SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
โครงงานการทดลองฮอรโมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอรโมนจิบเบอเรลลินที่มีตอความสูงของตนของตนมะกรูด
นําเสนอครูผูสอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ
ตําแหนงครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอรโมนพืช
1. กานต ตันติกนกพร 22
2. ธนวัฒน พลานุสิตเทพา 30
3. ธีรธวัช บัวแกว 31
4. วัชพล วรรณโวหาร 36
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 หอง 77
สายการเรียนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร
โครงงานการทดลองฮอรโมนพืชนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
บทคัดยอ
เนื่องจากสังคมและเศรษฐกิจในปจจุบันนี้มีคาครองชีพสูงขึ้น รวมถึงอาหารและยาตางๆก็มีสารเจือปน
ตางๆมากมาย ซึ่งทําใหหลายคนเลือกที่จะกลับมาสูวิถีทางธรรมชาติเชนการปลูกผักสวนครัวเองเพื่อหลีกเลี่ยง
คาใชจายตางๆ ซึ่งมะกรูดก็เปนหนึ่งในตนไมที่มีสรรพคุณมากมายที่สามารถปลูกไดงายและไมใชพื้นที่มาก
นอกจากนี้ การใชฮอรโมนจิบเบอเรลลิน ซึ่งเปนฮอรโมนที่มีสวนชวยใหพืชเจริญเติบโตไดเร็ว โดยเฉพาะกับ
สวนยอดออนของตนไมนั้นเปนตัวชวยเรื่องของเรงเวลาไดอยางดีซึ่งทําใหเราสามารถไดผลผลิตในเวลาที่เร็วขึ้น
จึงเหมาะแกการนํามาใชในการปลูกตนไมเปนอยางยิ่ง
เนื่องดวยที่มาและความสําคัญดั่งกลาว ทําใหทางคณะผูจัดทําโครงงาน ตัดสินใจที่จะทําโครงงานนี้ขึ้น
เพื่อหาปริมาณความเขมขนของฮอรโมนที่ควรใหแกพืชสวนครัวอยางมะกรูดแลวไดผลผลิตเร็วที่สุด หรือมีการ
พัฒนาและเจริญเติบโตมากที่สุด โดยการนําตนมะกรูดจํานวน 9 ตน แบงเปน 3 ชุด ชุดละ3ตน ไดแก ชุดที่
ไดรับฮอรโมนความเขมขนสูง(ความเขมขน 0.13%) ชุดที่ไดรับฮอรโมนความเขมขนต่ํา(ความเขมขน
0.02%) และชุดที่ไมไดรับฮอรโมนเลย(ความเขมขน 0%)
จากการทดลองพบวาความสูงของตนไมที่เราไดนํามาทดลองของชุดความเขมขนสูง(ความเขมขน
0.13%)มีลักษณะ สูงและผอมกวาตนไมที่ไดรับฮอรโมนที่มีความเขมขนต่ํา(ความเขมขน 0.02%)และตนไมที่
ไมไดรับฮอรโมนเลย(ความเขมขน 0%)
คณะผูจัดทํา
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานการทดลองฮอรโมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอรโมนจิบเบอเรลลินที่มีตอความสูง
ของตนของตนมะกรูดนี้ จะไมมีทางเกิดขึ้นไดเลย หากไมไดรับความอนุเคราะหจาก นายวิชัย ลิขิตพร
รักษ อาจารยประจําวิชา ที่ชวยใหคําปรึกษา ชวยแกไขปญหาตางๆที่พบระหวางการโครงงาน นาย
เผด็จ จิตรากร หัวหนาตึกศิลปะ ที่เอื้อเฟอในเรื่องสถานที่ทําการทดลองและเพาะปลูก
ขอขอบคุณผูปกครอง อาจารยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และชุมชนที่ใหความชวยเหลือใน
ดานตางๆ และใหกําลังใจตลอดมา
คณะผูจัดทําโครงงานขอขอบคุณทานที่มีสวนเกี่ยวของไว ณ โอกาสนี้
คณะผูจัดทํา
สารบัญ
หนา
บทที่ 1 บทนํา 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ
มะกรูด
ฮอรโมนจิบเบอเรลลิน
2
2
11
บทที่ 3 การดําเนินงาน 18
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะหผลการทดลอง 20
บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและขอเสนอแนะเพิ่มเติม 24
บรรณานุกรม 25
ภาคผนวก 26
บทที่ 1
บทนํา
ชื่อโครงงานการทดลองฮอรโมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอรโมนจิบเบอเรลลิน ที่มีผลตอสวนสูงของตนมะกรูด
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอรโมนพืช
1. กานต ตันติกนกพร เลขที่ 23
2. ธนวัตน พลานุสิตเทพา เลขที่ 30
3. ธีรธวัช บัวแกว เลขที่ 31
4. วัชพล วรรณโวหาร เลขที่ 36
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 หอง 77
สายการเรียนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารยผูสอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ที่มาและความสําคัญ
เนื่องจากสังคมและเศรษฐกิจในปจจุบันนี้มีคาครองชีพสูงขึ้น รวมถึงอาหารและยาตางๆก็มีสารเจือปน
ตางๆมากมาย ซึ่งทําใหหลายคนเลือกที่จะกลับมาสูวิถีทางธรรมชาติเชนการปลูกผักสวนครัวเองเพื่อหลีกเลี่ยง
คาใชจายตางๆ ซึ่งมะกรูดก็เปนหนึ่งในตนไมที่มีสรรพคุณมากมายที่สามารถปลูกไดงายและไมใชพื้นที่มาก
นอกจากนี้ การใชฮอรโมนจิบเบอเรลลินซึ่งเปนฮอรโมนที่มีสวนชวยใหพืชเจริญเติบโตไดเร็ว โดยเฉพาะกับสวน
ยอดออนของตนไมนั้นเปนตัวชวยเรื่องของเรงเวลาไดอยางดีซึ่งทําใหเราสามารถไดผลผลิตในเวลาที่เร็วขึ้น จึง
เหมาะแกการนํามาใชในการปลูกตนไมเปนอยางยิ่ง
คณะผูรับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอรโมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอรโมนจิบเบอ-
เรลลินที่มีตอสวนยอดของตนมะกรูด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนํามาปรับใชในชีวิตประจําวันเพื่อใหเกิดประโยชน
สูงสุดในการทําการเกษตรไมวาจะเปนสวนใหญหรือเล็กก็ตาม คณะผูรับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอรโมน
พืชมีความมุงหวังเปนอยางยิ่งวาผลที่ไดจะมีประโยชนตอมนุษยในอนาคตตอไป
คําถามการทําโครงงาน
สารละลายฮอรโมนจิบเบอเรลลินที่ความเขมขนใดจะสงผลใหตนมะกรูดมีสวนสูงเพิ่มขึ้นมากที่สุด
สมมติฐานการทดลอง
ถาฮอรโมนจิบเบอเรลลินที่ความเขมขน 0.13% มีผลตอสวนยอดของตนมะกรูดทําใหเจริญดีที่สุด
ดังนั้น สารละลายฮอรโมนจิบเบอเรลลินที่ความเขมขน 0.13% จะทําใหยอดของตนมะกรูดมี สวนสูงมากที่สุด
วัตถุประสงคของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความเขมขนของฮอรโมนที่สงผลตอสวนสูงของตนมะกรูด
2. เพื่อเปรียบเทียบความเขมขนในปริมาณที่ตางกันวาจะมีผลตางกันหรือไม อยางไร
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ไดรับความรูความเขาใจเรื่องความเขมขนของฮอรโมนในระดับตางๆ
2. ไดศึกษาเปรียบเทียบความแตกตางของความเขมขนของฮอรโมนที่จะสงผลตอตนไม
3. เปนการสงเสริมใหปลูกตนไมและใชฮอรโมนเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดในการเกษตร
ขอบเขตของโครงงาน
การทําโครงงานครั้งนี้คณะผูรับผิดชอบมุงเนนที่จะศึกษาเฉพาะสวนสูงของตนไมที่เพิ่มขึ้นเทานั้น
ตัวแปรที่เกี่ยวของ
ตัวแปรตน คือ ความเขมขนของฮอรโมนจิบเบอเรลลิน
ตัวแปรตาม คือ ความสูงของตนมะกรูดที่เพิ่มขึ้น
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณน้ํา แสงแดดที่ไดรับ อุณหภูมิ ปุยและแรธาตุอื่นๆ
ชวงระยะเวลาในการทําโครงงาน
21 พฤษภาคม 2560 ถึง 3 สิงหาคม 2560 โดยมีตารางเวลาดังนี้
สัปดาหที่....ของ
เดือนพฤษภาคม
สัปดาหที่....ของ
เดือนมิถุนายน
สัปดาหที่....ของ
เดือนกรกฎาคม
สัปดาหที่....ของ
เดือนสิงหาคม
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
กําหนดหัวขอและวางแผนงาน
จัดหาซื้ออุปกรณตางๆที่จําเปน
ทําการทดลอง
สิ้นสุดการทดลองและสรุปผล
กิจกรรม
ชวงเวลา
วิธีการเก็บขอมูล
เปนการเก็บขอมูลโดยใชไมบรรทัดที่มีมาตรฐานวัดความสูงของตนไมโดยวัดจากลําตนสวนที่เริ่มพน
ดินจนถึงสวนยอดของตน พรอมจดบันทึกผลการวัดความสูงลงในตารางแบบบันทึกที่ไดออกแบบไว
