วงกลม (Circle)
1. วงกลม เป็นรูปเรขาคณิตบนระนาบซึ่งทุกๆ จุดบนรูปเรขาคณิตนี้อยู่ห่างจากจุดคงที่จุด
หนึ่งบนระนาบเดียวกันเป็นระยะเท่ากันเรียกจุดคงที่นี้ว่า จุดศูนย์กลาง (Center)
2. รัศมี (Radius) คือระยะจากจุดศูนย์กลางถึงเส้นรอบวง
3. เส้นผ่านศูนย์กลาง (Diameter) คือความยาวเส้นตรงที่ผ่านจุดศูนย์กลางวงกลมโดยที่
ปลายทั้งสองจรดเส้นรอบวง และความยาวเป็น 2 เท่าของรัศมี
4. คอร์ด (Chord) คือ เส้นตรงภายในวงกลมโดยปลายทั้งสองจรดเส้นรอบวง และเส้นผ่าน
ศูนย์กลางเป็นคอร์ดที่ยาวที่สุด
5. เส้นตัดวงกลม (secant line) คือเส้นตรงที่ตัดวงกลมสองจุด
6. เส้นสัมผัสวงกลม (Tangent line) คือเส้นตรงที่ตัดวงกลมเพียงจุดเดียวเท่านั้นและเรียก
จุดตัดนั้นว่า จุดสัมผัส (point of tangency)
O เป็นจุดศูนย์กลาง
OA เป็นรัศมีวงกลม
BC เป็นเส้นผ่านศูนย์กลางวงกลม
DE เป็นคอร์ดของวงกลม
L1 เป็นเส้นตัดวงกลม โดยตัดวงกลมที่จุด F และ G
L2 เป็นเส้นสัมผัสวงกลมที่จุด H
7. มุมที่จุดศูนย์กลาง (Central angle) คือมุมที่มีจุดศูนย์กลางของวงกลม เป็นจุยอดมุมและ
แขนทั้งสองของมุมตัดวงกลม
8. มุมในส่วนโค้งของวงกลม (Inscribed angle) คือมุมที่มีจุดยอดมุมอยู่บนวงกลม และแขน
ทั้งสองของมุมตัดวงกลม
9. มุมในครึ่งวงกลม คือมุมที่มีจุดยอดอยู่บนวงกลมและแขนทั้งสองของมุมผ่านจุดปลายทั้ง
สองของเส้นผ่านศูนย์กลางเส้นหนึ่ง
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 7
บทที่ 3
ขั้นตอนการดาเนินงาน
ในการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ในสาขาวิชาฟิสิกส์ การทาเครื่องหยอดเมล็ด ผู้จัดทา
โครงงานได้มีวิธีการดาเนินงานโครงงานดังนี้
3.1 วัสดุอุปกรณ์
3.1.1 ท่อ PVC 2.5 นิ้ว ยาว 0.18 เมตร (ท่อใหญ่)
3.1.2 ท่อ PVC 2.5 นิ้ว ยาว 0.3 เมตร (ท่อใหญ่)
3.1.3 ท่อPVC 2 นิ้ว ยาว 0.36 เมตร (ท่อกลาง)
3.1.4 ท่อ PVC 4 หุน ยาว 0.5 เมตร (ท่อเล็ก)
3.1.5 ข้อต่อ 3 ทาง 4 หุน
3.1.6 ข้อต่อ 3 ทาง ลด 2 นิ้ว ลด 4 หุน 2 ตัว
3.1.7 เข็มขัดรัดท่อ 2 ตัว
3.1.8 ข้องอ 4 หุน 1 ตัว
3.1.9 ล้อรถจักรยาน 2 ล้อ เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.33 เมตร
3.1.10 เหล็กดัดวงกลม (ที่เจาะ)
3.1.11 ไม้อัด
3.1.12 นอต
3.1.13 กาวติดท่อ
3.1.14 ท่อตรง ขนาด 1 นิ้ว ยาว 0.315 เมตร
3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน
3.2.1 ออกแบบเครื่องหยอดเมล็ด
3.2.1.1 หาข้อมูลทางการเกษตรที่เกี่ยวข้องกับการปลูกข้าวโพด ; ระยะห่างหลุม , ความลึก
ของหลุม และลักษณะดินที่เหมาะสมแก่การหวานเมล็ด
3.2.1.2 ออกแบบฟันเฟืองให้พอดีกับระยะห่างหลุม
3.2.1.3 วาดแบบเครื่องโดยดินสอ
3.2.1.4 ออกแบบโครงร่างของเครื่องโดยโปรแกรม sketchup2016
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 8
3.2.1.4.1 ภาพร่างสมบูรณ์ของชิ้นงาน
ภาพที่ 1 : ภาพฟันเฟืองคัดเมล็ด ภาพที่ 2 : ภาพส่วนกลางของตัวเครื่อง
ภาพที่ 3 : ภาพเมื่อประกอบโดยสมบูรณ์
3.2.2 ลงมือทาเครื่องหยอดเมล็ด
3.2.2.1 แกะล้อออกจากจักรยาน
3.2.2.2 ทาฟันเฟือง : นาไม้มาตัดเป็นวงกลมโดยมีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับท่อกลาง (ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว) และตัดตรงกลางแผ่นไม้เป็นวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว เพื่อนามา
ใส่เป็นแกนของท่อ
3.2.2.3 ตัดท่อ
- ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว ยาว 50 เซนติเมตร เพื่อนามาทาเป็นแกนต่อกับล้อทั้งสองอัน
- ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว ยาว 36 เซนติเมตร เพื่อนามาเป็นตัวครอบฟันเฟือนและเตรียมเป็น
รูที่ใส่เมล็ดและอีกรูตรงกันข้ามเป็นที่ปล่อยเมล็ด
- ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 ½ นิ้ว ยาว 18 เซนติเมตร เพื่อนามาติดที่เจาะรู
- ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว ยาว 60 เซนติเมตร เพื่อนามาเป็นด้ามจับของตัวเครื่อง
3.2.2.4 นาฟันเฟืองที่ตัดแล้วมาใส่กับท่อเล็กให้เป็นแกนจากนั้นนาไปใส่กับท่อกลางที่เจาะ
รูทั้งด้านบนและด้านล่างเพื่อให้ฟันเฟืองเป็นที่คัดเมล็ด
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 9
3.2.2.5 ประกอบตัวท่อ
- นาท่อเล็กมาติดกับล้อ 1 ด้านโดนวิธีการนาแท่งเหล็กขนาดเล็กสอดเข้าไปข้างในท่อเล็กแล้วเชื่อม
เหล็กข้างในท่อติดกับเหล็กที่ล้อ
- นาท่อกลางมาครอบทับท่อเล็กอีกครั้งหนึ่ง
ภาพที่4 : การนาท่อมาครอบทับท่อเล็กอีกครั้งหนึ่ง
3.2.2.6 สร้างที่เจาะดิน
- ดัดแผ่นเหล็กเพื่อครอบท่อใหญ่
- ตัดเหล็กให้มีความยาว 19 เซนติเมตร จานวน 5 แท่ง
- นาแท่งเหล็กทั้ง 5 แท่งมาเชื่อมติดกับแผ่นเหล็กครอบท่อใหญ่โดยห่างกันแท่งละ 72 องศา
- จากนั้นจึงนาเอาเหล็กเส้นที่ดัดเป็นวงมาติดกับแท่งเหล็กทั้ง 5 แท่งเพื่อเพื่อควบคุมความลึกของ
หลุมให้มีความลึก 2.5 นิ้ว เมื่อเทียบกับระยะห่างระหว่างล้อกับผิวดิน
- นาเหล็กทุกส่วนประกอบกันโดยการเชื่อมเหล็ก แล้วนาแผ่นเหล็กที่ดัดเพื่อครอบท่อใหญ่ติดกับ
ท่อใหญ่โดยการยิงตะปูติดกับท่อ
ภาพที่5 : นาแท่งเหล็กทั้ง 5 อันมาเชื่อมติดกับแผ่นเหล็กที่ท่อใหญ่โดยห่างกันแท่งละ 72 องศา
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 10
ภาพที่6 : เหล็กเส้นที่ดัดเป็นวงมาติดกับแท่งเหล็กทั้ง 5 แท่งเพื่อเพื่อควบคุมความลึกของหลุมให้มีความลึก 2.5 นิ้ว
ภาพที่7 : นาแผ่นเหล็กที่ดัดเพื่อครอบท่อใหญ่ติดกับท่อใหญ่โดยการยิงตะปูติดกับท่อ
3.2.2.7 ประกอบตัวเครื่องพร้อมติดที่กลบดิน
- เมื่อติดที่เจาะดินเรียบร้อยแล้ว จึงนาล้ออีกล้อมาติดข้างที่ยังไม่ได้ติดโดยวิธีการเชื่อมเหล็กข้างใน
ท่อเล็กกับเหล็กที่ล้อ
- เจาะรูที่ท่อกลางบริเวณ 1/3 ของท่อด้านที่ไม่มีท่อใหญ่ครอบ เพื่อเสียบท่อทาเป็นที่เข็นเครื่อง
ภาพที่ 8 : เจาะรูที่ท่อกลางบริเวณ 1/3 ของท่อด้านที่ไม่มีท่อใหญ่ครอบ เพื่อเสียบท่อทาเป็นที่เข็นเครื่อง
- นาท่อขนาดเล็กความยาว 31.5 เซนติเมตร มาเสียบเข้ากับท่อกลางที่เจาะแล้ว (ตามภาพที่ 9) และ
ต่อเข้ากับข้อต่อสามทาง ซึ่งเป็นส่วนของที่กลบ ( ในการทาที่กลบ ตัดท่อใหญ่ ยาว 30 เซนติเมตร
นามาเจาะรูในส่วนหัวและท้ายแล้วนาข้อต่อสามทางมาต่อที่ส่วนหัวของท่อเชื่อมกับท่อตรงติดกับ
ข้องอที่ท้ายท่อ )
- นาแท่งอะลูมิเนียมไปติดระหว่างที่กลบกับตัวเครื่องเพื่อป้องกันการส่ายไปมาของที่กลบระหว่าง
ใช้งาน
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 11
3.2.2.8 ติดที่ใส่เมล็ดและทางลงของเมล็ด
- ในการทาทางเข้าและออกของเมล็ด จะนาข้อต่อ 3 ทาง ลด 2 นิ้ว ลด 4 หุน จานวน 2 อัน มาตัดครึ่ง
เอาแต่ส่วนที่มีสามทาง แล้วนามาครอบกับรูที่เจาะไว้( ในขั้นตอนที่ 2.3 การตัดท่อกลาง ) ทั้งสองรู
- ใช้กาวติดท่อติดกับข้อต่อทั้งสองอันแล้วใช้เข็มขัดรัดท่อรัดทั้งหัวและท้ายของท่อเพื่อความ
แข็งแรง
ภาพที่ 9 : ใช้กาวติดท่อติดกับข้อต่อทั้งสองอันแล้วใช้เข็มขัดรัดท่อรัดทั้งหัวและท้ายของท่อเพื่อความแข็งแรง
3.2.2.9 การทาท่อสาหรับเป็นทางลงของเมล็ด
- ตัดท่อเล็กความยาว 6 เซนติเมตร แล้วนาทรายเข้าไปใส่จนเต็มท่อเพื่อใช้เป็นตัวกระจายความร้อน
