SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อการเพิ่มจานวนใบของต้นหนวดปลาหมึก
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
นางสาวปริณดา คิล เลขที่ 14
นางสาวพัทธนันท์ สมเกษม เลขที่ 19
นางสาววริศรา มาลารัตน์ เลขที่ 21
นางสาวอรนลิน อภิปัญญาโสภณ เลขที่ 28
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 126
สายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่องการทดลองฮอร์โมนพืชนี้จะสาเร็จลุล่วงไปไม่ได้ หากขาดความช่วยเหลือจากหลายๆ
ท่านโดยเฉพาะอย่างยิ่งอาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้สอนประจารายวิชาชีววิทยา 5 ที่ได้ให้คาแนะนา
รวมทั้งช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆเกี่ยวกับโครงงานดังกล่าว
ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ได้ให้ความช่วยเหลือ จัดหาอุปกรณ์ในการทางานครั้งนี้ จนโครงงานนี้
ประสบผลสาเร็จสมบูรณ์
คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
2 สิงหาคม 2560
สารบัญ
หน้า
ที่มาและความสาคัญ 1
ปัญหา 1
สมมุติฐาน 1
จุดประสงค์การทดลอง 1
ตัวแปร 1
อุปกรณ์การทดลอง 2
ระยะเวลาในการทดลอง 3
วิธีการเก็บข้อมูล 3
ขั้นตอนการทดลอง 3-4
ผลการทดลอง 4-6
สรุปผลและข้อเสนอแนะ 6
เอกสารอ้างอิง 6-11
บรรณานุกรม 11
ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจากต้นหนวดปลาหมึกเป็นต้นไม้ที่นิยมปลูกอย่างมากมายในประเทศไทย เนื่องจากมี
รูปลักษณ์ภายนอกที่มีความโดดเด่นเพราะฟอร์มใบเป็นแฉกสวยงาม มีวิธีการักษาไม่ยุ่งยาก และ
นอกเหนือจากนี้ฮอร์โมนออกซิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนพืชที่ถูกนามาใช้มากในปัจจุบัน เนื่องจากเป็นฮอร์โมนที่มี
ความสาคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้นคณะผู้จัดทาจึงมีความสนใจที่จะทาการศึกษาสองสิ่งดังกล่าว
ซึ่งจากการศึกษาพบว่าฮอร์โมนออกซินสามารถเร่งการเพิ่มจานวนใบได้
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออก
ซินที่มีต่อการเพิ่มจานวนใบต้นหนวดปลาหมึก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้น
ต่างๆต่อการเพิ่มจานวนใบของต้นหนวดปลาหมึก ซึ่งคณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมี
ความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจทุกเพศ ทุกวัยในอนาคตต่อไป
1. ปัญหา
ฮอร์โมนออกซินมีผลต่อการเพิ่มจานวนใบของต้นหนวดปลาหมึกหรือไม่ อย่างไร
2. สมมุติฐาน
ฮอร์โมนออกซินมีผลต่อการเพิ่มจานวนใบของต้นหนวดปลาหมึก โดยกระตุ้นการแบ่งเซลล์ทาให้
เกิดการงอกของใบเพิ่มขึ้น
3. จุดประสงค์การทดลอง
เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อการเพิ่มจานวนใบต้นหนวดปลาหมึก
4. ตัวแปร
 ตัวแปรต้น : ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน
 ตัวแปรตาม : จานวนใบของต้นหนวดปลาหมึก
 ตัวแปรควบคุม : น้า ปริมาณสารละลายฮอร์โมนที่ให้แต่ละครั้ง สิ่งแวดล้อมต่างๆ ปลูกในบริเวณ
เดียวกัน ได้รับแสงปริมาณเท่ากัน
1
5. อุปกรณ์การทดลอง
- ต้นหนวดปลาหมึก 9 ต้น
- ฮอร์โมนออกซิน
- ฟ็อกกี้ใส่ฮอร์โมน 3 ขวด
- ไซริงค์ 1 อัน
- ปากกามาร์คเกอร์
ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของต้นหนวดปลาหมึก
ชื่อวิทยาศาสตร์ Schefflera actinophylla (Endl.) Harms.
ชื่อวงศ์ ARALIACEAE
ถิ่นกาเนิด ออสเตรเลียและนิวกินี
ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 6-12 ม. ขนาดทรงพุ่ม 5-6 ม. ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่ม
ทรงกระบอก หรือรูปร่ม ลาต้นตั้งตรง เปลือกต้นสีน้าตาลอ่อนหรือสีเทา ค่อนข้างเรียบ มีรากอากาศห้อยตาม
ลาต้นและกิ่ง
ข้อมูลฮอร์โมน
ออกซิน (Auxin) เป็นกลุ่มของฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ทาให้มีการแบ่งเซลล์และยืด
ตัวของเซลล์ การขนส่งออกซินภายในพืชเป็นการขนส่งอย่างมีทิศทางแพร่กระจายไปทั่วโดยเข้มข้นสูงที่
เนื้อเยื่อเจริญ
2
ตาแหน่งที่มีการสังเคราะห์ออกซิน ได้แก่เนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายยอดและปลายราก ใบอ่อน ช่อดอกที่