วิธีการวิเคราะหผลขอมูล
ในสวนของการวิเคราะหผลขอมูล ทางผูจัดทําไดใชวิธีการนําขอมูลความสูงของตนไมในแตละชุดมาหา
คาเฉลี่ยความสูงของแตละชุดมาทําเปนตารางเปรียบเทียบคาความสูงนั้นๆในแตละครั้ง รวมถึงนําขอมูลมาทํา
เปนกราฟเสน เพื่อใหผูที่เขามาศึกษา สามารถเห็นถึงความแตกตางและการพัฒนาของตนไมไดอยางชัดเจน
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวของ
มะกรูด
ชื่อวิทยาศาสตรวา Citrus hystrix DC.
วงศ : Rutaceae
ชื่อพอง
– Citrus echinata St. Lag.
– Citrus latipes Hook. F.& Thoms.
– Citrus papidia Miq
ชื่อสามัญ :
– kaffir lime
– porcupine orange
– leech lime
– mauritrus papeda
ชื่อทองถิ่น :
– มะกรูด
– สมมั่วผี
– มะหูด
– สมมะกรูด
– สมกรูด
– มะขุน
– มะขูด
– มะหูด
– หมากกรูด
มะกรูด เปนพืชในสกุลสม (Citrus) มีถิ่นกําเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต นิยมใชใบมะกรูดและผิวมะกรูดเปนสวนหนึ่งของเครื่องปรุงอาหารหลายชนิด นอกจากใน
ประเทศไทยและลาวแลว ยังมีความนิยมในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย (โดยเฉพาะบาหลี)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
เปนไมยืนตนขนาดเล็ก เปนไมเนื้อแข็ง ลําตนและกิ่งมีหนามยาวเล็กนอย ใบเปนใบประกอบชนิดลดรูป มีใบ
ยอย 1 ใบ เรียงสลับ รูปไข คือมีลักษณะคลายกับใบไม 2 ใบ ตอกันอยู คอดกิ่วที่กลางใบเปนตอน ๆ มีกานแผ
ออกใหญเทากับแผนใบ ทําใหเห็นใบเปน 2 ตอน กวาง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซนติเมตร ใบสีเขียวแก
พื้นผิวใบเรียบเกลี้ยง เปนมัน คอนขางหนา มีกลิ่นหอมมากเพราะมีตอมน้ํามันอยู ซึ่งผลแบบนี้เรียกวา
hesperidium (ผลแบบสม) ใบดานบนสีเขม ใตใบสีออน ดอกออกเปนกระจุก 3 – 5 ดอก กลีบดอกสีขาว
เกสรสีเหลือง รวงงาย มีกลิ่นหอม มีผลสีเขียวเขมคลายมะนาวผิวเปลือกนอกขรุขระ ขั้วหัวทายของผลเปนจุก
ผลออนมีเปนสีเขียวแก เมื่อผลสุกจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองสด พันธุที่มีผลเล็ก ผิวจะขรุขระนอยกวาและไมมีจุกที่
ขั้ว ภายในมีเมล็ดจํานวนมาก ๆ
ลักษณะทั่วไป
ลําตน
ตนมะกรูด เปนไมยืนตนขนาดเล็ก เนื้อไมเปนเนื้อแข็ง เปลือกเรียบมีสีน้ําตาลออน ลําตนแตกกิ่งกานจํานวน
มากตั้งแตระดับลางของลําตนทําใหมีลักษณะเปนพุม ตามลําตน และกิ่งมีหนามแหลมยาว
ใบ
ใบมะกรูด เปนใบประกอบ ออกเปนใบเดี่ยว มีกานใบแผออกเปนครีบคลายแผนใบ ใบมีลักษณะหนา เรียบ มี
ผิวมัน สีเขียว และเขียวเขมตามอายุของใบ ใบมีคอดกิ่วที่กลางใบทําใหใบแบงออกเปน 2 ตอน หรือ คลาย
ใบไม 2 ใบ ตอกัน ขนาดใบกวางประมาณ 2.5-5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 5-12 เซนติเมตร ใบมีกลิ่นหอมมาก
เพราะมีตอมน้ํามันอยู
ดอก
ดอกมะกรูดเปนดอกสมบูรณเพศ ดอกออกเปนชอมีสีขาว แทงออกบริเวณสวนยอดหรือตามซอกใบ แตละชอมี
ดอกประมาณ 1-5 ดอก หลีบดอกมีสีขาวครีม 5 กลีบ มีขนปกคลุม ภายในดอกมีเกสรมีสีเหลือง ดอกมีกลิ่น
หอมเล็กนอย และเมื่อแกจะรวงงาย
ผล/ลูก
ผลมะกรูดหรือลูกมะกรูด มีลักษณะคอนขางกลม มีเสนผานศูนยกลาง 5-7 เซนติเมตร ผลคลายผลสมซา ผลมี
ขนาดใหญกวาลูกมะนาวเล็กนอย ลักษณะของผลมีรูปรางแตกตางกันไปแลวแตพันธุ เปลือกผลคอนขางหนา
ผิวเปลือกมีสีเขียวเขม ผิวขรุขระเปนลูกคลื่นหรือเปนปุมนูน ภายในเปลือกมีตอมน้ํามันหอมระเหยเปนจํานวน
มาก มีจุกที่หัว และทายของผล เมื่อสุก ผลจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองดานในผลประกอบดวยเนื้อฉ่ําน้ํา มีเมล็ด
แทรกบริเวณกลางผล 5-10 เมล็ด เนื้อผลมีรสเปรี้ยวปนขมเล็กนอย
การใชประโยชน
• ใบมะกรูด นิยมใชประกอบอาหารสําหรับใชดับกลิ่นคาวของเนื้อตางๆ เชน แกงเผ็ด ตมยํา ใชโรยในอาหาร
เชน หอหมก
• ใบมะกรูด ใชเปนสวนผสมของเครื่องแกง เชน พริกแกง
• ลูกมะกรูด ผาเปนชิ้นใชสําหรับดับกลิ่นในหองน้ําชาย-หญิง
• น้ําจากลูกมะกรูด ใชดับกลิ่นคาว และปรุงอาหารใหมีรสเปรี้ยว เชน แกงสม แกงคั่ว
• น้ําจากลูกมะกรูด ใชทําน้ําผลไมปน เชน น้ํามะกรูดปน
• ลูกมะกรูด นํามาสับและบีบคั้นเอาน้ํา ใชสําหรับผสมหรือทําน้ํายาสระผม
• ลูกมะกรูด หั่นเปนชิ้นใชสระผมรวมกับแซมพูสระผม
• ลูกมะกรูด นํามาคลึงใหซ้ํา แลวใสในภาชนะน้ําขังเพื่อกําจัดลูกน้ํา
• สารสกัดจากใบมะกรูดใชแตงกลิ่นไวนขาวหรือไวนแดง
• สารสกัดจากใบมะกรูดใชเปนสวนผสมของตานมะเร็ง
• น้ําจากลูกมะกรูด ใชเปนสวนผสมของยาฟอกเลือด
• น้ํามันหอมระเหยจากผล และใบมะกรูด ใชเปนสวนผสมในอุตสาหกรรมเครื่องหอม และเครื่องสําอางตางๆ
• น้ํามันหอมระเหย ใชปรับอากาศตามหอง ชวยลดกลิ่นอับ กลิ่นเหม็นคาว
• ใบและผลสด ใชดม แกอาการมึนเมา อาการเวียนศีรษะ
1. การใชในตํารับยา และประโยชนทั่วไป
น้ํามะกรูดชวยบํารุงสุขภาพเหงือก และฟน เนื่องจากมีวิตามินซีในปริมาณมาก โดยในประเทศไทยมีการนําน้ํา
มะกรูดไปใชสําหรับเปนยาขับ เสมหะ แกไอ แกโรคเลือดออกตามไรฟน นํามาดองยารับประทานเปนยาฟอก
โลหิตสตรี ผสมกับปูนแดงทาแกปวดทอง นอกจากนั้น มีการนําน้ํามะกรูดไปใชเปนยาฟอกขาวตามธรรมชาติ
สําหรับกําจัดคราบรอยดาง รวมไปถึงการนําไปใชสําหรับฆาทากตามพื้นดินผิวมะกรูด ผิวมะกรูดมีการนําไปใช
เปนยาขับลมในลําไส แกแนนทอง แกวิงเวียนเปนยาบํารุงหัวใจ ใชกระตุนและรักษาอาการปวดทอง
นอกจากนี้ ยังใชเปนสวนผสมสําหรับผลิตภัณฑน้ํายาบวนปาก
ในประเทศไทยมีการนําผิวมะกรูดแหงใหแกหญิงที่เพิ่งคลอดบุตร และใชเปนยาเรงประจําเดือน สวนประเทศ
อินเดียนิยมใชผิวมะกรูดสําหรับใชเปนยาฆาแมลงดวย สวนในตํารับยาของชาวมาเลเซียมีการใชผลสดทั้งผล
สําหรับการเตรียมยาสําหรับใชภายใน ซึ่งจะเปนใบสั่งยาเกี่ยวกับโรคความเจ็บปวดในชองทอง และใชเปนยา
ขับลมแกทองเฟอ
2. การใชในอุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่ม
ใบมะกรูดมักถูกนําไปใชในหลายประเทศสําหรับใชเปนสารกันเสียในผลิตภัณฑอาหาร (preserve foods) และ
ยังทําใหเกิดความอยากอาหาร
น้ํามะกรูด และผิวผลมะกรูดโดยสวนมากจะใชปรับปรุงรสชาติและกลิ่นรสของอาหารในภูมิภาคเอเชีย เชน ใน
ประเทศอินโดนีเซีย มักนิยมใชใบมะกรูดเพื่อกลิ่นรสที่จําเพาะ เชน เครื่องปรุง และเครื่องดื่ม
ในประเทศไทยใชผิวมะกรูดเปนเครื่องเทศ โดยใชเปนสวนผสมของน้ําพริกแกงหลายชนิด
น้ํามะกรูดถูกนําไปใชสําหรับเตรียมเปนเครื่องดื่ม และสําหรับปรุงอาหารเพื่อใหมีรสเปรี้ยว และดับ
กลิ่นคาวปลา นิยมใสน้ํามะกรูดในปลาราหลน แกงสม แกงคั่ว ฯลฯ และมีการนําไปใชกันมากสําหรับเปน
เครื่องปรุงเนื้อ
สวนในทางการคาดวยลักษณะที่โดดเดน และมีรสชาติจําเพาะ จึงมักใชสําหรับตํารับอาหารจําพวกแกงเผ็ดซุป
และกูไล (gulai) ซึ่งเปนแกงพื้นเมืองชนิดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย เปนตน
3. การใชในอุตสาหกรรมเครื่องสําอาง
เนื่องจากมะกรูดมีสมบัติในการชวยบํารุงหนังศีรษะ และกระตุนการงอกของรากผม ชวยขจัดรังแคที่มีสาเหตุ
มาจากเชื้อจุลินทรีย แกคันศีรษะ และชวยหลอลื่นผมทําใหผมดกดําเปนเงางาม รากผมแข็งแรง ไมหลุดรวงงาย
สวนน้ํามะกรูดมีสมบัติเปนกรดตามธรรมชาติเหมาะสําหรับหนังศีรษะไมทําใหเกิดการระคายเคือง ชวยในการ