และรักษารูปทรงจากนั้นจึงนาไปลนไฟแล้วงอให้ตรงกับจุดที่แท่งเหล็กเจาะลงไป
- นาท่อที่งอแล้วไปต่อกับข้อต่อที่ติดไว้สาหรับให้เมล็ดลง
3.2.3 ทาการทดลอง
นาเครื่องที่สาเร็จแล้วไปทดลองใช้งานจริงโดยทาการทดลองในพื้นที่ที่เป็นดินร่วนแล้วจด
บันทึกผลรวมถึงปัญหาที่พบเพื่อนาไปแก้ไขต่อไป
3.2.4 ปรับปรุงแก้ไขชิ้นงาน
จากการทดลองครั้งที่1 พบว่าเกิดปัญหาในเรื่องการที่เมล็ดหยอดไม่ตรงหลุมที่เจาะดังนั้น
คณะผู้จัดทาจึงได้งอท่อสาหรับหยอดเมล็ดจนได้ตาแหน่งที่พอเหมาะที่เมล็ดสามารถลงหลุมพอดี
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 12
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
4.1 กลไกการทางานของเครื่อง
เมื่อเราดันผ่านคานด้ามจับเครื่องหยอดเมล็ดไปข้างหน้าฟันเฟืองภายในตัวเครื่องจะเริ่ม
หมุนพร้อมกับแท่งเหล็กสาหรับเจาะหลุมไปพร้อมๆกันเมื่อฟันเฟืองภายในตัวเครื่อง หมุนจะทาให้
เมล็ดที่อยู่ในขวดพลาสติกด้านบนของฟันเฟืองหล่นเข้าไปฟันเฟืองทีละเมล็ดจนเมล็ดหลุดออกมา
ทางด้านล่างของตัวเครื่องโดยลาเลียงผ่านท่อหยอดเมล็ดทางด้านล่างของตัวเครื่องลงสู่หลุมที่แท่ง
เหล็กเจาะไปแล้วได้อย่างพอดีหลังจากนั้นที่กลบที่ติดอยู่ทางด้านหลังของตัวเครื่องจะถูกดันเข้ามา
กลบดินลงหลุมให้เรียบร้อย
4.2 ผลการศึกษาค้นคว้า
4.2.1 ผลการทดลอง
จากการทดลองการใช้เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดในครั้งที่หนึ่งพบว่ายังมีเมล็ดเกือบหนึ่งใน
สามของเมล็ดทั้งหมดที่ยังลงไม่ตรงกับหลุมที่เจาะลงไป ทางคณะผู้จัดทาจึงนาเครื่องหยอดเมล็ดไป
ดาเนินการแก้ไขแล้วจึงนามาทดลองอีกเป็นครั้งที่สองโดยมีการปรับตาแหน่งของท่อหยอดเมล็ด
เล็กน้อยพบว่าในการหยอดครั้งนี้เมล็ดเกือบทั้งหมดได้ลงตรงตาแหน่งหลุมที่เจาะไว้อย่างพอดี
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 13
ตารางบันทึกผลการทดลองครั้งที่ 1
ในระยะทาง 1.25 เมตร จะสามารถหยอดเมล็ดพร้อมกลบได้ 5 หลุมเป็นระยะเวลา 9.54
วินาที เมื่อใช้ระยะทางรวม 4.5เมตร ใช้เวลาในการหยอดและกลบ 34.34 วินาที
ครั้ง
ที่
ระยะทางที่ 1
1.5 เมตร
ระยะทางที่ 2
1.5 เมตร
ระยะทางที่ 3
1.5 เมตร
รวมเป็นระยะทาง
4.50 เมตร
จานวน
หลุมที่
เจาะได้
จานวนหลุม
ที่เมล็ดลง
ได้ตรง
จานวน
หลุมที่
เจาะได้
จานวนหลุม
ที่เมล็ดลง
ได้ตรง
จานวน
หลุมที่
เจาะได้
จานวนหลุม
ที่เมล็ดลง
ได้ตรง
หลุม
ทั้งหมด
จานวนเมล็ด
ที่หลุม
ทั้งหมด
1 6 4 6 4 6 4 18 12
2 6 4 6 4 6 3 18 11
3 6 4 6 3 6 4 18 11
4 6 4 6 4 6 4 18 12
5 6 3 6 4 6 4 18 11
6 6 4 6 4 6 3 18 11
7 6 4 6 3 6 4 18 11
8 6 4 6 4 6 4 18 12
9 6 2 6 4 6 4 18 10
10 6 3 6 4 6 4 18 11
เฉลี่ย 3.6 เฉลี่ย 3.8 เฉลี่ย 3.8 เฉลี่ย 11.2
ร้อยละ 60.00 ร้อยละ 63.33 ร้อยละ 63.33 ร้อยละ 62.22
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 14
ตารางบันทึกผลการทดลองครั้งที่ 2
จากการทดลองครั้งที่ 1 พบว่าเมล็ดลงหลุมได้น้อยมากเราจึงนามาทาการแก้ไขโดยการ
ดัดท่อลง (ที่หยอดเมล็ด) ให้ได้ตาแหน่งที่เจาะเมล็ดลงพอดี ในองศาที่พอเหมาะ
ในระยะทาง 1.25 เมตร จะสามารถหยอดเมล็ดพร้อมกลบได้ 5 หลุมเป็นระยะเวลา 9.54
วินาที เมื่อใช้ระยะทางรวม 4.5เมตร ใช้เวลาในการหยอดและกลบ 34.34 วินาที ดังนั้นเมื่อใช้พื้นที่
1 ไร่ จะใช้เวลาในการหยอดพร้อมกลบเป็นเวลา 50 นาที
ครั้ง
ที่
ระยะทางที่ 1
1.5 เมตร
ระยะทางที่ 2
1.5 เมตร
ระยะทางที่ 3
1.5 เมตร
รวมเป็นระยะทาง
4.50 เมตร
จานวน
หลุมที่
เจาะได้
จานวนหลุม
ที่เมล็ดลง
ได้ตรง
จานวน
หลุมที่
เจาะได้
จานวนหลุม
ที่เมล็ดลง
ได้ตรง
จานวน
หลุมที่
เจาะได้
จานวนหลุม
ที่เมล็ดลง
ได้ตรง
หลุม
ทั้งหมด
จานวนเมล็ด
ที่หลุม
ทั้งหมด
1 6 6 6 6 6 6 18 18
2 6 6 6 6 6 6 18 18
3 6 6 6 6 6 6 18 18
4 6 6 6 6 6 6 18 18
5 6 6 6 6 6 6 18 18
6 6 6 6 6 6 6 18 18
7 6 6 6 6 6 6 18 18
8 6 6 6 6 6 6 18 18
9 6 6 6 6 6 6 18 18
10 6 6 6 6 6 6 18 18
เฉลี่ย 6 เฉลี่ย 6 เฉลี่ย 6 เฉลี่ย 18
ร้อยละ 100.00 ร้อยละ 100.00 ร้อยละ 100.00 ร้อยละ 100.00
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 15
บทที่ 5
สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
5.1 อภิปรายและสรุปผลการทดลอง
ผลของการศึกษาเรื่อง เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด โดยใช้ความรู้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์และวิศวกรรมศาสตร์มาประยุกต์เข้ากับสิ่งประดิษฐ์ พบว่าในการทดลอง
ครั้งที่ 1 ได้ผลไม่เป็นไปตามที่คาดไว้เนื่องจากตาแหน่งท่อหยอดเมล็ดไม่สัมพันธ์กับตาแหน่งของ
หลุมที่เจาะซึ่งจะได้ร้อยละที่เมล็ดหยอดลงตรงกับหลุมเป็นร้อยละ 62.22 ทางผู้จัดทาจึงแก้ปัญหา
โดยการปรับตาแหน่งของท่อหยอดเมล็ดใหม่โดยให้ท่อหยอดเมล็ดอยู่เยื้องกับแท่งเจาะหลุม
เล็กน้อย ซึ่งได้ทาการทดลองใหม่เป็นครั้งที่ 2 พบว่าผลเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ซึ่งได้ผลที่
ออกมาเป็นร้อยละ 100 และในระยะทาง 1.25 เมตร จะสามารถหยอดเมล็ดพร้อมกลบได้ 5 หลุม
เป็นระยะเวลา 9.54 วินาที เมื่อใช้ระยะทางรวม 4.5เมตร จะใช้เวลาในการหยอดและกลบทั้งหมด
34.34 วินาที
ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดนี้ตอบโจทย์การปลูกข้าวโพดของเกษตรกร
ได้อย่างมาก เพราะเป็นการย่นระยะเวลาในการปลูกโดยใช้เวลาประมาณ 50 นาทีต่อ 1 ไร่ จึงทาให้
ลดต้นทุนการผลิต อาทิเช่นทรัพยากรบุคคลในการปลูก และย่นระยะเวลาปลูกได้เป็นอย่างมากโดย
อาศัยหลักการอย่างง่ายของกระบวนการวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ และการออกแบบเชิงวิศวกรรมในการ
สร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อการเกษตรของไทยอย่างยั่งยืน
5.2 ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการดาเนินงาน
5.2.1 วัสดุในการประดิษฐ์เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดไม่แข็งแรงเท่าที่ควร
5.2.2 เป็นอุปสรรคในการหาสถานที่ประดิษฐ์และอุปกรณ์ในการประดิษฐ์ไม่สะดวก
มากนัก
5.2.3 การใช้โปรแกรมออกแบบที่ผู้จัดทายังไม่มีประสบการณ์ในการใช้มากพอ
5.2.4 ในการทาฟันเฟืองคัดเมล็ดเนื่องจากวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาฟันเฟืองยังไม่แม่นยา
ทาให้ผลการทดลองยังไม่แม่นยาเท่าที่ควร
5.2.5 มีอุปสรรคในการหาวัสดุที่สามารถเจาะดินได้
5.2.6 มีอุปสรรคในการดัดท่อ PVC ให้งอ จึงนาทรายมาใส่แล้วให้ความร้อนแล้วจึงดัด
5.2.7 มีอุปสรรคในการทาท่อหยอดเมล็ดและที่ใส่เมล็ดจึงผู้จัดทาจึงออกแบบใหม่โดยการ
นาข้อต่อท่อตัดครึ่งแล้วประกบกัน รัดด้วยเข็มขัดรัดท่อและติดกาวติดท่อเพื่อให้ติดยึดแน่นมากขึ้น
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 16
5.3 ข้อเสนอแนะ
5.3.1 ควรเตรียมดินก่อนใช้เครื่องหยอดเมล็ดเนื่องจากเครื่องหยอดเมล็ดสามารถใช้งานได้
ในสภาพดินร่วนเท่านั้น
5.3.2 หากจะนาไปใช้งานจริงควรเปลี่ยนฟันเฟืองไปใช้วัสดุอื่นที่แข็งแรงกว่าไม้
5.3.3 สามารถต่อยอดปรับเปลี่ยนโครงสร้างของเครื่องให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น อาทิเช่น