กาลังเจริญ เมล็ดที่กาลังงอก เอ็มบริโอและผลที่กาลังเจริญ สารตั้งต้นของการสังเคราะห์ออกซินในพืช คือ
กรดอะมิโนทริปโตแฟน
ออกซินที่พืชสร้างขึ้นมีสองแบบคือแบบอิสระ สามารถเคลื่อนที่ได้ดี กับอีกแบบหนึ่งเป็นแบบที่จับอยู่
กับสารอื่นๆ ทาให้เคลื่อนที่ได้น้อยหรือไม่ออกฤทธิ์
6. ระยะเวลาในการทดลอง
16 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ถึง 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 รวม 28 วัน
7. วิธีการเก็บข้อมูล
- ทาการนับจานวนใบของต้นไม้แต่ละต้นและทาการบันทึกผลลงตารางบันทึกผลการทดลอง โดยทาการนับ
ทั้งหมดสามครั้งและนาผลที่ได้มาเปรียบเทียบกัน
8. ขั้นตอนการทดลอง
1) ซื้อต้นหนวดปลาหมึกด่างมาจานวน 9 ต้น
2) แบ่งต้นหนวดปลาหมึกด่างที่นามาทดลองออกเป็น 3 ชุด คือ ชุด A B และ C ชุดละ 3 ต้น
› ชุดการทดลองที่ 1 (ชุดA)ให้เป็นชุด High dose (ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน 0.6%v/v )
› ชุดการทดลองที่ 2 (ชุดB) ให้เป็นชุด Low dose (ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน 0.02%v/v)
› ชุดการทดลองที่ 3 (ชุดC) ให้เป็นควบคุม(ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน 0.00%v/v)
3
3) ให้ฮอร์โมนชุดการทดลองที่ 1 และ 2 เป็นประจาตลอดการทดลอง สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 100 cc
ต่อต้น และรดน้าอย่างสม่าเสมอ
4) สังเกตและบันทึกผลการเปลี่ยนแปลง
9. ผลการทดลอง
ตารางจานวนใบของต้นหนวดปลาหมึก ชุดการทดลองที่ 1
ครั้งที่ A1 A2 A3
1 351 ใบ 341 ใบ 428 ใบ
2 356 ใบ 349 ใบ 434 ใบ
3 364 ใบ 356 ใบ 438 ใบ
4
ตารางจานวนใบของต้นหนวดปลาหมึก ชุดการทดลองที่ 2
ครั้งที่ B1 B2 B3
1 547 ใบ 124 ใบ 206 ใบ
2 550 ใบ 124 ใบ 207 ใบ
3 552 ใบ 125 ใบ 209 ใบ
ตารางจาวนใบของต้นหนวดปลาหมึก ชุดการทดลองที่ 3
ครั้งที่ C1 C2 C3
1 336 ใบ 96 ใบ 214 ใบ
2 336 ใบ 96 ใบ 214 ใบ
3 338 ใบ 96 ใบ 215 ใบ
0
100
200
300
400
500
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3
A1
A2
A3
0
100
200
300
400
500
600
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3
B1
B2
B3
5
ตารางบันทึกผลการทดลอง
10. สรุปผลและข้อเสนอแนะ
0
100
200
300
400
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3
C1
C2
C3
ผู้บันทึก กลุ่ม high dose
(0.6%v/v)
กลุ่ม low dose (0.02
%v/v)
กลุ่มควบคุม(0%v/v)
ปริณดา จานวน
ใบ
เริ่มต้น
ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 รวม
(9ต้น/วัน)
เฉลี่ย
(1ต้น/วัน)
351 341 428 547 124 206 336 96 214 2643 294
สังเกตุจานวนใบที่เพิ่มขึ้น
อรนลิน ครั้งที่ 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
พัทธนันท์ ครั้งที่2 5 8 6 3 0 1 0 0 0 23 3
วริศรา ครั้งที่3 8 7 4 2 1 2 2 0 1 27 3
รวม(ใบของแต่ละชุดการ
ทดลองทั้งหมดที่
เพิ่มขึ้น)
13 15 10 5 1 3 2 0 1
เฉลี่ย(ใบของแต่ละชุด
การทดลองที่เพิ่ม/1ต้น)
13 3 1
6
จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าต้นหนวดปลาหมึกที่ได้รับฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นสูงสุดจะมี
อัตราการเพิ่มขึ้นสูงสุด รองลงมาจึงเป็นต้นที่ได้รับความเข้มข้นน้อยและต้นชุดควบคุม
ตามลาดับ จึงสรุปได้ว่าฮอร์โมนออกซินมีส่วนช่วยให้ต้นหนวดปลาหมึกเพิ่มจานวนใบและเร็ว
ยิ่งขึ้น
11. เอกสารอ้างอิง
ต้นหนวดปลาหมึก
ใบ ใบประกอบรูปนิ้วมือ เรียงเวียนสลับ ก้านใบรวมยาว 30-40 ซม. ก้านใบย่อยยาว 4-6 ซม. มีใบย่อย 6-9 ใบ
รูปรี หรือรูปรีแกมรูป ขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 15-25 ซม. ปลายใบติ่งแหลมหรือมน โคนใบแหลม
หรือมน ขอบใบเป็นคลื่น แผ่นใบค่อนข้างหนาและเหนียว สีเขียวเข้มเรียบเป็นมัน
ดอก สีชมพู ออกเป็นช่อแบบช่อซี่ร่มแยกแขนงที่ปลายกิ่ง ช่อดอก ตั้งยาว 50-70 ซม. ดอกอยู่รวมกันเป็น
กระจุกกระจุกละ 11-13 ดอก บนแกนช่อดอก กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอก 5 กลีบรูป
สามเหลี่ยม ปลายกลีบแหลมโค้งเข้า เกสรเพศผู้ 13 อัน เส้นผ่านศูนย์กลางดอกประมาณ 1 ซม. ออกดอก
เดือน มี.ค.-ก.ค.