ทําความสะอาดเสนผม และหนังศีรษะ และชวยในการชําระลางคราบสบูและแชมพู ดังนั้น จึงนิยมนํามะกรูด
ไปใชเปนสวนผสมสําหรับการเตรียมผลิตภัณฑแชมพูผสมมะกรูด
ชาวพมา และชาวมาเลเซีย ใชน้ํามะกรูดเปนแชมพูธรรมชาติสําหรับสระผม และชําระลางสวนตางๆ ของ
รางกาย นอกจากนี้ ยังมีการนําน้ํามะกรูด และผลมะกรูดไปใชสําหรับแตงกลิ่นในผลิตภัณฑแชมพูสระผม
รักษาชันนะตุ รังแค และทําใหผมสะอาด รวมถึงมีการนําไปใชเปนครีมทาผิวดวย สวนประเทศฟลิปปนสนิยม
ใชผลมะกรูดผสมกับเปลือกสะบามอญสระผม
คุณคาทางโภชนาการของผิวลูกมะกรูด (100 กรัม)
• คารโบไฮเดรต 21.3 กรัม
• โปรตีน 2.8 กรัม
• ไขมัน 1.1 กรัม
• ใยอาหาร 3.4 กรัม
• แคลเซียม 322 มิลลิกรัม
• ฟอสฟอรัส 62 มิลลิกรัม
• เหล็ก 1.7 มิลลิกรัม
• วิตามินบี 1 0 มิลลิกรัม
• วิตามินบี 2 0.13 มิลลิกรัม
• วิตามินซี 115 มิลลิกรัม
สารสําคัญที่พบ
นํ้ามันหอมระเหยมะกรูดประกอบดวย 2 สวนใหญๆ คือ สารในกลุมเทอรพีน ( terpenes) และสารที่ไมใชกลุม
เทอรพีน (non-terpene) หรือ oxygenated compounds
สารเทอรพีนเปนสารพวก unsaturated hydrocarbons ซึ่งเปนสารที่ไมคงตัว สามารถเกิดปฏิกิริยา
photochemical และปฎิกิริยา oxidation ไดงาย ทําใหนํ้ามนหอมระเหยเสื่อมลงอยางชาๆ
โมโนเทอรพีน ( monoterpene, C10 ) เปนเทอรพีนที่มีนํ้าหนักโมเลกุลต่ําที่สุด แบงเปนกลุมยอย 3 กลุม คือ
acyclic, monocyclic และ bicyclic เชน ocimene, di-limonene และ camphene ตามลําดับ
เซสควิเทอรพีน (sesquiterpenes, C15) เปนองคประกอบของน้ํามันหอมระเหยที่มีจุดเดือดสูง เปน
สารประกอบไมอิ่มตัวประเภท acyclic หรือ cyclic เชน farnesol และ d-bisabolene ตามลําดับ สวน
non-terpenes เปนสวนเฉพาะที่ทําใหเกิดกลิ่นเฉพาะตัวของน้ํามันหอมระเหย ไดแก สารประกอบอัลกอฮอล
อัลดีไฮด คีโตน อีเธอร กรดคารบอกซิลิค และเอสเทอร เปนตน สารเหลานี้ ไดแก geraniol, linalool เปนตน
สารสําคัญที่พบในใบ และเปลือกผลมะกรูด
• β-pinene
• limonene
• sabinene
• citronellal
• α-pinene
• myrcene
• 1,8 cineol
• α-terpineol
• trans –sabinene hydrate
• copaene
• linalool
• β-cubenene
• geranyl acetate, citronellol
• caryophyllene
• elemol
• δ-cardinene
• citronellene acetate
• terpinen-4-ol, p-elemene
• camphene
• γ-terpinene
• terpinolene
• nerolidol
สรรพคุณมะกรูด
ผลมะกรูด
– ใชหรับประทานสดเพื่อบรรเทาอาการปวดหัว
– ใชรับประทานสดสําหรับขับพยาธิ
– ชวยบํารุงกําลัง
– ชวยกระตุนการทํางานของเอนไซม
– ชวยฟอกเลือด และบํารุงเลือด
– ชวยขับระดู
– ชวยขับลม
– แกจุกเสียดแนนทอง
– แกทองอืด ทองเฟอ อาหารไมยอย
– ใชแกไอ ขับเมหะ
ใบมะกรูด
– ชวยขับลม
– แกหนามืด ตาลาย และคลื่นเหียน อาเจียน
ราก และลําตนมะกรูด
– รากสามารถแกลมจุกเสียดและบํารุงโลหิต
ฤทธิ์การตานเชื้อจุลินทรีย
ใบมะกรูด
– เชื้อแบคทีเรีย ไดแก อี.โคไล, บาซิลลัส เมกะทีเรียม เปนตน
– เชื้อรา ไดแก อัลเทอรนาเรีย, ฟวซาเรียม และไรโซปส เปนตน
เปลือกมะกรูด
– เชื้อแบคทีเรีย ไดแก อี.โคไล, ซัลโมเนลลา ไทฟ และสเตรปโตคอกคัส ฟคาลิส เปนตน
– เชื้อรา ไดแก แอสเปอรจิลลัส, เคอรวูลารเรีย และฟวซาเรียม เปนตน
การปลูกมะกรูด
การขยายพันธุมะกรูดสามารถทําไดดวยหลายวิธี อาทิ การตอนกิ่ง การทาบกิ่ง การติดตา การตอยอด และการ
เพาะเมล็ด แตที่นิยม ไดแก การตอนกิ่ง การตอยอด และการเพาะดวยเมล็ด
จิบเบอเรลลิน (Gibberellins)
การคนพบกลุมของฮอรโมนพืชที่ปจจุบันเรียกวาจิบเบอเรลลินนั้น เกิดประมาณป 1920
เมื่อ Kurosawaนักวิทยาศาสตรชาวญี่ปุน ศึกษาในตนขาวที่เปนโรคBakanae หรือโรคขาวตัวผู ซึ่งเกิดจาก
เชื้อราGibberella fujikuroiหรือ Fusarium moniliforme ซึ่งทําใหตนขาวมีลักษณะสูงกวาตนขาวปกติ ทํา
ใหลมงาย จากการศึกษาพบวา ถาเลี้ยงเชื้อราในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลวแลวกรองเอาเชื้อราออกไปเหลือแต
อาหารเลี้ยงเชื้อ เมื่อนําไปราดตนขาวจะทําใหตนขาวเปนโรคได จึงเปนที่แนชัดวา เชื้อราชนิดนี้สามารถสราง
สารบางชนิดขึ้นในตนพืชหรือในอาหารเลี้ยงเชื้อ ซึ่งกระตุนใหตนขาวเกิดการสูงผิดปกติได ในป 1939 ไดมีผู
ตั้งชื่อสารนี้วาจิบเบอเรลลิน การคนพบจิบเบอเรลลิน เกิดขึ้นในชวงเดียวกับที่พบออกซิน การศึกษาสวนใหญ
จึงเนนไปทางออกซิน สวนการศึกษาจิบเบอเรลลินในชวงแรกจะเปนไปในแงของโรคพืช ในการศึกษา ขั้น
แรกคอนขางยากเพราะมักจะมีกรดฟวซาริค (Fusaric Acid) ปะปนอยูซึ่งเปนสารระงับการเจริญเติบโต ความรู
เกี่ยวกับโครงสรางและสวนประกอบทางเคมีของจิบเบอเรลลินนั้นไดรับการศึกษาในป 1954 โดยนักเคมี
ชาวอังกฤษซึ่งสามารถแยกสารบริสุทธิ์จากอาหารเลี้ยงเชื้อรา Gibberella fujikuroi และเรียกสารนี้วากรดจิบ
เบอเรลลิค (Gibberellic Acid)
การใหกรดจิบเบอเรลลิคกับพืชที่สมบูรณทั้งตน จะเรงใหเกิดการยืดตัวเพิ่มขึ้นของลําตนและใบอยาง
ผิดปกติ การตอบสนองจะปรากฏเดนชัดเมื่อใหกรดนี้กับพืชที่เตี้ยแคระโดยพันธุกรรม เพราะจะกระตุนใหพืช
เหลานี้เจริญสูงตามปกติ กรดจิบเบอเรลลิคที่พบในอาหารเลี้ยงเชื้อรานั้นมีโครงสรางทางเคมี และกิจกรรม
ทางชีววิทยาเหมือนกับกรดจิบเบอเรลลิคในพืชปกติทุก ๆ ชนิด (พืชปกติหมายถึงพืชที่ไมเปนโรค) มี
สารประกอบประเภทนี้จํานวนมากที่แยกเปนสารบริสุทธิ์ไดจากพืชชั้นสูง ในปจจุบันมีจิบเบอเรลลินซึ่งเปนชื่อ
เรียกทั่ว ๆ ไปของสารประกอบประเภทนี้ ประมาณไมนอยกวา 80 ชนิดชื่อเรียกสารประกอบชนิดนี้จะตั้งชื่อ
ดังนี้ คือ Gibberellins A1 (GA1), A2, A3เปนตน โดยที่กรดจิบเบอเรลลิค คือ GA3
GA ทุกชนิดจะมีโครงสรางพื้นฐานของโมเลกุลเปน Gibberellane Carbon Skeleton ซึ่งจะ
เหมือนกับกรดจิบเบอเรลลิค จะแตกตางกันตรงจํานวนและตําแหนงของกลุมที่เขาแทนที่ในวงแหวนและระดับ
ของความอิ่มตัวของวงแหวน A GA ประกอบดวยคารบอนประมาณ19-20อะตอม ซึ่งจะรวมกันเปนวง
แหวน 4 หรือ 5 วงและจะตองมีกลุมคารบอกซิลอยางนอย 1 กลุม โดยใชชื่อยอวา GA ซึ่ง GA3 เปนชนิดที่
พบมากและไดรับความสนใจศึกษามากกวาชนิดอื่นๆ GA เปนฮอรโมนที่พบในพืชชั้นสูงทุกชนิด นอกจากนั้น
ยังพบในเฟรน สาหราย และเชื้อราบางชนิด แตไมพบในแบคทีเรีย
การสังเคราะหจิบเบอเรลลิน
จิบเบอเรลลินเปนฮอรโมนพืชซึ่งมีคุณสมบัติทางเคมีเปนไดเทอพีนส (diterpenes) ซึ่งเปน
สารประกอบที่เกิดตามธรรมชาติในพืช ในกลุมของเทอพีนอยส(Terpenoids) การสังเคราะห GA จึงเกิดมา
จากวิถีการสังเคราะหสารเทอพีนอยส โดยที่มีบางสวนยังไมเขาใจเดนชัดนัก
การสังเคราะห GA สารเริ่มตนเปนกรดเมวาโลนิค (Mevalonic Acid) เปลี่ยนไปตามวิถีจนเกิดเปน
กรดคอรีโนอิค (Kaurenoic Acid) แลวจึงเปลี่ยนไปเปน GAซึ่งวิถีในชวงที่เปลี่ยนไปเปน GA ชนิดตาง ๆ นี้ยัง
ไมทราบแนชัดนัก สารชนิดแรกที่มีวงแหวนของ Gibberellane คือ อัลดีไฮดของ GA12
ในปจจุบันมีสารชะงักการเจริญเติบโต เชน CCC หรือ Cycocel AM0-1618 Phosfon-
D และ SADH หรือ Alar ซึ่งใชกันมากในการเกษตร สารเหลานี้บางชนิดสามารถระงับ กระบวนการ
สังเคราะหจิบเบอเรลลินได เชน AMO-1618 สามารถระงับการสังเคราะหจิบเบอเรลลินในอาหาร