เพิ่มตัวเครื่องให้มากกว่า 1 เครื่อง เพื่อลดระยะเวลาในการปลูกข้าวโพด และสามารถต่อยอด
ปรับเปลี่ยนโครงสร้างได้ตามวัตถุประสงค์
5.3.4 ตัวเครื่องสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้กับพืชไร่ได้หลากหลายชนิดโดยขึ้นกับสภาพ
การปลูก
5.3.5 ในกรณีที่ทดลองเราใช้พื้นที่ในการทดลองค่อนข้างน้อยจึงไม่เกิดปัญหาในการใช้งาน
แต่ถ้านาไปใช้ในพื้นที่ที่ใหญ่กว่านี้เครื่องอาจจะเกิดปัญหาในการหยอดได้ดังนั้นจึงต้องปรับปรุง
วัสดุอุปกรณ์ที่นามาประดิษฐ์และอาศัยวิธีการแก้ไขปัญหาต่อไป
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 17
ภาคผนวก
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 18
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 19
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 20
ภาพการดาเนินงาน
ภาพการออกแบบตัวเครื่องโดยใช้โปรแกรม sketchup
ภาพการออกแบบฟันเฟืองคัดเมล็ด ภาพการออกแบบโครงสร้างตัวเครื่อง
ภาพการออกแบบตัวเครื่องเต็ม ภาพการออกแบบโครงสร้างตัวกลบดิน
ภาพร่างสมบูรณ์โดยใช้โปรแกรม sketchup
ภาพร่างสมบูรณ์ของฟันเฟืองคัดเมล็ด ภาพร่างสมบูรณ์ของตัวเครื่อง
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 21
ภาพร่างสมบูรณ์ของเครื่องด้านหน้า ภาพร่างสมบูรณ์ของเครื่องด้านข้าง
ภาพการดาเนินงาน
ตัดไม้เพื่อทาฟันเฟืองและตัดท่อเพื่อการประดิษฐ์
ตัดเหล็กเพื่อเป็นแกนล้อ นาเหล็กมาเชื่อมแกนล้อ
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 22
ทดลองนามาประกอบกันเพื่อดูความเหมาะสม
เชื่อมล้อท่อและเหล็กเข้าด้วยกันโดยการยิงตะปู
เจาะรูเพื่อติดคานรวมถึงเจาะรูเพื่อหยอดเมล็ด ประกอบเครื่องเข้าด้วยกัน
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 23
ประกอบเครื่องเข้าด้วยกันเชื่อมล้อติดกับแกนอีกครั้งเพื่อความแข็งแรง
ดัดท่อสาหรับหยอดเมล็ดโดยใส่ทรายเข้าไปในท่อเพื่อกระจายความร้อนแล้วประมาณองศาให้เหมาะสมกับแท่งเจาะ
ภาพจริงของเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดแบบสมบูรณ์
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 24
ประวัติผู้จัดทาโครงงาน
(เรียงจากซ้ายไปขวา)
ชื่อผู้จัดทาโครงงาน นางสาว ณิชากรณ์ แสงมณี
วันเดือนปีเกิด 1 สิงหาคม 2542 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ที่อยู่ 45/1 ม.2 ต.ห้วยทราย อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ 50130
ประวัติการศึกษา สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2557
ชื่อผู้จัดทาโครงงาน นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ
วันเดือนปีเกิด 2 กุมภาพันธ์ 2543 โรงพยาบาลเชียงใหม่ราม
ที่อยู่ 155 ม.2 ต.สันกลาง อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ 50120
ประวัติการศึกษา สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนดาราวิทยาลัย
จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2557
ชื่อผู้จัดทาโครงงาน นาย ปองคุณ ศรีสุทธะ
วันเดือนปีเกิด 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2542 โรงพยาบาลราชเวช จังหวัดเชียงใหม่
ที่อยู่ 196 หมู่ 5 ต.หนองควาย อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 50230
ประวัติการศึกษา สาเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ
จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2557
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | ฉ
เอกสารอ้างอิง
Pioneer 2557 “วิธีการปลูกข้าวโพดให้ได้ผลผลิตสูงและคุณภาพดี”(online). สืบค้นจาก
:https://www.pioneer.com/web/site/thailand/resources/indiv-tech-sheets/ [5 กุมภาพันธ์ 2560]
สถาบันวิจัยและพัฒนาที่สูง 2553 “Maize - Indian Corn, Maize”(online). สืบค้นจาก
:http://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=505&name=-%20Maize%20-
%20Indian%20Corn%2C%20Maize%20%5B1%5D [5 กุมภาพันธ์ 2560]
MedThai 2014 “ข้าวโพด สรรพคุณและประโยชน์ของข้าวโพดหวาน”(online). สืบค้นจาก
:https://medthai.com/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%8
2%E0%B8%9E%E0%B8%94/ [5 กุมภาพันธ์ 2560]
พิเชษฐ์ กรุดลอยมา 2547 “ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์”(online). สืบค้นจาก
: http://www.arda.or.th/kasetinfo/north/plant/fcorn.html [5 กุมภาพันธ์ 2560]
Admin 2011 “ข้าวโพดหวาน”(online). สืบค้นจาก
: http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=5059 [5 กุมภาพันธ์ 2560]
บ้านจอมยุทธ 2543 “ข้าวโพด”(online). สืบค้นจาก
: http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-2/corn/index.html [5 กุมภาพันธ์ 2560]
สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2015 “ข้าวโพด : ความสาคัญทางเศรษฐกิจ
ของ ข้าวโพด ”(online). สืบค้นจาก : http://www3.rdi.ku.ac.th/?p=15990 [5 ก.พ. 2560]
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร สานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2547
“อนาคตอุตสาหกรรมข้าวโพดหวานของไทย”(online). สืบค้นจาก
:http://www.oae.go.th/ewtadmin/ewt/oae_baer/ewt_news.php?nid=407&filename=index
[5 กุมภาพันธ์ 2560]
สมเจตน์ ศรีมาตร 2559 “กระเทาะความจริง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ราคาตกต่า”(online). สืบค้นจาก
: http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/639338 [8 กุมภาพันธ์ 2560]
สุวิทย์เมษอินทรี 2016 “ประเทศไทย 4.0 โมเดลเศรษฐกิจใหม่”(online). สืบค้นจาก
: http://www.drborworn.com/articledetail.asp?id=16223 [8 กุมภาพันธ์ 2560]
it24hrs 2017 “Thailand 4.0 คืออะไร”(online). สืบค้นจาก
: https://www.it24hrs.com/2017/thailand-4-0/ [8 กุมภาพันธ์ 2560]
Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | ช
Purfresh 2016 “4 นวัตกรรมการเกษตร”(online). สืบค้นจาก
: https://techsauce.co/agriculture/4-areas-agritech-startups-are-innovating-in/
[8 กุมภาพันธ์ 2560]
akkaravit rabin 2016 “การศึกษาในยุค Thailand 4.0เน้นนวัตกรรม”(online). สืบค้นจาก
: http://www.chiangmainews.co.th/page/archives/540274 [8 กุมภาพันธ์ 2560]
TITISAK 2016 “ROTATIONAL MOTION”(online). สืบค้นจาก
: http://e-learning.tu.ac.th/sc133/doc_download/number11-12_250749.pdf
[26 กุมภาพันธ์ 2560]
bosiiәz 2011 “วงกลม (Circle)”(online). สืบค้นจาก
: http://alwaysbecreepermod.wixsite.com/simplemath/0 [8 กุมภาพันธ์ 2560]
Piyaboon Nilkaew 2012 “คู่มือ SketchUp”(online). สืบค้นจาก
: https://www.slideshare.net/piyaboon/sketchup-13232415 [2 เมษายน 2560]
yupparaj 2015 “การพิมพ์บรรณานุกรม และระเบียบวิจัย”(online). สืบค้นจาก
: https://sites.google.com/site/rsmyrc/kar-phimph-brrnanukrm [24 มิถุนายน 2560]