7
ผล ผลแห้งแตก สีแดง ออกอยู่รวมกันเป็นกระจุก พัฒนาจากฐาน รองดอกทรงกระบอก มีลิ้นเปิดให้เมล็ด
ออกมา เมล็ดทรงกลม สีน้าตาล อมดา ขนาดเล็กจานวนมาก ติดผลเดือน พ.ค.-ส.ค. ขยายพันธุ์โดยการ เพาะ
เมล็ด ตอนลาต้น หรือปักชากิ่งแขนงข้างลาต้น
นิเวศวิทยา พบปลูกเลี้ยงอยู่ทั่วไป
การใช้ประโยชน์ ปลูกตามริมถนนใกล้สวนหย่อมเพราะทรงพุ่มแผ่สูง แสงส่องลงโคนต้นไม้ให้ร่มเงาดี และ
เหมาะที่เป็นไม้กระถาง ตกแต่ง ภายในอาคา
ฮอร์โมนออกซิน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับออกซินนั้นเกิดขึ้นจากงานของ CharlesDarwin ซึ่งศึกษาเรื่อง Phototropism ซึ่งพืชจะ
โค้งงอเข้าหาแสง Darwin ทดลองกับต้นกล้าของ Phalaris canariensis และพบว่าโคลีออพไทล์ของพืช
ชนิดนี้จะตอบสนองต่อการได้รับแสงเพียงด้านเดียวทาให้เกิดการโค้งเข้าหาแสง Darwin สรุปว่าเมื่อต้นกล้า
ได้รับแสงจะทาให้มี "อิทธิพล"(Influence) บางอย่างส่งผ่านจากส่วนยอดมายังส่วนล่างของโคลีออพ
ไทล์ ทาให้เกิดการโค้งงอเข้าหาแสง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อมาได้ศึกษาถึง "อิทธิพล"ดัง
กล่า ต่อมา BoysenJensen และ Paal ได้ศึกษาและแสดงให้เห็นว่า "อิทธิพล" ดังกล่าวนี้มีสภาพเป็น
สารเคมี ซึ่งในสภาพที่โคลีออพไทล์ได้รับแสงเท่ากันทั้งสองด้าน สารเคมีนี้จะเคลื่อนที่ลงสู่ส่วนล่างของ
โคลีออพไทล์ ในอัตราเท่ากันทุกด้านและทาหน้าที่เป็นสารกระตุ้นการเจริญเติบโต
ในปี ค.ศ.1926 มีการทดลองที่สามารถแยกสารชนิดนี้ออกจากโคลีออพไทล์ได้โดยตัดส่วนยอดของ
โคลีออพไทล์ของข้าวโอ๊ตแล้ววางลงบนวุ้นจะทาให้สารเคมีที่กระตุ้นการเจริญเติบโตไหลลงสู่วุ้น เมื่อนาวุ้น
ไปวางลงที่ด้านหนึ่งของโคลีออพไทล์ที่ไม่มียอดด้านใดด้านหนึ่งจะทาให้โคลีออพไทล์ดังกล่าวโค้งได้ ได้
สรุปว่าสารเคมีได้ซึมลงสู่วุ้นแล้วซึมจากวุ้นลงสู่ส่วนของโคลีออพไทล์ วิธีการดังกล่าวนอกจากเป็นวิธีการ
แรกที่แยกสารเคมีชนิดนี้ได้แล้ว ยังเป็นวิธีการวัดปริมาณของฮอร์โมนได้ด้วย เป็นวิธีที่เรียกว่า Bioassay
สารเคมีดังกล่าวได้รับการตั้งชื่อว่าออกซิน ซึ่งในปัจจุบันพบในพืชชั้นสูงทั่วๆ ไป และมีความสาคัญ
ต่อการเจริญเติบโตของพืช สังเคราะห์ได้จากส่วนเนื้อเยื่อเจริญของลาต้น ปลายราก ใบอ่อน ดอกและผล
และพบมากที่บริเวณเนื้อเยื่อเจริญ โคลีออพไทด์และคัพภะ รวมทั้งใบที่กาลังเจริญด้วย
8
การสังเคราะห์ออกซิน
ในปี ค.ศ. 1934 ได้พบว่า ออกซินมีลักษณะทางเคมีเป็นสาร Indole-3-acetic acid หรือ เรียกย่อๆ
ว่า IAA ซึ่งในปัจจุบันเชื่อว่าเป็นออกซินส่วนใหญ่ที่พบในพืชและในสภาพธรรมชาติ อยู่ใน
รูป Indole ทั้งสิ้น โดยที่ IAA เป็นสารที่สาคัญที่สุด นอกจากนั้นยังพบในรูปของ Indole-3-
acetaldehyde หรือ IAAld Indole-3-Pyruvic acid หรือ IPyA และ Indole-3-acetonitrile หรือ IAN ซึ่งสาร
ทั้ง 3 ชนิดนี้สามารถเปลี่ยนเป็น IAA ได้ พืชสังเคราะห์ออกซินที่ใบอ่อน จุดกาเนิดของใบและเมล็ดซึ่งกาลัง
เจริญเติบโต
การสังเคราะห์ออกซินนั้น มีกรดอะมิโน L-Tryptophan เป็นสารเริ่มต้น (Precursor)
L-Tryptophan เป็นกรดอะมิโนที่มีโครงสร้างของ Indole อยู่การสังเคราะห์ออกซิน ซึ่งในการ
สังเคราะห์ IAA
นั้น จะมี IAAld และ IPyA เป็นสารที่พบในระหว่างการสังเคราะห์ ในพืชบางชนิด เช่น ข้าว
โอ๊ต ยาสูบ มะเขือเทศ ทานตะวัน และข้าวบาร์เลย์ พบว่า Tryptophan สามารถ
เปลี่ยนเป็น Tryptamine ได้ ในพืชตระกูลกะหล่า Tryptamine อาจจะเปลี่ยนไปเป็น Indoleacetaldoxime
แล้วเปลี่ยนไปเป็น IAN แล้วจึงเปลี่ยนเป็น IAA
การศึกษาเรื่องการสังเคราะห์ออกซินมักศึกษาจากเนื้อเยื่อปลายรากหรือปลายยอด และ
พบว่า IAA นี้สังเคราะห์ได้ทั้งในส่วนไซโตซอล (Cytosol) ไมโตคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์
ในการศึกษาในปัจจุบันพบว่า Phenylacetic acid หรือ PAA มีคุณสมบัติของออกซินด้วย และสามารถ
สังเคราะห์ได้จาก L-Phenylalanine โดยพบในคลอโรพลาสต์ และไมโตคอนเดรียของทานตะวัน
สารสังเคราะห์ที่มีคุณสมบัติของออกซินมีหลายชนิดที่สาคัญทางการเกษตร เช่น สาร
2,4-dichlorophenoxyacetic acid หรือ 2,4-D ซึ่งใช้ในการกาจัดวัชพืช IBA หรือ Indole butyric acid ใช้ใน
9
การเร่งให้ส่วนที่จะนาไปปักชาเกิดรากเร็วขึ้น และ NAA หรือ Napthalene acetic acid จะช่วยในการติดผล
ของผลไม้บางชนิด เช่น แอปเปิล
การเคลื่อนที่ของออกซินในต้นพืช
จากส่วนของพืชที่มีการสังเคราะห์ฮอร์โมนจะเคลื่อนย้ายไปสู่ส่วนอื่นๆ และมีผลกระทบต่อเนื้อเยื่อ
ที่ได้รับฮอร์โมนการเคลื่อนที่จะถูกควบคุมอย่างดีการเคลื่อนที่ของออกซินจะเป็นแบบ