สํารอง (Endosperm) ของแตงกวาปา โดยระงับในชวงการเปลี่ยน Geranylgeranyl pyrophosphate ไป
เปน Kaurene ในทํานองเดียวกัน CCC สามารถระงับกระบวนการนี้ไดดวย
จากการศึกษาโดยวิธี Diffusion Technique แสดงใหเห็นวาใบออน ผลออนและตนออนเปน
สวนที่สราง GA ของพืช รากพืชอาจจะสามารถสราง GA ไดบาง แต GA มีผลตอการเจริญของรากนอย
มาก และอาจจะระงับการสรางรากแขนงพวก Adventitious Root ดวย ในปจจุบันยังไมมีการ
สังเคราะห GA เนื่องจากกระบวนการสรางซับซอนและตองใชเอนไซมหลายชนิด GA ที่พบในปจจุบันจึง
เปนสารธรรมชาติทั้งสิ้น
การสลายตัวของจิบเบอเรลลิน
ความรูทางดานนี้ยังมีไมมากนัก แตมีหลักฐานที่แสดงใหเห็นวาจิบเบอเรลลินมีกิจกรรมทาง
สรีรวิทยาอยูไดเปนระยะเวลานานในเนื้อเยื่อพืช ซึ่งตรงกันขามกับออกซินที่สลายตัวเร็วในเนื้อเยื่อพืช และใน
เนื้อเยื่อพืชที่มีจิบเบอเรลลินอยูสูงจะไมแสดงผลเสีย แตถาเนื้อเยื่อพืชมีปริมาณออกซินสูงเกินไป ออกซินจะ
ทําลายเนื้อเยื่อพืชได ซึ่งอาจจะเกิดมาจากการที่ออกซินกระตุนใหเกิดการสังเคราะหเอทธิลีนในตน
พืช อาจจะเปนดวยสาเหตุนี้ที่พืชตองมีกระบวนการสลายออกซินเพื่อไมใหมีการสะสมออกซินในตนพืชมาก
เกินไป อยางไรก็ตามจิบเบอเรลลินสามารถเปลี่ยนจากชนิดหนึ่งไปเปนจิบเบอเรลลินอีกชนิดหนึ่งไดใน
เนื้อเยื่อพืช ยิ่งไปกวานั้นในเนื้อเยื่อพืชยังมีจิบเบอเรลลินในรูปของไกลโคไซด(Glycosides) ซึ่งอาจจะ
เปนวิธีการทําใหจิบเบอเรลลินไมสามารถแสดงคุณสมบัติออกมา กรดจิบเบอเรลลิค ซึ่งอยูในสภาพ
สารละลายถูกทําใหสลายตัวไดโดยใช Acid Hydrolysis ที่อุณหภูมิสูงและไดผลิตภัณฑคือกรดจิบเบอเรลลี
นิค (Gibberellenic Acid) และกรดจิบเบอริค (Gibberic Acid)
การหาปริมาณจิบเบอเรลลิน
1. ใชวิธีโครมาโตกราฟเชน GC หรือ Gas Chromatograph และ Paper
Chromatograph
2. ใชวิธี Bioassay โดยการที่จิบเบอเรลลินสามารถทําใหพืชแคระ (ขาวโพดและถั่ว) เจริญ
เปนตนปกติได หรือโดยการที่จิบเบอเรลลินสามารถปองกันการเกิดการเสื่อมสลาย (Senescence) หรือโดย
หาปริมาณจิบเบอเรลลินจากการกระตุนใหเมล็ดขาวบารเลยสรางเอนไซม แอลฟา อะมัยเลส ( a-
amylase) ในอาหารสํารอง
ความสัมพันธของโครงสรางของโมเลกุลและกิจกรรมของจิบเบอเรลลิน
ความสัมพันธระหวางโครงสรางของโมเลกุล และกิจกรรมทางสรีรวิทยาของจิบเบอ
เรลลิน ยังมีการศึกษานอยกวาออกซิน ตามที่กลาวแลววา ในปจจุบันมีจิบเบอเรลลินมากกวา 80 ชนิดซึ่งได
จากแหลงในธรรมชาติ เชนจาก Gibberella fujikuroi และจากพืชชั้นสูง โครงสรางของ GA ตางชนิดกันจะ
คลายคลึงกันเพราะจะมีโครงสรางพื้นฐานเหมือนกันมีลักษณะที่แตกตางกันที่จํานวนของกลุมคารบอกซิลและ
ความอิ่มตัวของวงแหวน A ในปจจุบันความรูเหลานี้ทําใหทราบวาโมเลกุลที่จะมีคุณสมบัติของจิบเบอเรลลินได
นั้นตองมีโครงสรางคลายคลึงกับจิบเบอเรลลินที่เกิดในธรรมชาติ ในทางตรงกันขามสารไดเทอรพีนอยดซึ่งเกิด
ตามธรรมชาติซึ่งเรียกวาสะตีวีออล (Steviol) ซึ่งไมมีโครงสรางพื้นฐานจิบเบน (Gibbane) แตมีคุณสมบัติ
ในการกระตุนการเจริญเติบโตของพืชอยางออน ๆ คลายคลึงกับจิบเบอเรลลินอยางไรก็ตามอาจจะเปน
เพราะวาการเปลี่ยนสะตีวีออล โดยเอนไซมของพืชไปสูรูปที่มีกิจกรรมมากกวาที่จะมีกิจกรรมของฮอรโมน
ดวยตัวเอง เปนที่สังเกตวา จิบเบอเรลลินที่พบในปจจุบันมีประสิทธิภาพในการกระตุนการเจริญเติบโตไดไม
เทากัน และความจริงกิจกรรมของจิบเบอเรลลินซึ่งทดสอบกับพืชตางชนิดกันหรือคนละพันธุกัน สามารถใช
แยกชนิดของจิบเบอเรลลินได
การเคลื่อนยายของจิบเบอเรลลินในตนพืช
จิบเบอเรลลินสามารถเคลื่อนยายหรือเคลื่อนที่ในพืชไดทั้งทางเบสิพีตัล และ อะโครพีตัล และ
การเคลื่อนที่ไมมีโพลาริตี้ การเคลื่อนยายเกิดขึ้นทั้งในสวนของทออาหารและทอน้ํา แตการเคลื่อนที่ของจิบ
เบอเรลลินจากยอดออนลงมาสูสวนลางของลําตนนั้นไมไดเกิดในทอน้ําทออาหารเพราะสวนของยอดออนเปน
สวนที่ดึงอาหารและธาตุอาหารใหเคลื่อนที่ขึ้นไปแบบ อะโครพีตัล ดังนั้นจิบเบอเรลลินจึงไมไดเคลื่อนที่ทางทอ
อาหาร และยังไมทราบวิถีการเคลื่อนที่แนชัด
กลไกในการทํางานของจิบเบอเรลลิน
การศึกษาดานกลไกในการทํางานของจิบเบอเรลลินเกิดจากการที่พบวามีระดับของกิจกรรมของ
เอนไซมหลายชนิดมีผลกระทบจากปริมาณของจิบเบอเรลลินเอนไซมซึ่งมีกิจกรรมเพิ่มขึ้นเมื่อไดรับจิบเบอ
เรลลิน คือ เอนไซม แอลฟาและเบตา-อะมัยเลส (a และ b-amylase) โปรตีเอส (Protease) และไรโบนิวคลี
เอส (Ribonuclease) ซึ่งพบในเมล็ดขาวบารเลยซึ่งกําลังงอก นอกจากนั้นในพืชบางชนิดยังพบวากิจกรรม
ของไนเตรท รีดเตส (Nitrate Reductase)และไรบูโลสฟอสเฟสคารบอก
ซิเลส (Ribulose Phosphate Carboxylase) มีกิจกรรมเพิ่มขึ้นดวย ใน ตนออยนั้น พบวา ผลของจิบเบอ
เรลลินจะชะลอการสังเคราะหอินเวอรเทส(Invertase) และ
เพอรอกซิเดส (Peroxidase) ความสนใจในกลไกการทํางานของจิบเบอเรลลิน จึงเนนไปที่การศึกษาวาจิบเบอ
เรลลินควบคุมกิจกรรมของเอนไซมไดเพราะเปนผลเนื่องมาจากเปลี่ยนแปลงการสังเคราะหโปรตีนโดย RNA
การศึกษาตัวอยางของระดับกิจกรรมของเอนไซมซึ่งถูกควบคุมโดยจิบเบอเรลลิน ทํากันมากในเอนไซม
แอลฟา อะมัยเลส ในเมล็ดขาวบารเลย ในเมล็ดขาวบารเลยที่แหงที่ยังไมดูดซับน้ําจะไมมีเอนไซม
แอลฟา อะมัยเลสปรากฏอยู เอนไซมนี้จะปรากฏขึ้นและปลดปลอยออกมาจากชั้นของอะลีโรนของ
เมล็ด เปนการตอบสนองตอจิบเบอเรลลินซึ่งสังเคราะหจากตนออนที่กําลังงอก เนื้อเยื่อชั้นอะลีโรนซึ่งแยกจาก
เมล็ดที่ไมงอกจะมีกิจกรรมของแอลฟา อะมัยเลส นอยมาก แตถานําเนื้อเยื่อนี้ไปแชในจิบเบอเรลลินจะทําให
เกิดการเพิ่มกิจกรรมของแอลฟา อะมัยเลสมากขึ้นโดยเกิดขึ้นหลังจากแชไวนาน 8 ชั่วโมงแลว การกระตุนให
เกิดการสรางแอลฟา อะมัยเลสนี้ จะชะงักไปเมื่อใชสารระงับการสังเคราะห RNA และโปรตีน รวมอยูใน
สารละลายจิบเบอเรลลิน ซึ่งจากการทดลองดังกลาวแสดงวาจิบเบอเรลลินควบคุมกิจกรรมของแอลฟา อะ
มัยเลส ผานทางการสังเคราะห RNA สารชะงักการสังเคราะห RNA เชน แอคติโนมัยซิน-ดี (Actinomycin-
D) จะชะงักกระบวนการกระตุนการสังเคราะห RNA 2-3 ชั่วโมง หลังจากเติมจิบเบอเรลลิน ในขณะที่สาร
ชะงักการสังเคราะหโปรตีน เชน ไซโคลเฮคซิไมด (Cycloheximide) จะระงับการปรากฏของกิจกรรมของ
แอลฟา อะมัยเลส หลังจากชวง "lag" เริ่มตน
กลไกในการทํางานขั้นแรกของจิบเบอเรลลินนั้นจะเปลี่ยนระบบเยื่อหุมเซลลแลวจึงจะไปมีผลในการ
กระตุนการสังเคราะห RNA และโปรตีน นั่นคือในการกระตุนระยะสั้นจะเกี่ยวของกับระบบเยื่อหุมเซลล ใน
ระยะยาวจะเกี่ยวของกับการสังเคราะห RNA และโปรตีน กลไกที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนระบบของเยื่อหุม คือ
เพิ่มการสังเคราะหเยื่อหุมทําใหเกิดเอนโดพลาสมิคเรตติคิวลัมมากขึ้น และกระตุนการสรางเวสซิเคิลซึ่งมี
เอนไซมอยูภายใน นอกจากนั้นยังกระตุนใหมีการปลดปลอย แอลฟา อะมัยเลส ผานเยื่อหุมเซลลออกมา
บทบาทของจิบเบอเรลลินที่มีตอพืช
1. กระตุนการเจริญเติบโตของพืชทั้งตน จิบเบอเรลลินมีคุณสมบัติพิเศษ ซึ่งสามารถ
กระตุนการเจริญเติบโตของพืชทั้งตนไดโดยทําใหเกิดการยืดตัวของเซลลซึ่งผลนี้จะตางจากออกซินซึ่งสามารถ