More Related Content

What's hot

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบLorpiyanon Krittaya
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 

What's hot (20)

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ปก
ปกปก
ปก
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

Similar to โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด

1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมChanakarn Phophot
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมSoldic Kalayanee
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมMintra Pudprom
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology Tarn Takpit
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Anny Na Sonsawan
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Lekleklek Jongrak
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate022557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02Pimpaka Khampin
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานParichart Biw
 

Similar to โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด (20)

1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology
 
2557 project 02-30
2557 project  02-302557 project  02-30
2557 project 02-30
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate022557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
 
Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
Ham
HamHam
Ham
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 

More from stampmin

Computer14
Computer14Computer14
Computer14stampmin
 
Cotmes61 pre 25600606
Cotmes61 pre 25600606Cotmes61 pre 25600606
Cotmes61 pre 25600606stampmin
 
Bakeryandchem
BakeryandchemBakeryandchem
Bakeryandchemstampmin
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้วโครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้วstampmin
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติstampmin
 

More from stampmin (10)

Computer14
Computer14Computer14
Computer14
 
ปี57
ปี57ปี57
ปี57
 
ปี58
ปี58ปี58
ปี58
 
ปี59
ปี59ปี59
ปี59
 
Iii
IiiIii
Iii
 
Cotmes61 pre 25600606
Cotmes61 pre 25600606Cotmes61 pre 25600606
Cotmes61 pre 25600606
 
Bakeryandchem
BakeryandchemBakeryandchem
Bakeryandchem
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้วโครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
 