โพลาไรซ์ (Polarized) คือเคลื่อนที่ไปตามยาวของลาต้นโดยไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งมากกว่าทิศทาง
ตรงกันข้าม ซึ่งการเคลื่อนที่แบบโพลาร์ (Polar) นี้จะเกี่ยวข้องกับการเจริญและการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ
ของพืชทั้งต้น
การเคลื่อนที่ของออกซินในส่วนที่อยู่เหนือดินจะเป็นแบบโพลาร์เบสิพีตัล (Polar Basipetal) คือ จะ
เคลื่อนที่จากแหล่งผลิตที่ยอดไปสู่โคนต้น ซึ่งการทดลองที่แสดงว่ามีการเคลื่อนที่แบบนี้สามารถทาได้โดย
ใช้ก้อนวุ้นที่เป็นแหล่งให้ออกซินและรับออกซิน (DonorReceive AgarBlock) คือใช้ก้อนวุ้นที่มีออกซินอยู่
วางบนท่อนของเนื้อเยื่อ ส่วนก้อนวุ้นอีกก้อนซึ่งทาหน้าที่รับออกซินอยู่อีกปลายหนึ่งของท่อนเนื้อเยื่อออก
ซินจะเคลื่อนที่จากก้อนวุ้นที่มีออกซินผ่านเนื้อเยื่อลงไปสู่ก้อนวุ้นที่ไม่มีออกซิน ซึ่งจากวิธีการนี้สามารถ
คานวณความเร็วของการเคลื่อนที่ของออกซินในเนื้อเยื่อได้ เพราะทราบความยาวของท่อนเนื้อเยื่อ ความเร็ว
ในการเคลื่อนที่แสดงเป็นระยะทางต่อหน่วยเวลา ซึ่งความเร็วในการเคลื่อนที่ของออกซินจะประมาณ 0.5-
1.5 เซนติเมตรต่อชั่วโมง
การเคลื่อนที่ของออกซินจะเกิดแบบเบสิพีตัลก็เมื่อท่อนเนื้อเยื่อวางอยู่ในลักษณะปกติของลักษณะ
ทางสัณฐานวิทยาเท่านั้นคือ ก้อนวุ้นที่เป็นก้อนที่รับออกซินจะต้องอยู่ทางด้านโคนของท่อนเนื้อเยื่อ ถ้า
หากกลับท่อนเนื้อเยื่อเอาด้านโคนกลับขึ้นเป็นด้านยอด การเคลื่อนที่แบบเบสิพีตัลจะลดลงทันที
10
อัตราการเคลื่อนที่ของสารสังเคราะห์ที่มีคุณสมบัติของออกซิน จะช้ากว่าการเคลื่อนที่ของ
IAA แต่ลักษณะการเคลื่อนที่ของสารสังเคราะห์เช่น 2,4-DIBA และ NAA ก็เกิดในลักษณะโพลาร์
เช่นเดียวกับสาร IAA
การตอบสนองของพืชต่อออกซิน
1. การตอบสนองในระดับเซลล์ ออกซินทาให้เกิดการขยายตัวของเซลล์ (Cell enlargement) เช่น ทาให้เกิด
การขยายตัวของใบ ทาให้ผลเจริญเติบโต เช่น กรณีของสตรอเบอรี่ถ้าหากกาจัดแหล่งของออกซิน ซึ่งคือ
ส่วนของเมล็ดที่อยู่ภายนอกของผล (ผลแห้งแบบ Achene) จะทาให้เนื้อเยื่อของผลบริเวณที่ไม่มีเมล็ดรอบ
นอกไม่เจริญเติบโต ออกซินทาให้เกิดการแบ่งเซลล์ได้ในบางกรณี เช่น กระตุ้นการแบ่งเซลล์ของแคมเบีย
มและกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ เช่น กระตุ้นให้เกิดท่อน้าและท่ออาหาร กระตุ้นให้เกิดราก
จากการปักชาพืช เช่น การใช้ IBA ในการเร่งรากของกิ่งชา แล้วยังกระตุ้นให้เกิดแคลลัส (Callus) ในการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ แต่การตอบสนองในระดับเซลล์ที่เกิดเสมอคือ การขยายตัวของเซลล์
2. การตอบสนองของอวัยวะหรือพืชทั้งต้น
2.1 เกี่ยวข้องกับการตอบสนองของพืชต่อแสง (Phototropism)Geotropism ดังได้กล่าวมา
2.2 การที่ตายอดข่มไม่ให้ตาข้างเจริญเติบโต (Apical Dominance)
2.3 การติดผล เช่นกรณีของมะเขือเทศ ออกซินในรูปของ 4CPA จะเร่งให้เกิดผลแบบ
Pathenocarpic และในเงาะถ้าใช้ NAA4.5 เปอร์เซ็นต์ จะเร่งการเจริญของเกสรตัวผู้ทาให้สามารถผสมกับ
เกสรตัวเมียได้ ในดอกที่ได้รับ NAA เกสรตัวเมียจะไม่เจริญเพราะได้รับ NAA ที่มีความเข้มข้นสูงเกินไป
แต่เกสรตัวผู้ยังเจริญได้ ทาให้การติดผลเกิดมากขึ้น
2.4 ป้องกันการร่วงของผลโดยออกซินจะยับยั้งไม่ให้เกิด Abcission layer ขึ้นมา เช่น การใช้ 2,4-
D ป้องกันผลส้มไม่ให้ร่วง หรือ NAA สามารถป้องกันการร่วงของผลมะม่วง
2.5 ป้องกันการร่วงของใบ
2.6 ในบางกรณีออกซินสามารถทาให้สัดส่วนของดอกตัวเมีย และตัวผู้เปลี่ยนไปโดยออกซินจะก
ระตุ้นให้มีดอกตัวเมียมากขึ้น
2.7 มีผลต่อการออกดอกของพืชบางชนิดเช่น สับปะรด
11
12. บรรณานุกรม
ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง. 2560. ต้นหนวดปลาหมึก. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.thaikasetsart.com
2 สิงหาคม 2560
รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ (ออนไลน์) แหล่งที่มา:
http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.htm 2 สิงหาคม 2560

More Related Content

What's hot (20)

Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
M6 78 60_6
M6 78 60_6M6 78 60_6
M6 78 60_6
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 

Similar to M6 126 60_7

Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...bmmg1
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Sathitalookmai
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)MetawadeeNongsana
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
Bougainvillea sp. by class 341 group 5