กระตุนการเจริญเติบโตของชิ้นสวนของพืชได พืชบางชนิดอาจจะไมตอบสนองตอจิบเบอเรลลิน อาจจะ
เปนเพราะวาในพืชชนิดนั้นมีปริมาณจิบเบอ-เรลลินเพียงพอแลว จิบเบอเรลลินสามารถกระตุนการยืดยาวของ
ชอดอกไมบางชนิดและทําใหผลไมมีรูปรางยาวออกมา เชน องุน และแอปเปล
กะหล่ําปลีซึ่งเจริญในลักษณะตนเตี้ยเปนพุม (Rosette) มีปลองสั้นมาก เมื่อให GA3 กับตนกะหล่ําปลี
ดังกลาวจะทําใหสูงขึ้นถึง 2 เมตรได ถั่วพุมที่ไดรับ GA จะกลายเปนถั่วเลื้อยได พืชซึ่งมีตนเตี้ยทางพันธุกรรม
เชน ขาว ขาวโพด ถั่ว แตงกวาและแตงโมสามารถแสดงลักษณะปกติไดเมื่อไดรับ GA3 ในขาวโพดแคระนั้น
พบวาความผิดปกติเกิดจากยีนสควบคุม ซึ่งอาจจะเกี่ยวพันกับวิถีในการสังเคราะหจิบเบอเรลลิน สวนขาวโพด
ปกติหากไดรับจิบเบอเรลลินจะไมสามารถสูงขึ้นไดอีก ดังนั้นในกรณีขาวโพดการแคระเกิดจากมีปริมาณจิบเบอ
เรลลินในตนนอยเกินไป แตอาการแคระของพืชบางชนิด เชน Japanese Morning Glory พบวามีจิบเบอ
เรลลินมากพอแลว แตเมื่อไดรับ จิบเบอเรลลินเพิ่มก็จะสูงขึ้นได ในกรณีนี้อาจจะเปนเพราะในตนมีปริมาณ
ของสารระงับการ เจริญเติบโตอยูสูง
2. กระตุนการงอกของเมล็ดที่พักตัวและตาที่พักตัว ตาของพืชหลายชนิดที่เจริญอยูในเขตอบอุนจะ
พักตัวในฤดูหนาว เมล็ดของพืชหลายชนิดมีพฤติกรรมเชนนี้ดวย ซึ่งการพักตัวจะลดลงจนหมดไป เมื่อ
ไดรับความเย็นเพียงพอ การพักตัวของเมล็ดและตา อันเนื่องมาจากตองการอุณหภูมิต่ําวันยาว และตองการ
แสงสีแดงจะหมดไปเมื่อไดรับจิบเบอเรลลิน
3. การแทงชอดอกการออกดอกของพืช เกี่ยวของกับปจจัยหลายอยาง เชนอายุและ
สภาพแวดลอม จิบเบอ-เรลลินสามารถแทนความตองการวันยาวในพืชบางชนิดได และยังสามารถทดแทน
ความตองการอุณหภูมิต่ํา (Vernalization) ในพืชพวกกะหล่ําปลี และแครอท
4. สามารถกระตุนการเคลื่อนที่ของอาหารในเซลลสะสมอาหาร หลังจากที่เมล็ดงอกแลว เพราะ
รากและยอดที่ยังออนตัวเริ่มใชอาหาร เชน ไขมัน แปง และโปรตีน จากเซลลสะสมอาหาร จิบเบอเรลลินจะก
ระตุนใหมีการยอยสลายสารโมเลกุลใหญใหเปนโมเลกุลเล็ก เชน ซูโครสและกรดอะมิโน ซึ่งเกี่ยวพันกับการ
สังเคราะหเอนไซมหลายชนิดดังกลาวขางตน
5. กระตุนใหเกิดผลแบบ Parthenocarpic ในพืชบางชนิด เปลี่ยนรูปรางของใบพืชบางชนิด
เชน English Ivy และทําใหพืชพัฒนาการเพื่อทนความเย็นได
6. พืชที่มีดอกตัวผูและตัวเมียแยกกันไมวาจะตนเดียวกันหรือแยกตนก็ตามจิบเบอเรลลินสามารถ
เปลี่ยนเพศของดอกได จิบเบอเรลลินมักเรงใหเกิดดอกตัวผู สวนออกซิน เอทธิลีน และไซโตไคนิน มักจะเรง
ใหเกิดดอกตัวเมีย ในแตงกวาดอกลาง ๆ มักเปนดอกตัวผู และดอกบนเปนดอกตัวเมีย การใหสารอีธีฟอนจะ
เรงใหเกิดดอกตัวเมียขึ้น
ผลของจิบเบอเรลลินตอพืช
1. กระตุนใหเซลลของลําตนยืดและขยายตัว โดยเฉพาะอยางยิ่งเซลลบริเวณขอทําใหลําตนพืช
สูงขึ้นมาก
2. กระตุนการออกดอกของพืชบางชนิด โดยเฉพาะพืชวันยาว ( คือ พืชที่จะออกดอกเมื่อมีเวลา
กลางวันยาวซึ่งมักจะเกิน 12 ชั่วโมง) ที่มีลักษณะเปนทรงพุมใบเปนกระจุก
3. กระตุนการแสดงใบของเพศดอก เชน พืชตระกูลแตง พบวาจิบเบอเรลลินชักนําใหเกิดดอกตัว
ผูเพิ่มมากขึ้น
4. กระตุนการงอกของเมล็ดและการเจริญเติบโตของตนออนโดยการเรงการทํางานของเอนไซมให
ยอยแปงยอยโปรตีนเพื่อใหไดทริปโตเฟนในการสราง IAA เพิ่มขึ้น กระตุนเอนไซมใหยอยสารในเซลลของ
เปลือกหุมเมล็ดทําเปลือกหุมเมล็ดออนตัวลงจึงงอกไดดีขึ้น ทําลายการพักตัวของเมล็ดและตา
5. ชวยยืดชอผลขององุนและชวยใหองุนบางพันธุ มะเขือเทศ ฝรั่ง ไมมีเมล็ดชวยปรับปรุงคุณภาพ
ขององุน ฝรั่ง ใหผลมีขนาดใหญขึ้น
6. ชวยการติดผล (fruit set) ของพืชบางชนิด ใหมีการติดผลมากขึ้น เชน มะนาว สม ฝรั่ง องุน
7. ชวยใหพืชพันธุเตี้ยโดยพันธุกรรมมีลําตนสูงขึ้น และยังชวยใหพืชพันธุธรรมดาปกติสูงขึ้นไดบาง
เชน ถั่ว ขาวโพด เปนตน
บทที่ 3
การดําเนินงาน
วัสดุอุปกรณและสารเคมี
1. กรดจิบเบอเรลลิก กรุพเคมี จีเอ
2. กระถางตนไมพรอมถาดรอง 3 ชุด
3. กระบอกฉีดสําหรับฉีดและพนสารละลาย 3 อัน
4. ขวดน้ํารีไซเคิลสําหรับใสฮอรโมน
5. พลั่ว
6. กระบอกฉีด
7. ดิน
ขั้นตอนการทําโครงงาน
1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวขอโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาเปรียบประสิทธิผลของปริมาณฮอรโมน
พืชจิบเบอเรลลินที่มีผลตอความสูงของตนมะกรูด
2. ศึกษาและคนควาหาขอมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้
2.1. ตนมะกรูด
2.2. ฮอรโมนจิบเบอเรลลิน
2.3. ปริมาณฮอรโมนที่ควรใชสําหรับพืช
3. วางแผนรายละเอียดการทํางานของสมาชิกแตละคนในกลุม
4. จัดทําเคาโครงโครงงาน เพื่อนําเสนอตอ อาจารยที่ปรึกษา เพื่อนําไปปรับปรุงและแกไข
5. จัดเตรียม พืช อุปกรณ และสารเคมีใหพรอมสําหรับการทดลอง
6. หาและติดตอสถานที่ที่ใชในการทําทดลอง
7. จัดหาซื้ออุปกรณและสารเคมีตางๆที่จําเปนตอการทดลอง
7.1.1. กรดจิบเบอเรลลิก กรุพเคมี จีเอ 1 ขวด
7.1.2. ตนมะกรูด 9 ตน
7.1.3. กระถางตนไมพรอมถาดรอง 3 ชุด
7.1.4. กระบอกฉีด 3 อัน
7.1.5. เข็มฉีดยา 1 กระบอก
7.1.6. ขวดน้ําขนาด 1.5 ลิตร 2 ขวด และ ขวดน้ําขนาด0.75ลิตร 1ขวด
7.1.7. พลั่ว
7.1.8. ดิน
8. ขั้นตอนกระบวนการทําการทดลอง
8.1. ตอนที่ 1 การจัดเตรียมอุปกรณและตัวแปรตางๆใหพรอมกับการทดลอง
8.1.1. เตรียมชุดกระถางไว 3 ชุด ทําการใสตนมะกรูดลงในชุดกระถาง ชุดละ3ตน และใสดินใน
ปริมาณที่เทากัน
8.1.2. จัดเตรียมสารละลายฮอรโมน โดยการผสมที่กําหนดไว ลงในขวดน้ําขนาด 1.5ลิตร เขยาใหเขา
กัน แลวจึงบรรจุลงในกระบอกฉีดทั้ง 3 อัน
8.1.3. นําชุดกระถางทั้ง 3ชุดและกระบอกฉีดทั้ง 3 อัน มาติดปายlabel ใหเรียบรอย
8.1.4. นําชุดกระถางและกระบอกฉีดไปไวในที่ที่กําหนด (บริเวณตึกศิลปะ)
8.2. ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบความสูงและการเปลี่ยนแปลงของความสูงในแตละชุดกระถาง
8.2.1. นําไมบรรทัดขนาด 30 เซนติเมตร มาวัดความสูงของตนไมจากดินขึ้นไปจนถึงยอดสูงสุด
8.2.2. บันทึกคาที่หาไดจาก 8.2.2และคาเฉลี่ยลงในตารางบันทึกความสูง
8.2.3. รดน้ําใสดินในชุดกระถางในปริมาณที่เทากัน (ไมโดนใบและลําตน)
8.2.4. ทําการพนฮอรโมนใสตนไมในชุดกระถาง โดยการกดกระบอกฉีดเปนจํานวนสองครั้งตอหนึ่งชุด
8.2.5. ทําวิธีขางตนกับชุดกระถางที่เหลือ
9. สรุปผล อภิปราย และเสนอตอ อาจารยที่ปรึกษา เปนระยะ
10. จัดทําเอกสารเปนรูปเลมโครงงานใหสมบูรณ
11. จัดทําสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง
12. นําเสนอโครงงาน
สัปดาหที่....ของ
เดือนพฤษภาคม
สัปดาหที่....ของ
เดือนมิถุนายน
สัปดาหที่....ของ
เดือนกรกฎาคม
สัปดาหที่....ของ
เดือนสิงหาคม
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
กําหนดหัวขอและวางแผนงาน
จัดหาซื้ออุปกรณตางๆที่จําเปน
ทําการทดลอง
สิ้นสุดการทดลองและสรุปผล
กิจกรรม
ชวงเวลา
บทที่ 4
ผลการทดลองและการวิเคราะหผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
วันที่
บันทึก
ความสูงของตนไมแตละตนในหนวยเซนติเมตร (วัดจากดิน)
ชุด control ชุด low dose ชุด high dose