รวม
รวมรวม
รวม
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 

โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด

  • 1. โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด โดย ๑. นางสาวณิชากรณ์ แสงมณี ๒. นายปองคุณ ศรีสุทธะ ๓. นายภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ประเภท ทีม ในการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ เนื่องในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ วันที่ ๑๗ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดโดยสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
  • 2. โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด โดย ๑. นางสาวณิชากรณ์ แสงมณี ๒. นายปองคุณ ศรีสุทธะ ๓. นายภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์เทวิน มูลวรรณ์
  • 3. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | ก โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์(ฟิสิกส์) ประเภท ทีม ชื่อเรื่อง เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด ชื่อผู้จัดทา ๑. นางสาว ณิชากรณ์ แสงมณี ๒. นาย ปองคุณ ศรีสุทธะ ๓. นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ เทวิน มูลวรรณ์ โรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย ที่อยู่ 238 ถนน พระปกเกล้า ตาบล ศรีภูมิ อาเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์50200 โทรศัพท์053-418673-5 ระยะเวลาทาโครงงาน ตั้งแต่ เดือนตุลาคม พ.ศ.2559 ถึง เดือนมิถุนายน พ.ศ.2560 บทคัดย่อ การจัดทาโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดเพื่อการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างเครื่องมือที่ผ่อนแรงของเกษตรกรในการหยอดเมล็ดทั้งการย่นระยะเวลาให้หยอดเมล็ดและฝัง กลบได้อย่างรวดเร็วมากขึ้น รวมทั้งยังใช้ต้นทุนการผลิตที่ต่าและสามารถนาวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่ได้ใช้ แล้วมาสร้างสรรค์นวัตกรรมให้เป็นประโยชน์โดยอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ และ วิศวกรรมศาสตร์มาประยุกต์เพื่อนวัตกรรมการเกษตรตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 รวมทั้งยังเป็นการ สร้างนวัตกรรมเครื่องมือเพื่อสนับสนุนเกษตรกรไทย ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้คิดเครื่องหยอดเมล็ดเพื่อช่วยลดระยะเวลาในการปลูกข้าวโพดโดยเริ่ม จากการใช้ท่อ PVC เป็นองค์ประกอบหลักในการประดิษฐ์รวมทั้งวัสดุเหลือใช้ อาทิเช่น ล้อจาก จักรยาน ขวดพลาสติก เศษเหล็กเหลือใช้ โดยการนาท่อ PVC มาเป็นโครงของเครื่องและที่กลบ หลุมของเมล็ด นาแท่งเหล็กมาสร้างเป็นที่เจาะดินโดยมีฟันเฟืองภายในตัวเครื่องซึ่งทาจากไม้อัด ทาหน้าที่เป็นที่คัดเมล็ด ผลจากการทดลองพบว่าเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดสามารถทางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพโดยเมล็ดสามารถลงตรงหลุมที่เจาะได้อย่างแม่นยา คิดเป็น ร้อยละ 100 ดังนั้นเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดจึงสามารถนาไปใช้ได้จริงในด้านการเกษตร (การปลูก ข้าวโพด) และสามารถย่นระยะเวลาในการหยอดเมล็ดและการฝังกลบได้มากโดยใช้เวลาประมาณ 50 นาทีต่อ 1 ไร่ ซึ่งเป็นการนาความรู้ในด้านฟิสิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ และหลักการทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์เพื่อแก้ไขปัญหาของเกษตรกรไทยได้อย่างลงตัวจึงได้รับความสนใจเป็นอย่างมากโดย สิ่งประดิษฐ์นี้จะเป็นจุดเล็กๆที่สร้างนวัตกรรมเพื่อการเกษตรได้ในอนาคตต่อไป
  • 4. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานเครื่องยอดเมล็ดข้าวโพดฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีได้ด้วยความ สนับสนุนของ อาจารย์ เทวิน มูลวรรณ์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ที่ให้คาแนะนาต่างๆ การสนับสนุนงบประมาณและอุปกรณ์สาหรับการ ทดลองโครงงาน คณะผู้จัดทาขอกราบขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ ขอกราบขอบพระคุณท่าน ผู้อานวยการ บุญเสริญ สุริยา ผู้อานวยการ โรงเรียนยุพราช วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ที่คอยสนับสนุนงบประมาณและคอยให้คาปรึกษาที่ดีมาโดยตลอด ขอกราบขอบพระคุณ นาย วีระพันธ์ ยาวิธี ผู้สนับสนุนช่วยเหลือด้านการประกอบเครื่อง การเชื่อมเหล็กรวมถึงเอื้อเฟื้อสถานที่ให้แก่คณะผู้จัดทาโครงงาน ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่กรุณาให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนรวมถึงเอื้อเฟื้อ สถานที่เป็นอย่างดีแก่คณะผู้จัดทาโครงงานมาตลอด ขอขอบคุณเพื่อนๆ ตลอดจนผู้อยู่เบื้องหลังโครงงานนี้ทุกคนที่คอยเป็นกาลังใจ ช่วยเหลือ และให้คาปรึกษามาโดยตลอด ความสาเร็จ ความภาคภูมิใจ คุณค่าและประโยชน์ของโครงงานวิทยาศาสตร์ฉบับนี้ ขอมอบบูชาแด่พระคุณบิดามารดาผู้ให้กาเนิด ครูอาจารย์ผู้ประสิทธ์ประสาทความรู้วิชา ตลอดจนผู้ มีพระคุณทุกท่าน
  • 5. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | ค สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญภาพ ง สารบัญตาราง จ บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ 1 วัตถุประสงค์ 2 ขอบเขตการศึกษา 2 สถานที่ทาการทดลอง 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 สมมติฐาน 3 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4 บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์ 7 ขั้นตอนการดาเนินงาน 7 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน กลไกการทางานของเครื่อง 12 ผลการศึกษาค้นคว้า 12 บทที่ 5 สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ อภิปรายผลและสรุปผลการทดลอง 15 ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการดาเนินงาน 15 ข้อเสนอแนะ 16 ภาคผนวก 17 เอกสารอ้างอิง ฉ
  • 6. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | ง สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1 : ภาพฟันเฟืองคัดเมล็ด 8 ภาพที่ 2 : ภาพส่วนกลางของตัวเครื่อง 8 ภาพที่ 3 : ภาพเมื่อประกอบโดยสมบูรณ์ 8 ภาพที่ 4 : การนาท่อมาครอบทับท่อเล็กอีกครั้งหนึ่ง 9 ภาพที่ 5 : นาแท่งเหล็กทั้ง 5 อันมาเชื่อมติดกับแผ่นเหล็กที่ท่อใหญ่โดยห่างกัน แท่งละ 72 องศา 9 ภาพที่ 6 : เหล็กเส้นที่ดัดเป็นวงมาติดกับแท่งเหล็กทั้ง 5 แท่งเพื่อเพื่อควบคุมความลึก ของหลุมให้มีความลึก 2.5 นิ้ว 10 ภาพที่ 7 : นาแผ่นเหล็กที่ดัดเพื่อครอบท่อใหญ่ติดกับท่อใหญ่โดยการยิงตะปูติดกับท่อ 10 ภาพที่ 8 : เจาะรูที่ท่อกลางบริเวณ 1/3 ของท่อด้านที่ไม่มีท่อใหญ่ครอบ เพื่อเสียบท่อทาเป็นที่เข็นเครื่อง 10 ภาพที่ 9 : ใช้กาวติดท่อติดกับข้อต่อทั้งสองอันแล้วใช้เข็มขัดรัดท่อรัดทั้งหัว และท้ายของท่อเพื่อความแข็งแรง 11
  • 7. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | จ สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 : ตารางบันทึกผลการทดลองครั้งที่ 1 13 ตารางที่ 2 : ตารางบันทึกผลการทดลองครั้งที่ 2 14
  • 8. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 1 บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญ เนื่องจากในปัจจุบันข้าวโพดเป็นพืชเศรษฐกิจและพืชส่งออกที่สาคัญของประเทศไทย รวมถึงนานาประเทศในแถบภูมิภาคเอเชีย การส่งออกผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานของไทยมีแนวโน้ม เติบโตอย่างต่อเนื่อง อันเป็นผลมาจากผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานของไทยสามารถแข่งขันได้ทั้งใน ด้านราคาและคุณภาพ โดยปัจจุบันไทยมีการส่งออกผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานมากเป็นอันดับ 3 ของ โลก ปัจจุบันพื้นที่ปลูกข้าวโพดหวานในประเทศไทยมีประมาณ 737,500 ไร่ เนื่องจากหลากหลาย ปัจจัยหนุน กล่าวคือ การส่งออกที่มีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง จึงทาให้การปลูกข้าวโพดหวาน ในประเทศมีการขยายตัวอย่างมาก รองรับกับความต้องการของผู้ผลิตและผู้ส่งออกที่มีการขยายการ ลงทุนในการผลิตผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานและขยายการลงทุนในการปลูกข้าวโพด โดยข้าวโพด สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในหลายๆด้าน เช่น นาไปเลี้ยงสัตว์ รวมทั้ง การแปรรูปเพื่อความ ต้องการของตลาด เป็นต้น ในปัจจุบันเทคโนโลยีการปลูกข้าวโพดมีราคาสูง จึงทาให้เกษตรกรที่มีกาลังทรัพย์ไม่ เพียงพอไม่สามารถซื้อมาใช้เพื่อผ่อนแรงในงานเกษตรของตนเองได้ส่งผลให้ต้องใช้ทรัพยากร บุคคลเป็นจานวนมากจึงทาให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นตามไปด้วย ดังนั้นเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดจึง พยายามหาวิธีแก้ไขปัญหาและแก้ไขปัญหาโดยการใส่ปุ๋ ยเร่งการผลิตซึ่งเป็นการเพิ่มต้นทุนการผลิต สูงยิ่งขึ้นไปอีก โดยที่เกษตรกรยังมองข้ามบางขั้นตอนที่สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ ทางคณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นถึงปัญหาข้างต้น จึงได้เริ่มศึกษาปัญหาอย่างถ่องแท้พบว่าตั้งแต่ ขั้นตอนการผลิตคือขณะที่หยอดเมล็ดเป็นขั้นตอนที่ค่อนข้างทาช้าจาทาให้ต้องใช้ทรัพยากรบุคคล จานวนมากในขั้นตอนนี้ ทางคณะผู้จัดทาจึงได้ริเริ่มออกแบบและประดิษฐ์เครื่องหลอดเมล็ด ข้าวโพด ที่ช่วยผ่อนแรงในขั้นตอนนี้มาก และใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่แล้วจึงใช้ค่าใช้จ่ายต่า และจะทา ให้เข้าถึงเกษตรกรได้ง่ายมากขึ้น