Bougainvillea sp. by class 341 group 5Bougainvillea sp. by class 341 group 5
Bougainvillea sp. by class 341 group 5ssuserfe6f95
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931SasipaChaya
 

Similar to M6 126 60_7 (20)

M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
M6 125 60_5
M6 125 60_5M6 125 60_5
M6 125 60_5
 
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
 
Minibook
MinibookMinibook
Minibook
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
Bougainvillea sp. by class 341 group 5
Bougainvillea sp. by class 341 group 5Bougainvillea sp. by class 341 group 5
Bougainvillea sp. by class 341 group 5
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Test Upload
Test UploadTest Upload
Test Upload
 
Test Upload
Test UploadTest Upload
Test Upload
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
932 pre6
932 pre6932 pre6
932 pre6
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
M6 126 60_6
M6 126 60_6M6 126 60_6
M6 126 60_6
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 126 60_7

  • 1. โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อการเพิ่มจานวนใบของต้นหนวดปลาหมึก สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช นางสาวปริณดา คิล เลขที่ 14 นางสาวพัทธนันท์ สมเกษม เลขที่ 19 นางสาววริศรา มาลารัตน์ เลขที่ 21 นางสาวอรนลิน อภิปัญญาโสภณ เลขที่ 28 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 126 สายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์ผู้สอน อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 2. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่องการทดลองฮอร์โมนพืชนี้จะสาเร็จลุล่วงไปไม่ได้ หากขาดความช่วยเหลือจากหลายๆ ท่านโดยเฉพาะอย่างยิ่งอาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้สอนประจารายวิชาชีววิทยา 5 ที่ได้ให้คาแนะนา รวมทั้งช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆเกี่ยวกับโครงงานดังกล่าว ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ได้ให้ความช่วยเหลือ จัดหาอุปกรณ์ในการทางานครั้งนี้ จนโครงงานนี้ ประสบผลสาเร็จสมบูรณ์ คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา 2 สิงหาคม 2560
  • 3. สารบัญ หน้า ที่มาและความสาคัญ 1 ปัญหา 1 สมมุติฐาน 1 จุดประสงค์การทดลอง 1 ตัวแปร 1 อุปกรณ์การทดลอง 2 ระยะเวลาในการทดลอง 3 วิธีการเก็บข้อมูล 3 ขั้นตอนการทดลอง 3-4 ผลการทดลอง 4-6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 6 เอกสารอ้างอิง 6-11 บรรณานุกรม 11
  • 4. ที่มาและความสาคัญ เนื่องจากต้นหนวดปลาหมึกเป็นต้นไม้ที่นิยมปลูกอย่างมากมายในประเทศไทย เนื่องจากมี รูปลักษณ์ภายนอกที่มีความโดดเด่นเพราะฟอร์มใบเป็นแฉกสวยงาม มีวิธีการักษาไม่ยุ่งยาก และ นอกเหนือจากนี้ฮอร์โมนออกซิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนพืชที่ถูกนามาใช้มากในปัจจุบัน เนื่องจากเป็นฮอร์โมนที่มี ความสาคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้นคณะผู้จัดทาจึงมีความสนใจที่จะทาการศึกษาสองสิ่งดังกล่าว ซึ่งจากการศึกษาพบว่าฮอร์โมนออกซินสามารถเร่งการเพิ่มจานวนใบได้ คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออก ซินที่มีต่อการเพิ่มจานวนใบต้นหนวดปลาหมึก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้น ต่างๆต่อการเพิ่มจานวนใบของต้นหนวดปลาหมึก ซึ่งคณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมี ความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจทุกเพศ ทุกวัยในอนาคตต่อไป 1. ปัญหา ฮอร์โมนออกซินมีผลต่อการเพิ่มจานวนใบของต้นหนวดปลาหมึกหรือไม่ อย่างไร 2. สมมุติฐาน ฮอร์โมนออกซินมีผลต่อการเพิ่มจานวนใบของต้นหนวดปลาหมึก โดยกระตุ้นการแบ่งเซลล์ทาให้ เกิดการงอกของใบเพิ่มขึ้น 3. จุดประสงค์การทดลอง เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อการเพิ่มจานวนใบต้นหนวดปลาหมึก 4. ตัวแปร  ตัวแปรต้น : ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน  ตัวแปรตาม : จานวนใบของต้นหนวดปลาหมึก  ตัวแปรควบคุม : น้า ปริมาณสารละลายฮอร์โมนที่ให้แต่ละครั้ง สิ่งแวดล้อมต่างๆ ปลูกในบริเวณ เดียวกัน ได้รับแสงปริมาณเท่ากัน 1