ตนที่1 ตนที่2 ตนที่3 เฉลี่ย ตนที่1 ตนที่2 ตนที่3 เฉลี่ย ตนที่1 ตนที่2 ตนที่3 เฉลี่ย
21 พ.ค. 2560 21.8 22 23 22.27 23 22 22.5 22.5 23.5 22 22 22.5
25 พ.ค. 2560 22 22.3 23.5 22.6 23.5 23 22.8 23.1 24.2 23.5 23.2 23.63
29 พ.ค. 2560 22 23 24 23 23.5 23 22.9 23.13 24.5 23.7 23.4 23.86
02 มิ.ย. 2560 22.5 23.2 24.5 23.4 23.8 23.6 23 23.47 24.8 23.8 23.7 24.1
06 มิ.ย. 2560 22.6 23.2 24.5 23.43 24 23.8 23.3 23.53 25.2 24.4 24 24.53
10 มิ.ย. 2560 22.8 23.3 24.5 23.53 24.2 24 23.3 23.83 25.6 24.6 24.1 24.76
14 มิ.ย. 2560 22.8 23.5 25 23.77 24.5 24 23.7 24.07 26 24.9 24.3 25.07
18 มิ.ย. 2560 23 23.5 25.4 23.97 24.8 24.2 24 24.33 26.3 25.3 24.5 25.36
22 มิ.ย. 2560 23.2 23.5 25.4 24.03 24.9 24.3 24 24.4 26.8 25.9 24.5 25.73
26 มิ.ย. 2560 23.2 23.7 26 24.3 25 24.5 24.2 24.57 27.1 26.4 24.8 26.1
30 มิ.ย. 2560 23.2 23.7 26 24.3 25 24.5 24.5 24.67 27.5 26.8 25 26.43
04 ก.ค. 2560 23.5 23.7 26 24.4 25 24.8 24.7 24.73 27.8 27.6 25.2 26.86
08 ก.ค. 2560 23.5 23.7 27 24.73 27 25 25 25.67 28.5 27.9 25.4 27.27
12 ก.ค. 2560 23.5 23.8 27 24.76 28.2 25.3 25 26.17 28.7 28.2 25.4 27.43
16 ก.ค. 2560 23.5 23.8 ตาย 23.65 29 25.4 25.8 26.73 29 28.6 25.6 27.73
20 ก.ค. 2560 23.8 23.8 ตาย 23.8 30 25.6 26.4 27.33 29.5 29 25.9 28.13
24 ก.ค. 2560 23.8 24 ตาย 23.9 30.5 26 26.9 27.8 30 29.7 26 28.57
28 ก.ค. 2560 24 24 ตาย 24 30.8 26.4 27 28.06 30.8 30.3 26 29.03
01 ส.ค. 2560 24 24 ตาย 24 31 27 28 28.67 31.5 31 26 29.5
ผลตางความสูง 2.2 2 4 1.73 8 5 5.5 6.17 8 9 4 7
กราฟแทงแสดงผลการทดลอง
หมายเหตุ :
วันที่ 0 ของการทดลอง คือวันที่ 21 พฤษภาคม 2560
วันที่ 24 ของการทดลอง คือวันที่ 14 มิถุนายน 2560
วันที่ 48 ของการทดลอง คือวันที่ 10 กรกฎาคม 2560
วันที่ 72 ของการทดลอง คือวันที่ 1 สิงหาคม 2560
0
5
10
15
20
25
30
35
วันที่ 0 ของการทดลอง วันที่ 24 ของการทดลอง วันที่ 48 ของการทดลอง วันที่ 72 ของการทดลอง
control
low dose
high dose
กราฟเสนแสดงผลการทดลอง
หมายเหตุ :
วันที่ 0 ของการทดลอง คือวันที่ 21 พฤษภาคม 2560
วันที่ 12 ของการทดลอง คือวันที่ 2 มิถุนายน 2560
วันที่ 24 ของการทดลอง คือวันที่ 14 มิถุนายน 2560
วันที่ 36 ของการทดลอง คือวันที่ 26 มิถุนายน 2560
วันที่ 48 ของการทดลอง คือวันที่ 8 กรกฎาคม 2560
วันที่ 60 ของการทดลอง คือวันที่ 20 กรกฎาคม 2560
วันที่ 72 ของการทดลอง คือวันที่ 1 สิงหาคม 2560
0
5
10
15
20
25
30
35
control
low dose
high dose
วิเคราะหผลการทดลอง
จากตารางขอมูลและกราฟขางตน จะพบไดวาความสัมพันธระหวางความเขมขนของฮอรโมน กับอัตราการ
เปลี่ยนแปลงระดับความสูงของตนมะกรูดเปนไปในทางแปรผันตรง หรือก็คือ ยิ่งใชสารละลายฮอรโมนที่มี
ความเขมขนมากเทาใด อัตราการเพิ่มความสูงก็จะเพิ่มมากขึ้นเทานั้น ดังจะสังเกตไดจาก ผลตางระหวางความ
สูงของวันแรกละวันสุดทาย โดยมีผลตางดังนี้
ชุดทดลองกับลําดับตน ความตางกันของความสูงลําตน
เฉลี่ยในวันแรกกับวันสุดทาย
(เซนติเมตรวัดจากดิน)
ลําดับที่ได
(เรียงจากมากไปนอย)
Control 1.73 เซนติเมตร นอยสุด
Low dose 6.17 เซนติเมตร ปานกลาง
High dose 8 เซนติเมตร มากสุด
จากขอมูลในตารางจะไดวาชุดทดลอง high dose มีความตางของความสูงอยูในอันดับตนๆ รองลงมาดวย ชุด
ทดลอง low dose และรั้งทายคือชุดทดลอง control ในการทดลองครั้งนี้จึงสรุปไดวา ความสัมพันธระหวาง
ความเขมขนของฮอรโมน กับอัตราการเปลี่ยนแปลงระดับความสูงของตนมะกรูดเปนไปในทางแปรผันตรง
บทที่ 5
สรุปผลการทดลองและขอเสนอแนะเพิ่มเติม
สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองพบวาฮอรโมนจิบเบอเรลลินมีผลตอความสูงของลําตนโดยกลุมของพวกเราไดนําตนไมมา 3 ตน
และแยกเปน 3 กลุม ดังนี้ 1.กลุมที่ใหฮอรโมนที่มีความเขมขนสูง (high dose) 2.กลุมที่ใหฮอรโมนที่มี
ความเขมขนต่ํา (low dose) 3. กลุมที่ไมมีการใหฮอรโมน (control) โดยหลังจากที่เราไดใหฮอรโมนมาเปน
ระยะเวลาหนึ่งแลวเราจึงไดทําการวัดความสูงของตนไมที่เราไดนํามาทดลองแลวจึงพบวาตนไมที่ไดรับฮอรโมน
แบบมีความเขมขนสูงมีลักษณะ สูงและผอมกวาตนไมที่ไดรับฮอรโมนที่มีความเขมขนต่ําและตนไมที่ไมไดรับ
ฮอรโมนเลย การที่เราพบความแตกตางระหวางตนไมทั้ง 3 แบบนั่นก็เปนเพราะเราไดใชฮอรโมนที่มีความ
เขมขนแตกตางกันนั่นเองโดยไดกลาวไปขางตนแลววามีการใสฮอรโมนแบบความเขมขนสูง ฮอรโมนแบบความ
เขมขนต่ํา และไมใสฮอรโมนใหแกตนไมเลย ซึ่งองคประกอบอื่นที่อาจทําใหเกิดความแตกตางอีกมีนอยมาก
หรือแทบจะไมมีเลยนั่นก็เปนเพราะพวกเราไดใหปริมาณของฮอรโมนในแตละตนในปริมาณที่เทากัน เราไดทํา
การรดน้ําตนไมในแตละตนในปริมาณที่เทากัน และเราไดนําไปปลูกไวบริเวณเดียวกันจึงทําใหมีองคประกอบ
อื่นนอกจากฮอรโมนที่จะสามารถทําใหเกิดความแตกตางระหวางตนไมทั้งสามชนิดนอยมาก ซึ่งผลการทดลอง
นี้ไดสอดคลองกับการศึกษาของนักวิทยาศาสตรในป พ.ศ. 2469 ซึ่งเปนชาวญี่ปุนมีชื่อวา Eiichi Kurosawa ได
ศึกษาเกี่ยวกับโรค Bakanae ในตนขาวซึ่งตนขาวที่เปนโรคนี้จะมีลักษณะสูงและผอม โดยนักวิทยาศาสตรทาน
นี้ไดคนพบวาการที่ตนขาวมีลักษณะผอมและสูงเชนนี้เกิดจาก เชื้อรา Gibberella fujikuroi ตอมาในป พ.ศ.
2478 ไดมีการสกัดเชื้อราชนิดนี้โดย Teijiro Yabuta เมื่อหลังจากการสกัดแลวก็ไดนําไปทดลองกับพืชชนิด
อื่นๆ พบวามีลักษณะเดียวกันกับตนขาวคือมีลักษณะผอม สูงนั่นเอง สารที่ไดจากการสกัดเชื้อรา Gibberella
fujikuroi นั้นก็คือฮอรโมนจิบเบอเรลลินที่กลุมของพวกเราไดใชนั่นเอง แตทุกวันนี้ฮอรโมนชนิดนี้มีมากถึง 126
ชนิดโดยสามารถสกัดไดจาก พืช รา และ แบคทีเรียนั่นเอง
ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
จากการทดลองทางกลุมของพวกเราพบวาเราควรนําตนไมไวในที่ๆสามารถกันฝนไดเนื่องจากตนไมของเรายังมี
อายุไมมากนักจึงอาจจะหักหรือตายไดงายถาหากเจอลมหรือพายุที่แรงเพราะฉะนั้นเราควรที่จะนําตนไมไปไว
ในที่ๆสามารถกันฝนไดในระดับหนึ่งแตก็ไมควรไวในรมจนเกินไปเพราะแสงแดดอาจจะไมพอสําหรับตนไมและ
จะเปนอุปสรรคตอการสังเคราะหแสงได เราควรหมั่นไปดูตนไมของเราเพื่อสังเกต การเปลี่ยนแปลงของ
ตนไมเราไมวาจะเปนการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีหรือไมดีเพราะถาเกิดปญหาขึ้น เราจะไดแกปญหาได
ทันทวงทีนั่นเอง
บรรณานุกรม
1. http://www.student.chula.ac.th/~56370053/gibberellins.html
2. https://health.kapook.com/view97811.html
3. https://www.gotoknow.org/posts/364706
4. http://www.kasetkawna.com/article/188
รูปแสดง : การตรวจเช็คขวดใสฮอรโมน
รูปแสดง : การตรวจเช็คสภาพตนไมและกระถาง
รูปแสดง : การตรวจเช็คกระบอกฉีดฮอรโมน
รูปแสดง : การตรวจเช็คสภาพตนไมและกระถาง
รูปแสดง : การเตรียมสารละลาย
รูปแสดง : กรดจิบเบอเรลลิก
รูปแสดง : ตัวอยางชุดกระถาง
รูปแสดง : ดิน
รูปแสดง : กระบอกฉีด