  • 9. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 2 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อนาหลักการทางฟิสิกส์มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 1.2.2 เพื่อศึกษาหลักการทางานของเครื่องกล 1.2.3 เพื่อลดต้นทุนและบุคลากรในการปลูกข้าวโพด 1.2.4 เพื่อย่นระยะเวลาในการหยอดเมล็ด 1.2.5 เป็นการฝึกการออกแบบเชิงวิศวกรรมเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมตามนโยบายThailand4.0 1.2.6 เพื่อสร้างนวัตกรรมสาหรับเกษตรกรไทย 1.3 ขอบเขตการศึกษา การศึกษาโครงงานประดิษฐ์เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด ต้องการศึกษาและประดิษฐ์เฉพาะการ หว่านเมล็ด ข้าวโพดในไร่ที่พรวนดินแล้วเท่านั้น การศึกษาและประดิษฐ์เครื่องหว่านเมล็ด กาหนดเวลาที่ใช้ในการศึกษา ระหว่างเดือน ตุลาคม 2559 – มิถุนายน 2560 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 และภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2560 ณ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50000 ประเทศไทย 1.4 สถานที่ทาการทดลอง แปลงเพาะปลูก โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง จังหวัดชียงใหม่ 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.5.1 สามารถประยุกต์หลักการทางฟิสิกส์และวิศวกรรมมาใช้ในการเกษตร 1.5.2 สามารถลดต้นทุนในการจ้างแรงงานเพื่อปลูกข้าวโพดได้ 1.5.3 สามารถลดเวลาในการหยอดเมล็ด 1.5.4 สามารถสร้างนวัตกรรมการเกษตรเพื่อนาไปใช้ได้จริงตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0
  • 10. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 3 1.6 สมมติฐาน ในการใช้เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดหยอดเมล็ดข้าวโพดในไร่ เมล็ดสามารถลงตรงหลุม ที่เจาะได้ตรงทุกเมล็ด หรือคลาดเคลื่อนเล็กน้อย 1.7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลการทดลองเป็นไปตามสมมุติฐาน และเครื่องหยอดเมล็ดมีประสิทธิภาพการทางาน เป็นไปตามระบบที่ได้วางแผนเอาไว้ โดยสิ่งประดิษฐ์นี้สามารถช่วยเหลือเกษตรกรโดยย่น ระยะเวลาในการปลูกข้าวโพดและลดต้นทุนรวมทั้งทรัพยากรบุคคลในการปลูกข้าวโพดได้อย่าง มาก ทั้งนี้สิ่งประดิษฐ์นี้จะเป็นจุดเล็กๆที่สร้างนวัตกรรมเพื่อการเกษตรได้ในอนาคต
  • 11. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 4 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ในวิชาฟิสิกส์ ใน เรื่อง การทาเครื่องหยอดเมล็ด ผู้จัดทา โครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 2.1 ความหมายของข้าวโพด 2.2 วิธีการปลูกข้าวโพดในไร่ 2.3 ทฤษฏีบทเกี่ยวกับวงกลม 2.1 ความหมายของข้าวโพด Class : Angiospermae Subclass : Monocotyledoneae Family : Gramineae Sub-family : Panicoideae Tribe : Maydeae Genus : Zea Species : mays Scientific name : Zea mays Common name : Maize, Corn วงศ์ : Poaceae (Rutaceae) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zea mays L. ชื่อไทย : ข้าวโพด ข้าวโพดเป็นพืชในเผ่า (tribe) Maydeae ซึ่งลักษณะสาคัญของพืชในเผ่านี้คือ มีดอกตัวผู้ และดอกตัวเมียอยู่แยกกัน แต่อยู่ในต้นเดียวกัน (monoecious) ข้าวโพดซึ่งเป็นพืชปลูกเพียงชนิด เดียวในเผ่านี้ จะมีช่อดอกตัวผู้ทางปลายยอด และมีช่อดอกตัวเมียอยู่บนแกน ซึ่งแตกจากด้านข้าง ของลาต้น การที่ดอกอยู่แยกกันเช่นนี้อีกทั้งการที่ดอกตัวผู้โปรยละอองเกสรก่อนที่ stigma ของดอก ตัวเมียแก่พร้อมจะผสมทาให้ดอกตัวเมียส่วนใหญ่จะถูกผสมข้ามต้น
  • 12. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 5 2.2 วิธีการปลูกข้าวโพดในไร่ ฤดูปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม ต้นฤดูฝน ปลูกได้ตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคม-ต้นเดือนมิถุนายน ตามสภาพฝนแต่ละพื้นที่ ปลายฤดูฝน ปลูกได้ตั้งแต่กลางเดือนกรกฎาคม-กลางเดือนสิงหาคม ฤดูแล้ง ปลูกได้ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธ์ การเตรียมดิน สาหรับปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ วัตถุประสงค์ของการเตรียมดิน เพื่อให้ผิวดินอ่อนตัว และห่อหุ้มเมล็ดข้าวโพดให้ชื้นอยู่ เสมอ และให้ดินมีอากาศถ่ายเทสะดวก และทาลายเหง้าวัชพืชให้แห้งตายและฝังกลบซากวัชพืชเดิม ให้จมดิน การไถพรวนควรไถอย่างน้อย 2 ครั้ง ภายใต้หลักการ ไถดะให้ลึก ไถแปรให้ดินแตก ละเอียด 1. ไถดะ การไถด้วยผาน 3 หรือผาน 4 ควรไถให้ลึกประมาณ 30 ซม.เพราะการไถลึก จะทา ให้ดินเก็บน้าได้มาก และตากดินไว้ประมาณ 10-15 วัน เพื่อทาลายวัชพืชและศัตรูพืชในดินบางชนิด 2. ไถแปร ควรไถด้วยผาน 7 โดยไถขวางรอยเดิมของไถดะเพื่อย่อยดินก้อนใหญ่ให้แตก ทา ให้ดินมีความร่วนซุยมากยิ่งขึ้น เพื่อให้เมล็ดพันธุ์งอกได้อย่างสม่าเสมอ การปลูกและระยะปลูก ทาได้2 วิธี ดังนี้ 1. ใช้เครื่องปลูก เลือกรูจานหยอดให้เหมาะกับขนาดของเมล็ดพันธุ์ ซึ่งจะระบุไว้ที่ถุง โดยทั่วไปจะใช้ระยะห่างระหว่างแถว 75 ซม. ระยะระหว่างหลุมประมาณ 20-25 ซม. โดยปริมาณ เมล็ดที่ใช้จะประมาณ 3-3.5 กก./ไร่ และ จะมีจานวนต้นข้าวโพด/ไร่ ประมาณ 8,533-10,600 ต้นต่อ ไร่ ควรหยอดเมล็ดข้าวโพดให้ลึก 2.5-3 นิ้ว 2. ใช้คนปลูก ในหลายพื้นที่โดยเฉพาะทางภาคเหนือ จะใช้เชือกในการกาหนดระยะให้มี ระยะห่างระหว่างร่องประมาณ 70 ซม. แล้วใช้จอบขุด หยอดเมล็ด 1-2 เมล็ดแล้วกลบ โดยจานวน เมล็ดที่หยอดและระยะห่างระหว่างหลุม ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ว่า สายพันธุ์นั้นเหมาะกับการปลูกถี่ได้ดี เพียงใด การทดสอบความชื้นของดินว่าเพียงพอหรือไม่ ให้นาดินที่ระดับความลึกที่ใช้หยอดเมล็ด จริงมาปั้น หากปั้นเป็นก้อนได้แสดงว่าความชื้อพอเหมาะ ควรทาการทดสอบเครื่องหยอด, รูจานหยอด กับเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูกจริง ว่าได้ตามระยะที่ ต้องการหรือเปล่า ถ้าหากถี่หรือห่างเกินไป จะได้เปลี่ยนจานที่มีจานวนรูจานตามต้องการ
  • 13. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 6 ความลึกในการหยอดเมล็ด ขึ้นอยู่กับความชื้น, ประเภทของดิน รวมถึงประสบการณ์ของ เจ้าของแปลงซึ่งโดยทั่วไป หยอดลึกไม่เกิน 4-5 ซม. 2.3 ทฤษฏีบทเกี่ยวกับวงกลม วงกลม (Circle) 1. วงกลม เป็นรูปเรขาคณิตบนระนาบซึ่งทุกๆ จุดบนรูปเรขาคณิตนี้อยู่ห่างจากจุดคงที่จุด หนึ่งบนระนาบเดียวกันเป็นระยะเท่ากันเรียกจุดคงที่นี้ว่า จุดศูนย์กลาง (Center) 2. รัศมี (Radius) คือระยะจากจุดศูนย์กลางถึงเส้นรอบวง 3. เส้นผ่านศูนย์กลาง (Diameter) คือความยาวเส้นตรงที่ผ่านจุดศูนย์กลางวงกลมโดยที่ ปลายทั้งสองจรดเส้นรอบวง และความยาวเป็น 2 เท่าของรัศมี 4. คอร์ด (Chord) คือ เส้นตรงภายในวงกลมโดยปลายทั้งสองจรดเส้นรอบวง และเส้นผ่าน ศูนย์กลางเป็นคอร์ดที่ยาวที่สุด 5. เส้นตัดวงกลม (secant line) คือเส้นตรงที่ตัดวงกลมสองจุด 6. เส้นสัมผัสวงกลม (Tangent line) คือเส้นตรงที่ตัดวงกลมเพียงจุดเดียวเท่านั้นและเรียก จุดตัดนั้นว่า จุดสัมผัส (point of tangency) O เป็นจุดศูนย์กลาง OA เป็นรัศมีวงกลม BC เป็นเส้นผ่านศูนย์กลางวงกลม DE เป็นคอร์ดของวงกลม L1 เป็นเส้นตัดวงกลม โดยตัดวงกลมที่จุด F และ G L2 เป็นเส้นสัมผัสวงกลมที่จุด H 7. มุมที่จุดศูนย์กลาง (Central angle) คือมุมที่มีจุดศูนย์กลางของวงกลม เป็นจุยอดมุมและ แขนทั้งสองของมุมตัดวงกลม 8. มุมในส่วนโค้งของวงกลม (Inscribed angle) คือมุมที่มีจุดยอดมุมอยู่บนวงกลม และแขน ทั้งสองของมุมตัดวงกลม 9. มุมในครึ่งวงกลม คือมุมที่มีจุดยอดอยู่บนวงกลมและแขนทั้งสองของมุมผ่านจุดปลายทั้ง สองของเส้นผ่านศูนย์กลางเส้นหนึ่ง
  • 14. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 7 บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินงาน ในการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ในสาขาวิชาฟิสิกส์ การทาเครื่องหยอดเมล็ด ผู้จัดทา โครงงานได้มีวิธีการดาเนินงานโครงงานดังนี้ 3.1 วัสดุอุปกรณ์ 3.1.1 ท่อ PVC 2.5 นิ้ว ยาว 0.18 เมตร (ท่อใหญ่) 3.1.2 ท่อ PVC 2.5 นิ้ว ยาว 0.3 เมตร (ท่อใหญ่) 3.1.3 ท่อPVC 2 นิ้ว ยาว 0.36 เมตร (ท่อกลาง) 3.1.4 ท่อ PVC 4 หุน ยาว 0.5 เมตร (ท่อเล็ก) 3.1.5 ข้อต่อ 3 ทาง 4 หุน 3.1.6 ข้อต่อ 3 ทาง ลด 2 นิ้ว ลด 4 หุน 2 ตัว 3.1.7 เข็มขัดรัดท่อ 2 ตัว 3.1.8 ข้องอ 4 หุน 1 ตัว 3.1.9 ล้อรถจักรยาน 2 ล้อ เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.33 เมตร 3.1.10 เหล็กดัดวงกลม (ที่เจาะ) 3.1.11 ไม้อัด 3.1.12 นอต 3.1.13 กาวติดท่อ 3.1.14 ท่อตรง ขนาด 1 นิ้ว ยาว 0.315 เมตร 3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน 3.2.1 ออกแบบเครื่องหยอดเมล็ด 3.2.1.1 หาข้อมูลทางการเกษตรที่เกี่ยวข้องกับการปลูกข้าวโพด ; ระยะห่างหลุม , ความลึก ของหลุม และลักษณะดินที่เหมาะสมแก่การหวานเมล็ด 3.2.1.2 ออกแบบฟันเฟืองให้พอดีกับระยะห่างหลุม 3.2.1.3 วาดแบบเครื่องโดยดินสอ 3.2.1.4 ออกแบบโครงร่างของเครื่องโดยโปรแกรม sketchup2016