  • 5. 5. อุปกรณ์การทดลอง - ต้นหนวดปลาหมึก 9 ต้น - ฮอร์โมนออกซิน - ฟ็อกกี้ใส่ฮอร์โมน 3 ขวด - ไซริงค์ 1 อัน - ปากกามาร์คเกอร์ ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของต้นหนวดปลาหมึก ชื่อวิทยาศาสตร์ Schefflera actinophylla (Endl.) Harms. ชื่อวงศ์ ARALIACEAE ถิ่นกาเนิด ออสเตรเลียและนิวกินี ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 6-12 ม. ขนาดทรงพุ่ม 5-6 ม. ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่ม ทรงกระบอก หรือรูปร่ม ลาต้นตั้งตรง เปลือกต้นสีน้าตาลอ่อนหรือสีเทา ค่อนข้างเรียบ มีรากอากาศห้อยตาม ลาต้นและกิ่ง ข้อมูลฮอร์โมน ออกซิน (Auxin) เป็นกลุ่มของฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ทาให้มีการแบ่งเซลล์และยืด ตัวของเซลล์ การขนส่งออกซินภายในพืชเป็นการขนส่งอย่างมีทิศทางแพร่กระจายไปทั่วโดยเข้มข้นสูงที่ เนื้อเยื่อเจริญ 2
  • 6. ตาแหน่งที่มีการสังเคราะห์ออกซิน ได้แก่เนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายยอดและปลายราก ใบอ่อน ช่อดอกที่ กาลังเจริญ เมล็ดที่กาลังงอก เอ็มบริโอและผลที่กาลังเจริญ สารตั้งต้นของการสังเคราะห์ออกซินในพืช คือ กรดอะมิโนทริปโตแฟน ออกซินที่พืชสร้างขึ้นมีสองแบบคือแบบอิสระ สามารถเคลื่อนที่ได้ดี กับอีกแบบหนึ่งเป็นแบบที่จับอยู่ กับสารอื่นๆ ทาให้เคลื่อนที่ได้น้อยหรือไม่ออกฤทธิ์ 6. ระยะเวลาในการทดลอง 16 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ถึง 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 รวม 28 วัน 7. วิธีการเก็บข้อมูล - ทาการนับจานวนใบของต้นไม้แต่ละต้นและทาการบันทึกผลลงตารางบันทึกผลการทดลอง โดยทาการนับ ทั้งหมดสามครั้งและนาผลที่ได้มาเปรียบเทียบกัน 8. ขั้นตอนการทดลอง 1) ซื้อต้นหนวดปลาหมึกด่างมาจานวน 9 ต้น 2) แบ่งต้นหนวดปลาหมึกด่างที่นามาทดลองออกเป็น 3 ชุด คือ ชุด A B และ C ชุดละ 3 ต้น › ชุดการทดลองที่ 1 (ชุดA)ให้เป็นชุด High dose (ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน 0.6%v/v ) › ชุดการทดลองที่ 2 (ชุดB) ให้เป็นชุด Low dose (ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน 0.02%v/v) › ชุดการทดลองที่ 3 (ชุดC) ให้เป็นควบคุม(ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน 0.00%v/v) 3
  • 7. 3) ให้ฮอร์โมนชุดการทดลองที่ 1 และ 2 เป็นประจาตลอดการทดลอง สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 100 cc ต่อต้น และรดน้าอย่างสม่าเสมอ 4) สังเกตและบันทึกผลการเปลี่ยนแปลง 9. ผลการทดลอง ตารางจานวนใบของต้นหนวดปลาหมึก ชุดการทดลองที่ 1 ครั้งที่ A1 A2 A3 1 351 ใบ 341 ใบ 428 ใบ 2 356 ใบ 349 ใบ 434 ใบ 3 364 ใบ 356 ใบ 438 ใบ 4
  • 8. ตารางจานวนใบของต้นหนวดปลาหมึก ชุดการทดลองที่ 2 ครั้งที่ B1 B2 B3 1 547 ใบ 124 ใบ 206 ใบ 2 550 ใบ 124 ใบ 207 ใบ 3 552 ใบ 125 ใบ 209 ใบ ตารางจาวนใบของต้นหนวดปลาหมึก ชุดการทดลองที่ 3 ครั้งที่ C1 C2 C3 1 336 ใบ 96 ใบ 214 ใบ 2 336 ใบ 96 ใบ 214 ใบ 3 338 ใบ 96 ใบ 215 ใบ 0 100 200 300 400 500 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 A1 A2 A3 0 100 200 300 400 500 600 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 B1 B2 B3 5
  • 9. ตารางบันทึกผลการทดลอง 10. สรุปผลและข้อเสนอแนะ 0 100 200 300 400 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 C1 C2 C3 ผู้บันทึก กลุ่ม high dose (0.6%v/v) กลุ่ม low dose (0.02 %v/v) กลุ่มควบคุม(0%v/v) ปริณดา จานวน ใบ เริ่มต้น ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 รวม (9ต้น/วัน) เฉลี่ย (1ต้น/วัน) 351 341 428 547 124 206 336 96 214 2643 294 สังเกตุจานวนใบที่เพิ่มขึ้น อรนลิน ครั้งที่ 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 พัทธนันท์ ครั้งที่2 5 8 6 3 0 1 0 0 0 23 3 วริศรา ครั้งที่3 8 7 4 2 1 2 2 0 1 27 3 รวม(ใบของแต่ละชุดการ ทดลองทั้งหมดที่ เพิ่มขึ้น) 13 15 10 5 1 3 2 0 1 เฉลี่ย(ใบของแต่ละชุด การทดลองที่เพิ่ม/1ต้น) 13 3 1 6
  • 10. จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าต้นหนวดปลาหมึกที่ได้รับฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นสูงสุดจะมี อัตราการเพิ่มขึ้นสูงสุด รองลงมาจึงเป็นต้นที่ได้รับความเข้มข้นน้อยและต้นชุดควบคุม ตามลาดับ จึงสรุปได้ว่าฮอร์โมนออกซินมีส่วนช่วยให้ต้นหนวดปลาหมึกเพิ่มจานวนใบและเร็ว ยิ่งขึ้น 11. เอกสารอ้างอิง ต้นหนวดปลาหมึก ใบ ใบประกอบรูปนิ้วมือ เรียงเวียนสลับ ก้านใบรวมยาว 30-40 ซม. ก้านใบย่อยยาว 4-6 ซม. มีใบย่อย 6-9 ใบ รูปรี หรือรูปรีแกมรูป ขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 15-25 ซม. ปลายใบติ่งแหลมหรือมน โคนใบแหลม หรือมน ขอบใบเป็นคลื่น แผ่นใบค่อนข้างหนาและเหนียว สีเขียวเข้มเรียบเป็นมัน ดอก สีชมพู ออกเป็นช่อแบบช่อซี่ร่มแยกแขนงที่ปลายกิ่ง ช่อดอก ตั้งยาว 50-70 ซม. ดอกอยู่รวมกันเป็น กระจุกกระจุกละ 11-13 ดอก บนแกนช่อดอก กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอก 5 กลีบรูป สามเหลี่ยม ปลายกลีบแหลมโค้งเข้า เกสรเพศผู้ 13 อัน เส้นผ่านศูนย์กลางดอกประมาณ 1 ซม. ออกดอก เดือน มี.ค.-ก.ค. 7