  • 15. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 8 3.2.1.4.1 ภาพร่างสมบูรณ์ของชิ้นงาน ภาพที่ 1 : ภาพฟันเฟืองคัดเมล็ด ภาพที่ 2 : ภาพส่วนกลางของตัวเครื่อง ภาพที่ 3 : ภาพเมื่อประกอบโดยสมบูรณ์ 3.2.2 ลงมือทาเครื่องหยอดเมล็ด 3.2.2.1 แกะล้อออกจากจักรยาน 3.2.2.2 ทาฟันเฟือง : นาไม้มาตัดเป็นวงกลมโดยมีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับท่อกลาง (ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว) และตัดตรงกลางแผ่นไม้เป็นวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว เพื่อนามา ใส่เป็นแกนของท่อ 3.2.2.3 ตัดท่อ - ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว ยาว 50 เซนติเมตร เพื่อนามาทาเป็นแกนต่อกับล้อทั้งสองอัน - ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว ยาว 36 เซนติเมตร เพื่อนามาเป็นตัวครอบฟันเฟือนและเตรียมเป็น รูที่ใส่เมล็ดและอีกรูตรงกันข้ามเป็นที่ปล่อยเมล็ด - ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 ½ นิ้ว ยาว 18 เซนติเมตร เพื่อนามาติดที่เจาะรู - ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว ยาว 60 เซนติเมตร เพื่อนามาเป็นด้ามจับของตัวเครื่อง 3.2.2.4 นาฟันเฟืองที่ตัดแล้วมาใส่กับท่อเล็กให้เป็นแกนจากนั้นนาไปใส่กับท่อกลางที่เจาะ รูทั้งด้านบนและด้านล่างเพื่อให้ฟันเฟืองเป็นที่คัดเมล็ด
  • 16. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 9 3.2.2.5 ประกอบตัวท่อ - นาท่อเล็กมาติดกับล้อ 1 ด้านโดนวิธีการนาแท่งเหล็กขนาดเล็กสอดเข้าไปข้างในท่อเล็กแล้วเชื่อม เหล็กข้างในท่อติดกับเหล็กที่ล้อ - นาท่อกลางมาครอบทับท่อเล็กอีกครั้งหนึ่ง ภาพที่4 : การนาท่อมาครอบทับท่อเล็กอีกครั้งหนึ่ง 3.2.2.6 สร้างที่เจาะดิน - ดัดแผ่นเหล็กเพื่อครอบท่อใหญ่ - ตัดเหล็กให้มีความยาว 19 เซนติเมตร จานวน 5 แท่ง - นาแท่งเหล็กทั้ง 5 แท่งมาเชื่อมติดกับแผ่นเหล็กครอบท่อใหญ่โดยห่างกันแท่งละ 72 องศา - จากนั้นจึงนาเอาเหล็กเส้นที่ดัดเป็นวงมาติดกับแท่งเหล็กทั้ง 5 แท่งเพื่อเพื่อควบคุมความลึกของ หลุมให้มีความลึก 2.5 นิ้ว เมื่อเทียบกับระยะห่างระหว่างล้อกับผิวดิน - นาเหล็กทุกส่วนประกอบกันโดยการเชื่อมเหล็ก แล้วนาแผ่นเหล็กที่ดัดเพื่อครอบท่อใหญ่ติดกับ ท่อใหญ่โดยการยิงตะปูติดกับท่อ ภาพที่5 : นาแท่งเหล็กทั้ง 5 อันมาเชื่อมติดกับแผ่นเหล็กที่ท่อใหญ่โดยห่างกันแท่งละ 72 องศา
  • 17. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 10 ภาพที่6 : เหล็กเส้นที่ดัดเป็นวงมาติดกับแท่งเหล็กทั้ง 5 แท่งเพื่อเพื่อควบคุมความลึกของหลุมให้มีความลึก 2.5 นิ้ว ภาพที่7 : นาแผ่นเหล็กที่ดัดเพื่อครอบท่อใหญ่ติดกับท่อใหญ่โดยการยิงตะปูติดกับท่อ 3.2.2.7 ประกอบตัวเครื่องพร้อมติดที่กลบดิน - เมื่อติดที่เจาะดินเรียบร้อยแล้ว จึงนาล้ออีกล้อมาติดข้างที่ยังไม่ได้ติดโดยวิธีการเชื่อมเหล็กข้างใน ท่อเล็กกับเหล็กที่ล้อ - เจาะรูที่ท่อกลางบริเวณ 1/3 ของท่อด้านที่ไม่มีท่อใหญ่ครอบ เพื่อเสียบท่อทาเป็นที่เข็นเครื่อง ภาพที่ 8 : เจาะรูที่ท่อกลางบริเวณ 1/3 ของท่อด้านที่ไม่มีท่อใหญ่ครอบ เพื่อเสียบท่อทาเป็นที่เข็นเครื่อง - นาท่อขนาดเล็กความยาว 31.5 เซนติเมตร มาเสียบเข้ากับท่อกลางที่เจาะแล้ว (ตามภาพที่ 9) และ ต่อเข้ากับข้อต่อสามทาง ซึ่งเป็นส่วนของที่กลบ ( ในการทาที่กลบ ตัดท่อใหญ่ ยาว 30 เซนติเมตร นามาเจาะรูในส่วนหัวและท้ายแล้วนาข้อต่อสามทางมาต่อที่ส่วนหัวของท่อเชื่อมกับท่อตรงติดกับ ข้องอที่ท้ายท่อ ) - นาแท่งอะลูมิเนียมไปติดระหว่างที่กลบกับตัวเครื่องเพื่อป้องกันการส่ายไปมาของที่กลบระหว่าง ใช้งาน
  • 18. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 11 3.2.2.8 ติดที่ใส่เมล็ดและทางลงของเมล็ด - ในการทาทางเข้าและออกของเมล็ด จะนาข้อต่อ 3 ทาง ลด 2 นิ้ว ลด 4 หุน จานวน 2 อัน มาตัดครึ่ง เอาแต่ส่วนที่มีสามทาง แล้วนามาครอบกับรูที่เจาะไว้( ในขั้นตอนที่ 2.3 การตัดท่อกลาง ) ทั้งสองรู - ใช้กาวติดท่อติดกับข้อต่อทั้งสองอันแล้วใช้เข็มขัดรัดท่อรัดทั้งหัวและท้ายของท่อเพื่อความ แข็งแรง ภาพที่ 9 : ใช้กาวติดท่อติดกับข้อต่อทั้งสองอันแล้วใช้เข็มขัดรัดท่อรัดทั้งหัวและท้ายของท่อเพื่อความแข็งแรง 3.2.2.9 การทาท่อสาหรับเป็นทางลงของเมล็ด - ตัดท่อเล็กความยาว 6 เซนติเมตร แล้วนาทรายเข้าไปใส่จนเต็มท่อเพื่อใช้เป็นตัวกระจายความร้อน และรักษารูปทรงจากนั้นจึงนาไปลนไฟแล้วงอให้ตรงกับจุดที่แท่งเหล็กเจาะลงไป - นาท่อที่งอแล้วไปต่อกับข้อต่อที่ติดไว้สาหรับให้เมล็ดลง 3.2.3 ทาการทดลอง นาเครื่องที่สาเร็จแล้วไปทดลองใช้งานจริงโดยทาการทดลองในพื้นที่ที่เป็นดินร่วนแล้วจด บันทึกผลรวมถึงปัญหาที่พบเพื่อนาไปแก้ไขต่อไป 3.2.4 ปรับปรุงแก้ไขชิ้นงาน จากการทดลองครั้งที่1 พบว่าเกิดปัญหาในเรื่องการที่เมล็ดหยอดไม่ตรงหลุมที่เจาะดังนั้น คณะผู้จัดทาจึงได้งอท่อสาหรับหยอดเมล็ดจนได้ตาแหน่งที่พอเหมาะที่เมล็ดสามารถลงหลุมพอดี
  • 19. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 12 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 4.1 กลไกการทางานของเครื่อง เมื่อเราดันผ่านคานด้ามจับเครื่องหยอดเมล็ดไปข้างหน้าฟันเฟืองภายในตัวเครื่องจะเริ่ม หมุนพร้อมกับแท่งเหล็กสาหรับเจาะหลุมไปพร้อมๆกันเมื่อฟันเฟืองภายในตัวเครื่อง หมุนจะทาให้ เมล็ดที่อยู่ในขวดพลาสติกด้านบนของฟันเฟืองหล่นเข้าไปฟันเฟืองทีละเมล็ดจนเมล็ดหลุดออกมา ทางด้านล่างของตัวเครื่องโดยลาเลียงผ่านท่อหยอดเมล็ดทางด้านล่างของตัวเครื่องลงสู่หลุมที่แท่ง เหล็กเจาะไปแล้วได้อย่างพอดีหลังจากนั้นที่กลบที่ติดอยู่ทางด้านหลังของตัวเครื่องจะถูกดันเข้ามา กลบดินลงหลุมให้เรียบร้อย 4.2 ผลการศึกษาค้นคว้า 4.2.1 ผลการทดลอง จากการทดลองการใช้เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดในครั้งที่หนึ่งพบว่ายังมีเมล็ดเกือบหนึ่งใน สามของเมล็ดทั้งหมดที่ยังลงไม่ตรงกับหลุมที่เจาะลงไป ทางคณะผู้จัดทาจึงนาเครื่องหยอดเมล็ดไป ดาเนินการแก้ไขแล้วจึงนามาทดลองอีกเป็นครั้งที่สองโดยมีการปรับตาแหน่งของท่อหยอดเมล็ด เล็กน้อยพบว่าในการหยอดครั้งนี้เมล็ดเกือบทั้งหมดได้ลงตรงตาแหน่งหลุมที่เจาะไว้อย่างพอดี
  • 20. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 13 ตารางบันทึกผลการทดลองครั้งที่ 1 ในระยะทาง 1.25 เมตร จะสามารถหยอดเมล็ดพร้อมกลบได้ 5 หลุมเป็นระยะเวลา 9.54 วินาที เมื่อใช้ระยะทางรวม 4.5เมตร ใช้เวลาในการหยอดและกลบ 34.34 วินาที ครั้ง ที่ ระยะทางที่ 1 1.5 เมตร ระยะทางที่ 2 1.5 เมตร ระยะทางที่ 3 1.5 เมตร รวมเป็นระยะทาง 4.50 เมตร จานวน หลุมที่ เจาะได้ จานวนหลุม ที่เมล็ดลง ได้ตรง จานวน หลุมที่ เจาะได้ จานวนหลุม ที่เมล็ดลง ได้ตรง จานวน หลุมที่ เจาะได้ จานวนหลุม ที่เมล็ดลง ได้ตรง หลุม ทั้งหมด จานวนเมล็ด ที่หลุม ทั้งหมด 1 6 4 6 4 6 4 18 12 2 6 4 6 4 6 3 18 11 3 6 4 6 3 6 4 18 11 4 6 4 6 4 6 4 18 12 5 6 3 6 4 6 4 18 11 6 6 4 6 4 6 3 18 11 7 6 4 6 3 6 4 18 11 8 6 4 6 4 6 4 18 12 9 6 2 6 4 6 4 18 10 10 6 3 6 4 6 4 18 11 เฉลี่ย 3.6 เฉลี่ย 3.8 เฉลี่ย 3.8 เฉลี่ย 11.2 ร้อยละ 60.00 ร้อยละ 63.33 ร้อยละ 63.33 ร้อยละ 62.22
  • 21. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 14 ตารางบันทึกผลการทดลองครั้งที่ 2 จากการทดลองครั้งที่ 1 พบว่าเมล็ดลงหลุมได้น้อยมากเราจึงนามาทาการแก้ไขโดยการ ดัดท่อลง (ที่หยอดเมล็ด) ให้ได้ตาแหน่งที่เจาะเมล็ดลงพอดี ในองศาที่พอเหมาะ ในระยะทาง 1.25 เมตร จะสามารถหยอดเมล็ดพร้อมกลบได้ 5 หลุมเป็นระยะเวลา 9.54 วินาที เมื่อใช้ระยะทางรวม 4.5เมตร ใช้เวลาในการหยอดและกลบ 34.34 วินาที ดังนั้นเมื่อใช้พื้นที่ 1 ไร่ จะใช้เวลาในการหยอดพร้อมกลบเป็นเวลา 50 นาที ครั้ง ที่ ระยะทางที่ 1 1.5 เมตร ระยะทางที่ 2 1.5 เมตร ระยะทางที่ 3 1.5 เมตร รวมเป็นระยะทาง 4.50 เมตร จานวน หลุมที่ เจาะได้ จานวนหลุม ที่เมล็ดลง ได้ตรง จานวน หลุมที่ เจาะได้ จานวนหลุม ที่เมล็ดลง ได้ตรง จานวน หลุมที่ เจาะได้ จานวนหลุม ที่เมล็ดลง ได้ตรง หลุม ทั้งหมด จานวนเมล็ด ที่หลุม ทั้งหมด 1 6 6 6 6 6 6 18 18 2 6 6 6 6 6 6 18 18 3 6 6 6 6 6 6 18 18 4 6 6 6 6 6 6 18 18 5 6 6 6 6 6 6 18 18 6 6 6 6 6 6 6 18 18 7 6 6 6 6 6 6 18 18 8 6 6 6 6 6 6 18 18 9 6 6 6 6 6 6 18 18 10 6 6 6 6 6 6 18 18 เฉลี่ย 6 เฉลี่ย 6 เฉลี่ย 6 เฉลี่ย 18 ร้อยละ 100.00 ร้อยละ 100.00 ร้อยละ 100.00 ร้อยละ 100.00
  • 22. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 15 บทที่ 5 สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 อภิปรายและสรุปผลการทดลอง ผลของการศึกษาเรื่อง เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด โดยใช้ความรู้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์และวิศวกรรมศาสตร์มาประยุกต์เข้ากับสิ่งประดิษฐ์ พบว่าในการทดลอง ครั้งที่ 1 ได้ผลไม่เป็นไปตามที่คาดไว้เนื่องจากตาแหน่งท่อหยอดเมล็ดไม่สัมพันธ์กับตาแหน่งของ หลุมที่เจาะซึ่งจะได้ร้อยละที่เมล็ดหยอดลงตรงกับหลุมเป็นร้อยละ 62.22 ทางผู้จัดทาจึงแก้ปัญหา โดยการปรับตาแหน่งของท่อหยอดเมล็ดใหม่โดยให้ท่อหยอดเมล็ดอยู่เยื้องกับแท่งเจาะหลุม เล็กน้อย ซึ่งได้ทาการทดลองใหม่เป็นครั้งที่ 2 พบว่าผลเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ซึ่งได้ผลที่ ออกมาเป็นร้อยละ 100 และในระยะทาง 1.25 เมตร จะสามารถหยอดเมล็ดพร้อมกลบได้ 5 หลุม เป็นระยะเวลา 9.54 วินาที เมื่อใช้ระยะทางรวม 4.5เมตร จะใช้เวลาในการหยอดและกลบทั้งหมด 34.34 วินาที ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดนี้ตอบโจทย์การปลูกข้าวโพดของเกษตรกร ได้อย่างมาก เพราะเป็นการย่นระยะเวลาในการปลูกโดยใช้เวลาประมาณ 50 นาทีต่อ 1 ไร่ จึงทาให้ ลดต้นทุนการผลิต อาทิเช่นทรัพยากรบุคคลในการปลูก และย่นระยะเวลาปลูกได้เป็นอย่างมากโดย อาศัยหลักการอย่างง่ายของกระบวนการวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ และการออกแบบเชิงวิศวกรรมในการ สร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อการเกษตรของไทยอย่างยั่งยืน 5.2 ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการดาเนินงาน 5.2.1 วัสดุในการประดิษฐ์เครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดไม่แข็งแรงเท่าที่ควร 5.2.2 เป็นอุปสรรคในการหาสถานที่ประดิษฐ์และอุปกรณ์ในการประดิษฐ์ไม่สะดวก มากนัก 5.2.3 การใช้โปรแกรมออกแบบที่ผู้จัดทายังไม่มีประสบการณ์ในการใช้มากพอ 5.2.4 ในการทาฟันเฟืองคัดเมล็ดเนื่องจากวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาฟันเฟืองยังไม่แม่นยา ทาให้ผลการทดลองยังไม่แม่นยาเท่าที่ควร 5.2.5 มีอุปสรรคในการหาวัสดุที่สามารถเจาะดินได้ 5.2.6 มีอุปสรรคในการดัดท่อ PVC ให้งอ จึงนาทรายมาใส่แล้วให้ความร้อนแล้วจึงดัด 5.2.7 มีอุปสรรคในการทาท่อหยอดเมล็ดและที่ใส่เมล็ดจึงผู้จัดทาจึงออกแบบใหม่โดยการ นาข้อต่อท่อตัดครึ่งแล้วประกบกัน รัดด้วยเข็มขัดรัดท่อและติดกาวติดท่อเพื่อให้ติดยึดแน่นมากขึ้น
  • 23. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 16 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 ควรเตรียมดินก่อนใช้เครื่องหยอดเมล็ดเนื่องจากเครื่องหยอดเมล็ดสามารถใช้งานได้ ในสภาพดินร่วนเท่านั้น 5.3.2 หากจะนาไปใช้งานจริงควรเปลี่ยนฟันเฟืองไปใช้วัสดุอื่นที่แข็งแรงกว่าไม้ 5.3.3 สามารถต่อยอดปรับเปลี่ยนโครงสร้างของเครื่องให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น อาทิเช่น เพิ่มตัวเครื่องให้มากกว่า 1 เครื่อง เพื่อลดระยะเวลาในการปลูกข้าวโพด และสามารถต่อยอด ปรับเปลี่ยนโครงสร้างได้ตามวัตถุประสงค์ 5.3.4 ตัวเครื่องสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้กับพืชไร่ได้หลากหลายชนิดโดยขึ้นกับสภาพ การปลูก 5.3.5 ในกรณีที่ทดลองเราใช้พื้นที่ในการทดลองค่อนข้างน้อยจึงไม่เกิดปัญหาในการใช้งาน แต่ถ้านาไปใช้ในพื้นที่ที่ใหญ่กว่านี้เครื่องอาจจะเกิดปัญหาในการหยอดได้ดังนั้นจึงต้องปรับปรุง วัสดุอุปกรณ์ที่นามาประดิษฐ์และอาศัยวิธีการแก้ไขปัญหาต่อไป
  • 24. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 17 ภาคผนวก
  • 25. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 18
  • 26. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 19
  • 27. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 20 ภาพการดาเนินงาน ภาพการออกแบบตัวเครื่องโดยใช้โปรแกรม sketchup ภาพการออกแบบฟันเฟืองคัดเมล็ด ภาพการออกแบบโครงสร้างตัวเครื่อง ภาพการออกแบบตัวเครื่องเต็ม ภาพการออกแบบโครงสร้างตัวกลบดิน ภาพร่างสมบูรณ์โดยใช้โปรแกรม sketchup ภาพร่างสมบูรณ์ของฟันเฟืองคัดเมล็ด ภาพร่างสมบูรณ์ของตัวเครื่อง
  • 28. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 21 ภาพร่างสมบูรณ์ของเครื่องด้านหน้า ภาพร่างสมบูรณ์ของเครื่องด้านข้าง ภาพการดาเนินงาน ตัดไม้เพื่อทาฟันเฟืองและตัดท่อเพื่อการประดิษฐ์ ตัดเหล็กเพื่อเป็นแกนล้อ นาเหล็กมาเชื่อมแกนล้อ
  • 29. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 22 ทดลองนามาประกอบกันเพื่อดูความเหมาะสม เชื่อมล้อท่อและเหล็กเข้าด้วยกันโดยการยิงตะปู เจาะรูเพื่อติดคานรวมถึงเจาะรูเพื่อหยอดเมล็ด ประกอบเครื่องเข้าด้วยกัน
  • 30. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 23 ประกอบเครื่องเข้าด้วยกันเชื่อมล้อติดกับแกนอีกครั้งเพื่อความแข็งแรง ดัดท่อสาหรับหยอดเมล็ดโดยใส่ทรายเข้าไปในท่อเพื่อกระจายความร้อนแล้วประมาณองศาให้เหมาะสมกับแท่งเจาะ ภาพจริงของเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดแบบสมบูรณ์
  • 31. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | 24 ประวัติผู้จัดทาโครงงาน (เรียงจากซ้ายไปขวา) ชื่อผู้จัดทาโครงงาน นางสาว ณิชากรณ์ แสงมณี วันเดือนปีเกิด 1 สิงหาคม 2542 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ที่อยู่ 45/1 ม.2 ต.ห้วยทราย อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ 50130 ประวัติการศึกษา สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2557 ชื่อผู้จัดทาโครงงาน นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ วันเดือนปีเกิด 2 กุมภาพันธ์ 2543 โรงพยาบาลเชียงใหม่ราม ที่อยู่ 155 ม.2 ต.สันกลาง อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ 50120 ประวัติการศึกษา สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนดาราวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2557 ชื่อผู้จัดทาโครงงาน นาย ปองคุณ ศรีสุทธะ วันเดือนปีเกิด 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2542 โรงพยาบาลราชเวช จังหวัดเชียงใหม่ ที่อยู่ 196 หมู่ 5 ต.หนองควาย อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 50230 ประวัติการศึกษา สาเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2557
  • 32. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | ฉ เอกสารอ้างอิง Pioneer 2557 “วิธีการปลูกข้าวโพดให้ได้ผลผลิตสูงและคุณภาพดี”(online). สืบค้นจาก :https://www.pioneer.com/web/site/thailand/resources/indiv-tech-sheets/ [5 กุมภาพันธ์ 2560] สถาบันวิจัยและพัฒนาที่สูง 2553 “Maize - Indian Corn, Maize”(online). สืบค้นจาก :http://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=505&name=-%20Maize%20- %20Indian%20Corn%2C%20Maize%20%5B1%5D [5 กุมภาพันธ์ 2560] MedThai 2014 “ข้าวโพด สรรพคุณและประโยชน์ของข้าวโพดหวาน”(online). สืบค้นจาก :https://medthai.com/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%8 2%E0%B8%9E%E0%B8%94/ [5 กุมภาพันธ์ 2560] พิเชษฐ์ กรุดลอยมา 2547 “ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์”(online). สืบค้นจาก : http://www.arda.or.th/kasetinfo/north/plant/fcorn.html [5 กุมภาพันธ์ 2560] Admin 2011 “ข้าวโพดหวาน”(online). สืบค้นจาก : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=5059 [5 กุมภาพันธ์ 2560] บ้านจอมยุทธ 2543 “ข้าวโพด”(online). สืบค้นจาก : http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-2/corn/index.html [5 กุมภาพันธ์ 2560] สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2015 “ข้าวโพด : ความสาคัญทางเศรษฐกิจ ของ ข้าวโพด ”(online). สืบค้นจาก : http://www3.rdi.ku.ac.th/?p=15990 [5 ก.พ. 2560] สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร สานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2547 “อนาคตอุตสาหกรรมข้าวโพดหวานของไทย”(online). สืบค้นจาก :http://www.oae.go.th/ewtadmin/ewt/oae_baer/ewt_news.php?nid=407&filename=index [5 กุมภาพันธ์ 2560] สมเจตน์ ศรีมาตร 2559 “กระเทาะความจริง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ราคาตกต่า”(online). สืบค้นจาก : http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/639338 [8 กุมภาพันธ์ 2560] สุวิทย์เมษอินทรี 2016 “ประเทศไทย 4.0 โมเดลเศรษฐกิจใหม่”(online). สืบค้นจาก : http://www.drborworn.com/articledetail.asp?id=16223 [8 กุมภาพันธ์ 2560] it24hrs 2017 “Thailand 4.0 คืออะไร”(online). สืบค้นจาก : https://www.it24hrs.com/2017/thailand-4-0/ [8 กุมภาพันธ์ 2560]
  • 33. Y U P P A R A J W I T T A Y A L A I S C H O O L | ช Purfresh 2016 “4 นวัตกรรมการเกษตร”(online). สืบค้นจาก : https://techsauce.co/agriculture/4-areas-agritech-startups-are-innovating-in/ [8 กุมภาพันธ์ 2560] akkaravit rabin 2016 “การศึกษาในยุค Thailand 4.0เน้นนวัตกรรม”(online). สืบค้นจาก : http://www.chiangmainews.co.th/page/archives/540274 [8 กุมภาพันธ์ 2560] TITISAK 2016 “ROTATIONAL MOTION”(online). สืบค้นจาก : http://e-learning.tu.ac.th/sc133/doc_download/number11-12_250749.pdf [26 กุมภาพันธ์ 2560] bosiiәz 2011 “วงกลม (Circle)”(online). สืบค้นจาก : http://alwaysbecreepermod.wixsite.com/simplemath/0 [8 กุมภาพันธ์ 2560] Piyaboon Nilkaew 2012 “คู่มือ SketchUp”(online). สืบค้นจาก : https://www.slideshare.net/piyaboon/sketchup-13232415 [2 เมษายน 2560] yupparaj 2015 “การพิมพ์บรรณานุกรม และระเบียบวิจัย”(online). สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/rsmyrc/kar-phimph-brrnanukrm [24 มิถุนายน 2560]