  • 11. ผล ผลแห้งแตก สีแดง ออกอยู่รวมกันเป็นกระจุก พัฒนาจากฐาน รองดอกทรงกระบอก มีลิ้นเปิดให้เมล็ด ออกมา เมล็ดทรงกลม สีน้าตาล อมดา ขนาดเล็กจานวนมาก ติดผลเดือน พ.ค.-ส.ค. ขยายพันธุ์โดยการ เพาะ เมล็ด ตอนลาต้น หรือปักชากิ่งแขนงข้างลาต้น นิเวศวิทยา พบปลูกเลี้ยงอยู่ทั่วไป การใช้ประโยชน์ ปลูกตามริมถนนใกล้สวนหย่อมเพราะทรงพุ่มแผ่สูง แสงส่องลงโคนต้นไม้ให้ร่มเงาดี และ เหมาะที่เป็นไม้กระถาง ตกแต่ง ภายในอาคา ฮอร์โมนออกซิน ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับออกซินนั้นเกิดขึ้นจากงานของ CharlesDarwin ซึ่งศึกษาเรื่อง Phototropism ซึ่งพืชจะ โค้งงอเข้าหาแสง Darwin ทดลองกับต้นกล้าของ Phalaris canariensis และพบว่าโคลีออพไทล์ของพืช ชนิดนี้จะตอบสนองต่อการได้รับแสงเพียงด้านเดียวทาให้เกิดการโค้งเข้าหาแสง Darwin สรุปว่าเมื่อต้นกล้า ได้รับแสงจะทาให้มี "อิทธิพล"(Influence) บางอย่างส่งผ่านจากส่วนยอดมายังส่วนล่างของโคลีออพ ไทล์ ทาให้เกิดการโค้งงอเข้าหาแสง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อมาได้ศึกษาถึง "อิทธิพล"ดัง กล่า ต่อมา BoysenJensen และ Paal ได้ศึกษาและแสดงให้เห็นว่า "อิทธิพล" ดังกล่าวนี้มีสภาพเป็น สารเคมี ซึ่งในสภาพที่โคลีออพไทล์ได้รับแสงเท่ากันทั้งสองด้าน สารเคมีนี้จะเคลื่อนที่ลงสู่ส่วนล่างของ โคลีออพไทล์ ในอัตราเท่ากันทุกด้านและทาหน้าที่เป็นสารกระตุ้นการเจริญเติบโต ในปี ค.ศ.1926 มีการทดลองที่สามารถแยกสารชนิดนี้ออกจากโคลีออพไทล์ได้โดยตัดส่วนยอดของ โคลีออพไทล์ของข้าวโอ๊ตแล้ววางลงบนวุ้นจะทาให้สารเคมีที่กระตุ้นการเจริญเติบโตไหลลงสู่วุ้น เมื่อนาวุ้น ไปวางลงที่ด้านหนึ่งของโคลีออพไทล์ที่ไม่มียอดด้านใดด้านหนึ่งจะทาให้โคลีออพไทล์ดังกล่าวโค้งได้ ได้ สรุปว่าสารเคมีได้ซึมลงสู่วุ้นแล้วซึมจากวุ้นลงสู่ส่วนของโคลีออพไทล์ วิธีการดังกล่าวนอกจากเป็นวิธีการ แรกที่แยกสารเคมีชนิดนี้ได้แล้ว ยังเป็นวิธีการวัดปริมาณของฮอร์โมนได้ด้วย เป็นวิธีที่เรียกว่า Bioassay สารเคมีดังกล่าวได้รับการตั้งชื่อว่าออกซิน ซึ่งในปัจจุบันพบในพืชชั้นสูงทั่วๆ ไป และมีความสาคัญ ต่อการเจริญเติบโตของพืช สังเคราะห์ได้จากส่วนเนื้อเยื่อเจริญของลาต้น ปลายราก ใบอ่อน ดอกและผล และพบมากที่บริเวณเนื้อเยื่อเจริญ โคลีออพไทด์และคัพภะ รวมทั้งใบที่กาลังเจริญด้วย 8
  • 12. การสังเคราะห์ออกซิน ในปี ค.ศ. 1934 ได้พบว่า ออกซินมีลักษณะทางเคมีเป็นสาร Indole-3-acetic acid หรือ เรียกย่อๆ ว่า IAA ซึ่งในปัจจุบันเชื่อว่าเป็นออกซินส่วนใหญ่ที่พบในพืชและในสภาพธรรมชาติ อยู่ใน รูป Indole ทั้งสิ้น โดยที่ IAA เป็นสารที่สาคัญที่สุด นอกจากนั้นยังพบในรูปของ Indole-3- acetaldehyde หรือ IAAld Indole-3-Pyruvic acid หรือ IPyA และ Indole-3-acetonitrile หรือ IAN ซึ่งสาร ทั้ง 3 ชนิดนี้สามารถเปลี่ยนเป็น IAA ได้ พืชสังเคราะห์ออกซินที่ใบอ่อน จุดกาเนิดของใบและเมล็ดซึ่งกาลัง เจริญเติบโต การสังเคราะห์ออกซินนั้น มีกรดอะมิโน L-Tryptophan เป็นสารเริ่มต้น (Precursor) L-Tryptophan เป็นกรดอะมิโนที่มีโครงสร้างของ Indole อยู่การสังเคราะห์ออกซิน ซึ่งในการ สังเคราะห์ IAA นั้น จะมี IAAld และ IPyA เป็นสารที่พบในระหว่างการสังเคราะห์ ในพืชบางชนิด เช่น ข้าว โอ๊ต ยาสูบ มะเขือเทศ ทานตะวัน และข้าวบาร์เลย์ พบว่า Tryptophan สามารถ เปลี่ยนเป็น Tryptamine ได้ ในพืชตระกูลกะหล่า Tryptamine อาจจะเปลี่ยนไปเป็น Indoleacetaldoxime แล้วเปลี่ยนไปเป็น IAN แล้วจึงเปลี่ยนเป็น IAA การศึกษาเรื่องการสังเคราะห์ออกซินมักศึกษาจากเนื้อเยื่อปลายรากหรือปลายยอด และ พบว่า IAA นี้สังเคราะห์ได้ทั้งในส่วนไซโตซอล (Cytosol) ไมโตคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์ ในการศึกษาในปัจจุบันพบว่า Phenylacetic acid หรือ PAA มีคุณสมบัติของออกซินด้วย และสามารถ สังเคราะห์ได้จาก L-Phenylalanine โดยพบในคลอโรพลาสต์ และไมโตคอนเดรียของทานตะวัน สารสังเคราะห์ที่มีคุณสมบัติของออกซินมีหลายชนิดที่สาคัญทางการเกษตร เช่น สาร 2,4-dichlorophenoxyacetic acid หรือ 2,4-D ซึ่งใช้ในการกาจัดวัชพืช IBA หรือ Indole butyric acid ใช้ใน 9
  • 13. การเร่งให้ส่วนที่จะนาไปปักชาเกิดรากเร็วขึ้น และ NAA หรือ Napthalene acetic acid จะช่วยในการติดผล ของผลไม้บางชนิด เช่น แอปเปิล การเคลื่อนที่ของออกซินในต้นพืช จากส่วนของพืชที่มีการสังเคราะห์ฮอร์โมนจะเคลื่อนย้ายไปสู่ส่วนอื่นๆ และมีผลกระทบต่อเนื้อเยื่อ ที่ได้รับฮอร์โมนการเคลื่อนที่จะถูกควบคุมอย่างดีการเคลื่อนที่ของออกซินจะเป็นแบบ โพลาไรซ์ (Polarized) คือเคลื่อนที่ไปตามยาวของลาต้นโดยไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งมากกว่าทิศทาง ตรงกันข้าม ซึ่งการเคลื่อนที่แบบโพลาร์ (Polar) นี้จะเกี่ยวข้องกับการเจริญและการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ ของพืชทั้งต้น การเคลื่อนที่ของออกซินในส่วนที่อยู่เหนือดินจะเป็นแบบโพลาร์เบสิพีตัล (Polar Basipetal) คือ จะ เคลื่อนที่จากแหล่งผลิตที่ยอดไปสู่โคนต้น ซึ่งการทดลองที่แสดงว่ามีการเคลื่อนที่แบบนี้สามารถทาได้โดย ใช้ก้อนวุ้นที่เป็นแหล่งให้ออกซินและรับออกซิน (DonorReceive AgarBlock) คือใช้ก้อนวุ้นที่มีออกซินอยู่ วางบนท่อนของเนื้อเยื่อ ส่วนก้อนวุ้นอีกก้อนซึ่งทาหน้าที่รับออกซินอยู่อีกปลายหนึ่งของท่อนเนื้อเยื่อออก ซินจะเคลื่อนที่จากก้อนวุ้นที่มีออกซินผ่านเนื้อเยื่อลงไปสู่ก้อนวุ้นที่ไม่มีออกซิน ซึ่งจากวิธีการนี้สามารถ คานวณความเร็วของการเคลื่อนที่ของออกซินในเนื้อเยื่อได้ เพราะทราบความยาวของท่อนเนื้อเยื่อ ความเร็ว ในการเคลื่อนที่แสดงเป็นระยะทางต่อหน่วยเวลา ซึ่งความเร็วในการเคลื่อนที่ของออกซินจะประมาณ 0.5- 1.5 เซนติเมตรต่อชั่วโมง การเคลื่อนที่ของออกซินจะเกิดแบบเบสิพีตัลก็เมื่อท่อนเนื้อเยื่อวางอยู่ในลักษณะปกติของลักษณะ ทางสัณฐานวิทยาเท่านั้นคือ ก้อนวุ้นที่เป็นก้อนที่รับออกซินจะต้องอยู่ทางด้านโคนของท่อนเนื้อเยื่อ ถ้า หากกลับท่อนเนื้อเยื่อเอาด้านโคนกลับขึ้นเป็นด้านยอด การเคลื่อนที่แบบเบสิพีตัลจะลดลงทันที 10
  • 14. อัตราการเคลื่อนที่ของสารสังเคราะห์ที่มีคุณสมบัติของออกซิน จะช้ากว่าการเคลื่อนที่ของ IAA แต่ลักษณะการเคลื่อนที่ของสารสังเคราะห์เช่น 2,4-DIBA และ NAA ก็เกิดในลักษณะโพลาร์ เช่นเดียวกับสาร IAA การตอบสนองของพืชต่อออกซิน 1. การตอบสนองในระดับเซลล์ ออกซินทาให้เกิดการขยายตัวของเซลล์ (Cell enlargement) เช่น ทาให้เกิด การขยายตัวของใบ ทาให้ผลเจริญเติบโต เช่น กรณีของสตรอเบอรี่ถ้าหากกาจัดแหล่งของออกซิน ซึ่งคือ ส่วนของเมล็ดที่อยู่ภายนอกของผล (ผลแห้งแบบ Achene) จะทาให้เนื้อเยื่อของผลบริเวณที่ไม่มีเมล็ดรอบ นอกไม่เจริญเติบโต ออกซินทาให้เกิดการแบ่งเซลล์ได้ในบางกรณี เช่น กระตุ้นการแบ่งเซลล์ของแคมเบีย มและกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ เช่น กระตุ้นให้เกิดท่อน้าและท่ออาหาร กระตุ้นให้เกิดราก จากการปักชาพืช เช่น การใช้ IBA ในการเร่งรากของกิ่งชา แล้วยังกระตุ้นให้เกิดแคลลัส (Callus) ในการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ แต่การตอบสนองในระดับเซลล์ที่เกิดเสมอคือ การขยายตัวของเซลล์ 2. การตอบสนองของอวัยวะหรือพืชทั้งต้น 2.1 เกี่ยวข้องกับการตอบสนองของพืชต่อแสง (Phototropism)Geotropism ดังได้กล่าวมา 2.2 การที่ตายอดข่มไม่ให้ตาข้างเจริญเติบโต (Apical Dominance) 2.3 การติดผล เช่นกรณีของมะเขือเทศ ออกซินในรูปของ 4CPA จะเร่งให้เกิดผลแบบ Pathenocarpic และในเงาะถ้าใช้ NAA4.5 เปอร์เซ็นต์ จะเร่งการเจริญของเกสรตัวผู้ทาให้สามารถผสมกับ เกสรตัวเมียได้ ในดอกที่ได้รับ NAA เกสรตัวเมียจะไม่เจริญเพราะได้รับ NAA ที่มีความเข้มข้นสูงเกินไป แต่เกสรตัวผู้ยังเจริญได้ ทาให้การติดผลเกิดมากขึ้น 2.4 ป้องกันการร่วงของผลโดยออกซินจะยับยั้งไม่ให้เกิด Abcission layer ขึ้นมา เช่น การใช้ 2,4- D ป้องกันผลส้มไม่ให้ร่วง หรือ NAA สามารถป้องกันการร่วงของผลมะม่วง 2.5 ป้องกันการร่วงของใบ 2.6 ในบางกรณีออกซินสามารถทาให้สัดส่วนของดอกตัวเมีย และตัวผู้เปลี่ยนไปโดยออกซินจะก ระตุ้นให้มีดอกตัวเมียมากขึ้น 2.7 มีผลต่อการออกดอกของพืชบางชนิดเช่น สับปะรด 11
  • 15. 12. บรรณานุกรม ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง. 2560. ต้นหนวดปลาหมึก. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.thaikasetsart.com 2 สิงหาคม 2560 รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ (ออนไลน์) แหล่งที่มา: http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.htm 2 สิงหาคม 2560