More Related Content

What's hot (20)

M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
M6 78 60_6
M6 78 60_6M6 78 60_6
M6 78 60_6
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
Plant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichaiPlant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichai
 
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
 
Herbarium group 1 room 341
Herbarium group 1 room 341Herbarium group 1 room 341
Herbarium group 1 room 341
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
931 pre12
931 pre12931 pre12
931 pre12
 
932 pre10
932 pre10932 pre10
932 pre10
 
932 pre1
932 pre1932 pre1
932 pre1
 

Similar to Plant hor 1_77_60

ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ThanyapornK1
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Sathitalookmai
 
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพโปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพtanasak sornprom
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆRujira Meechin
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Z-class Puttichon
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931SasipaChaya
 
surinpittayakom
surinpittayakomsurinpittayakom
surinpittayakomtulaluk
 

Similar to Plant hor 1_77_60 (20)

M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Minibook bio
Minibook bioMinibook bio
Minibook bio
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพโปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
Plant ser 125_60_8
Plant ser 125_60_8Plant ser 125_60_8
Plant ser 125_60_8
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
Ixora group 5/334
Ixora group 5/334Ixora group 5/334
Ixora group 5/334
 
File
FileFile
File
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
 
surinpittayakom
surinpittayakomsurinpittayakom
surinpittayakom
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant hor 1_77_60

  • 1. โครงงานการทดลองฮอรโมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอรโมนจิบเบอเรลลินที่มีตอความสูงของตนของตนมะกรูด นําเสนอครูผูสอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ ตําแหนงครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร สมาชิกโครงงานการทดลองฮอรโมนพืช 1. กานต ตันติกนกพร 22 2. ธนวัฒน พลานุสิตเทพา 30 3. ธีรธวัช บัวแกว 31 4. วัชพล วรรณโวหาร 36 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 หอง 77 สายการเรียนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร โครงงานการทดลองฮอรโมนพืชนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. บทคัดยอ เนื่องจากสังคมและเศรษฐกิจในปจจุบันนี้มีคาครองชีพสูงขึ้น รวมถึงอาหารและยาตางๆก็มีสารเจือปน ตางๆมากมาย ซึ่งทําใหหลายคนเลือกที่จะกลับมาสูวิถีทางธรรมชาติเชนการปลูกผักสวนครัวเองเพื่อหลีกเลี่ยง คาใชจายตางๆ ซึ่งมะกรูดก็เปนหนึ่งในตนไมที่มีสรรพคุณมากมายที่สามารถปลูกไดงายและไมใชพื้นที่มาก นอกจากนี้ การใชฮอรโมนจิบเบอเรลลิน ซึ่งเปนฮอรโมนที่มีสวนชวยใหพืชเจริญเติบโตไดเร็ว โดยเฉพาะกับ สวนยอดออนของตนไมนั้นเปนตัวชวยเรื่องของเรงเวลาไดอยางดีซึ่งทําใหเราสามารถไดผลผลิตในเวลาที่เร็วขึ้น จึงเหมาะแกการนํามาใชในการปลูกตนไมเปนอยางยิ่ง เนื่องดวยที่มาและความสําคัญดั่งกลาว ทําใหทางคณะผูจัดทําโครงงาน ตัดสินใจที่จะทําโครงงานนี้ขึ้น เพื่อหาปริมาณความเขมขนของฮอรโมนที่ควรใหแกพืชสวนครัวอยางมะกรูดแลวไดผลผลิตเร็วที่สุด หรือมีการ พัฒนาและเจริญเติบโตมากที่สุด โดยการนําตนมะกรูดจํานวน 9 ตน แบงเปน 3 ชุด ชุดละ3ตน ไดแก ชุดที่ ไดรับฮอรโมนความเขมขนสูง(ความเขมขน 0.13%) ชุดที่ไดรับฮอรโมนความเขมขนต่ํา(ความเขมขน 0.02%) และชุดที่ไมไดรับฮอรโมนเลย(ความเขมขน 0%) จากการทดลองพบวาความสูงของตนไมที่เราไดนํามาทดลองของชุดความเขมขนสูง(ความเขมขน 0.13%)มีลักษณะ สูงและผอมกวาตนไมที่ไดรับฮอรโมนที่มีความเขมขนต่ํา(ความเขมขน 0.02%)และตนไมที่ ไมไดรับฮอรโมนเลย(ความเขมขน 0%) คณะผูจัดทํา
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานการทดลองฮอรโมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอรโมนจิบเบอเรลลินที่มีตอความสูง ของตนของตนมะกรูดนี้ จะไมมีทางเกิดขึ้นไดเลย หากไมไดรับความอนุเคราะหจาก นายวิชัย ลิขิตพร รักษ อาจารยประจําวิชา ที่ชวยใหคําปรึกษา ชวยแกไขปญหาตางๆที่พบระหวางการโครงงาน นาย เผด็จ จิตรากร หัวหนาตึกศิลปะ ที่เอื้อเฟอในเรื่องสถานที่ทําการทดลองและเพาะปลูก ขอขอบคุณผูปกครอง อาจารยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และชุมชนที่ใหความชวยเหลือใน ดานตางๆ และใหกําลังใจตลอดมา คณะผูจัดทําโครงงานขอขอบคุณทานที่มีสวนเกี่ยวของไว ณ โอกาสนี้ คณะผูจัดทํา
  • 4. สารบัญ หนา บทที่ 1 บทนํา 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ มะกรูด ฮอรโมนจิบเบอเรลลิน 2 2 11 บทที่ 3 การดําเนินงาน 18 บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะหผลการทดลอง 20 บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและขอเสนอแนะเพิ่มเติม 24 บรรณานุกรม 25 ภาคผนวก 26
  • 5. บทที่ 1 บทนํา ชื่อโครงงานการทดลองฮอรโมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอรโมนจิบเบอเรลลิน ที่มีผลตอสวนสูงของตนมะกรูด สมาชิกโครงงานการทดลองฮอรโมนพืช 1. กานต ตันติกนกพร เลขที่ 23 2. ธนวัตน พลานุสิตเทพา เลขที่ 30 3. ธีรธวัช บัวแกว เลขที่ 31 4. วัชพล วรรณโวหาร เลขที่ 36 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 หอง 77 สายการเรียนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารยผูสอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ที่มาและความสําคัญ เนื่องจากสังคมและเศรษฐกิจในปจจุบันนี้มีคาครองชีพสูงขึ้น รวมถึงอาหารและยาตางๆก็มีสารเจือปน ตางๆมากมาย ซึ่งทําใหหลายคนเลือกที่จะกลับมาสูวิถีทางธรรมชาติเชนการปลูกผักสวนครัวเองเพื่อหลีกเลี่ยง คาใชจายตางๆ ซึ่งมะกรูดก็เปนหนึ่งในตนไมที่มีสรรพคุณมากมายที่สามารถปลูกไดงายและไมใชพื้นที่มาก นอกจากนี้ การใชฮอรโมนจิบเบอเรลลินซึ่งเปนฮอรโมนที่มีสวนชวยใหพืชเจริญเติบโตไดเร็ว โดยเฉพาะกับสวน ยอดออนของตนไมนั้นเปนตัวชวยเรื่องของเรงเวลาไดอยางดีซึ่งทําใหเราสามารถไดผลผลิตในเวลาที่เร็วขึ้น จึง เหมาะแกการนํามาใชในการปลูกตนไมเปนอยางยิ่ง คณะผูรับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอรโมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอรโมนจิบเบอ- เรลลินที่มีตอสวนยอดของตนมะกรูด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนํามาปรับใชในชีวิตประจําวันเพื่อใหเกิดประโยชน สูงสุดในการทําการเกษตรไมวาจะเปนสวนใหญหรือเล็กก็ตาม คณะผูรับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอรโมน พืชมีความมุงหวังเปนอยางยิ่งวาผลที่ไดจะมีประโยชนตอมนุษยในอนาคตตอไป คําถามการทําโครงงาน สารละลายฮอรโมนจิบเบอเรลลินที่ความเขมขนใดจะสงผลใหตนมะกรูดมีสวนสูงเพิ่มขึ้นมากที่สุด
  • 6. สมมติฐานการทดลอง ถาฮอรโมนจิบเบอเรลลินที่ความเขมขน 0.13% มีผลตอสวนยอดของตนมะกรูดทําใหเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอรโมนจิบเบอเรลลินที่ความเขมขน 0.13% จะทําใหยอดของตนมะกรูดมี สวนสูงมากที่สุด วัตถุประสงคของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความเขมขนของฮอรโมนที่สงผลตอสวนสูงของตนมะกรูด 2. เพื่อเปรียบเทียบความเขมขนในปริมาณที่ตางกันวาจะมีผลตางกันหรือไม อยางไร ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดรับความรูความเขาใจเรื่องความเขมขนของฮอรโมนในระดับตางๆ 2. ไดศึกษาเปรียบเทียบความแตกตางของความเขมขนของฮอรโมนที่จะสงผลตอตนไม 3. เปนการสงเสริมใหปลูกตนไมและใชฮอรโมนเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดในการเกษตร ขอบเขตของโครงงาน การทําโครงงานครั้งนี้คณะผูรับผิดชอบมุงเนนที่จะศึกษาเฉพาะสวนสูงของตนไมที่เพิ่มขึ้นเทานั้น ตัวแปรที่เกี่ยวของ ตัวแปรตน คือ ความเขมขนของฮอรโมนจิบเบอเรลลิน ตัวแปรตาม คือ ความสูงของตนมะกรูดที่เพิ่มขึ้น ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณน้ํา แสงแดดที่ไดรับ อุณหภูมิ ปุยและแรธาตุอื่นๆ ชวงระยะเวลาในการทําโครงงาน 21 พฤษภาคม 2560 ถึง 3 สิงหาคม 2560 โดยมีตารางเวลาดังนี้ สัปดาหที่....ของ เดือนพฤษภาคม สัปดาหที่....ของ เดือนมิถุนายน สัปดาหที่....ของ เดือนกรกฎาคม สัปดาหที่....ของ เดือนสิงหาคม 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 กําหนดหัวขอและวางแผนงาน จัดหาซื้ออุปกรณตางๆที่จําเปน ทําการทดลอง สิ้นสุดการทดลองและสรุปผล กิจกรรม ชวงเวลา
  • 7. วิธีการเก็บขอมูล เปนการเก็บขอมูลโดยใชไมบรรทัดที่มีมาตรฐานวัดความสูงของตนไมโดยวัดจากลําตนสวนที่เริ่มพน ดินจนถึงสวนยอดของตน พรอมจดบันทึกผลการวัดความสูงลงในตารางแบบบันทึกที่ไดออกแบบไว วิธีการวิเคราะหผลขอมูล ในสวนของการวิเคราะหผลขอมูล ทางผูจัดทําไดใชวิธีการนําขอมูลความสูงของตนไมในแตละชุดมาหา คาเฉลี่ยความสูงของแตละชุดมาทําเปนตารางเปรียบเทียบคาความสูงนั้นๆในแตละครั้ง รวมถึงนําขอมูลมาทํา เปนกราฟเสน เพื่อใหผูที่เขามาศึกษา สามารถเห็นถึงความแตกตางและการพัฒนาของตนไมไดอยางชัดเจน
  • 8. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ มะกรูด ชื่อวิทยาศาสตรวา Citrus hystrix DC. วงศ : Rutaceae ชื่อพอง – Citrus echinata St. Lag. – Citrus latipes Hook. F.& Thoms. – Citrus papidia Miq ชื่อสามัญ : – kaffir lime – porcupine orange – leech lime – mauritrus papeda ชื่อทองถิ่น : – มะกรูด – สมมั่วผี – มะหูด – สมมะกรูด – สมกรูด – มะขุน – มะขูด – มะหูด – หมากกรูด
  • 9. มะกรูด เปนพืชในสกุลสม (Citrus) มีถิ่นกําเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต นิยมใชใบมะกรูดและผิวมะกรูดเปนสวนหนึ่งของเครื่องปรุงอาหารหลายชนิด นอกจากใน ประเทศไทยและลาวแลว ยังมีความนิยมในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย (โดยเฉพาะบาหลี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนไมยืนตนขนาดเล็ก เปนไมเนื้อแข็ง ลําตนและกิ่งมีหนามยาวเล็กนอย ใบเปนใบประกอบชนิดลดรูป มีใบ ยอย 1 ใบ เรียงสลับ รูปไข คือมีลักษณะคลายกับใบไม 2 ใบ ตอกันอยู คอดกิ่วที่กลางใบเปนตอน ๆ มีกานแผ ออกใหญเทากับแผนใบ ทําใหเห็นใบเปน 2 ตอน กวาง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซนติเมตร ใบสีเขียวแก พื้นผิวใบเรียบเกลี้ยง เปนมัน คอนขางหนา มีกลิ่นหอมมากเพราะมีตอมน้ํามันอยู ซึ่งผลแบบนี้เรียกวา hesperidium (ผลแบบสม) ใบดานบนสีเขม ใตใบสีออน ดอกออกเปนกระจุก 3 – 5 ดอก กลีบดอกสีขาว เกสรสีเหลือง รวงงาย มีกลิ่นหอม มีผลสีเขียวเขมคลายมะนาวผิวเปลือกนอกขรุขระ ขั้วหัวทายของผลเปนจุก ผลออนมีเปนสีเขียวแก เมื่อผลสุกจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองสด พันธุที่มีผลเล็ก ผิวจะขรุขระนอยกวาและไมมีจุกที่ ขั้ว ภายในมีเมล็ดจํานวนมาก ๆ ลักษณะทั่วไป ลําตน ตนมะกรูด เปนไมยืนตนขนาดเล็ก เนื้อไมเปนเนื้อแข็ง เปลือกเรียบมีสีน้ําตาลออน ลําตนแตกกิ่งกานจํานวน มากตั้งแตระดับลางของลําตนทําใหมีลักษณะเปนพุม ตามลําตน และกิ่งมีหนามแหลมยาว ใบ ใบมะกรูด เปนใบประกอบ ออกเปนใบเดี่ยว มีกานใบแผออกเปนครีบคลายแผนใบ ใบมีลักษณะหนา เรียบ มี ผิวมัน สีเขียว และเขียวเขมตามอายุของใบ ใบมีคอดกิ่วที่กลางใบทําใหใบแบงออกเปน 2 ตอน หรือ คลาย ใบไม 2 ใบ ตอกัน ขนาดใบกวางประมาณ 2.5-5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 5-12 เซนติเมตร ใบมีกลิ่นหอมมาก เพราะมีตอมน้ํามันอยู
  • 10. ดอก ดอกมะกรูดเปนดอกสมบูรณเพศ ดอกออกเปนชอมีสีขาว แทงออกบริเวณสวนยอดหรือตามซอกใบ แตละชอมี ดอกประมาณ 1-5 ดอก หลีบดอกมีสีขาวครีม 5 กลีบ มีขนปกคลุม ภายในดอกมีเกสรมีสีเหลือง ดอกมีกลิ่น หอมเล็กนอย และเมื่อแกจะรวงงาย ผล/ลูก ผลมะกรูดหรือลูกมะกรูด มีลักษณะคอนขางกลม มีเสนผานศูนยกลาง 5-7 เซนติเมตร ผลคลายผลสมซา ผลมี ขนาดใหญกวาลูกมะนาวเล็กนอย ลักษณะของผลมีรูปรางแตกตางกันไปแลวแตพันธุ เปลือกผลคอนขางหนา ผิวเปลือกมีสีเขียวเขม ผิวขรุขระเปนลูกคลื่นหรือเปนปุมนูน ภายในเปลือกมีตอมน้ํามันหอมระเหยเปนจํานวน มาก มีจุกที่หัว และทายของผล เมื่อสุก ผลจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองดานในผลประกอบดวยเนื้อฉ่ําน้ํา มีเมล็ด แทรกบริเวณกลางผล 5-10 เมล็ด เนื้อผลมีรสเปรี้ยวปนขมเล็กนอย
  • 11. การใชประโยชน • ใบมะกรูด นิยมใชประกอบอาหารสําหรับใชดับกลิ่นคาวของเนื้อตางๆ เชน แกงเผ็ด ตมยํา ใชโรยในอาหาร เชน หอหมก • ใบมะกรูด ใชเปนสวนผสมของเครื่องแกง เชน พริกแกง • ลูกมะกรูด ผาเปนชิ้นใชสําหรับดับกลิ่นในหองน้ําชาย-หญิง • น้ําจากลูกมะกรูด ใชดับกลิ่นคาว และปรุงอาหารใหมีรสเปรี้ยว เชน แกงสม แกงคั่ว • น้ําจากลูกมะกรูด ใชทําน้ําผลไมปน เชน น้ํามะกรูดปน • ลูกมะกรูด นํามาสับและบีบคั้นเอาน้ํา ใชสําหรับผสมหรือทําน้ํายาสระผม • ลูกมะกรูด หั่นเปนชิ้นใชสระผมรวมกับแซมพูสระผม • ลูกมะกรูด นํามาคลึงใหซ้ํา แลวใสในภาชนะน้ําขังเพื่อกําจัดลูกน้ํา • สารสกัดจากใบมะกรูดใชแตงกลิ่นไวนขาวหรือไวนแดง • สารสกัดจากใบมะกรูดใชเปนสวนผสมของตานมะเร็ง • น้ําจากลูกมะกรูด ใชเปนสวนผสมของยาฟอกเลือด • น้ํามันหอมระเหยจากผล และใบมะกรูด ใชเปนสวนผสมในอุตสาหกรรมเครื่องหอม และเครื่องสําอางตางๆ • น้ํามันหอมระเหย ใชปรับอากาศตามหอง ชวยลดกลิ่นอับ กลิ่นเหม็นคาว • ใบและผลสด ใชดม แกอาการมึนเมา อาการเวียนศีรษะ
  • 12. 1. การใชในตํารับยา และประโยชนทั่วไป น้ํามะกรูดชวยบํารุงสุขภาพเหงือก และฟน เนื่องจากมีวิตามินซีในปริมาณมาก โดยในประเทศไทยมีการนําน้ํา มะกรูดไปใชสําหรับเปนยาขับ เสมหะ แกไอ แกโรคเลือดออกตามไรฟน นํามาดองยารับประทานเปนยาฟอก โลหิตสตรี ผสมกับปูนแดงทาแกปวดทอง นอกจากนั้น มีการนําน้ํามะกรูดไปใชเปนยาฟอกขาวตามธรรมชาติ สําหรับกําจัดคราบรอยดาง รวมไปถึงการนําไปใชสําหรับฆาทากตามพื้นดินผิวมะกรูด ผิวมะกรูดมีการนําไปใช เปนยาขับลมในลําไส แกแนนทอง แกวิงเวียนเปนยาบํารุงหัวใจ ใชกระตุนและรักษาอาการปวดทอง นอกจากนี้ ยังใชเปนสวนผสมสําหรับผลิตภัณฑน้ํายาบวนปาก ในประเทศไทยมีการนําผิวมะกรูดแหงใหแกหญิงที่เพิ่งคลอดบุตร และใชเปนยาเรงประจําเดือน สวนประเทศ อินเดียนิยมใชผิวมะกรูดสําหรับใชเปนยาฆาแมลงดวย สวนในตํารับยาของชาวมาเลเซียมีการใชผลสดทั้งผล สําหรับการเตรียมยาสําหรับใชภายใน ซึ่งจะเปนใบสั่งยาเกี่ยวกับโรคความเจ็บปวดในชองทอง และใชเปนยา ขับลมแกทองเฟอ 2. การใชในอุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่ม ใบมะกรูดมักถูกนําไปใชในหลายประเทศสําหรับใชเปนสารกันเสียในผลิตภัณฑอาหาร (preserve foods) และ ยังทําใหเกิดความอยากอาหาร น้ํามะกรูด และผิวผลมะกรูดโดยสวนมากจะใชปรับปรุงรสชาติและกลิ่นรสของอาหารในภูมิภาคเอเชีย เชน ใน ประเทศอินโดนีเซีย มักนิยมใชใบมะกรูดเพื่อกลิ่นรสที่จําเพาะ เชน เครื่องปรุง และเครื่องดื่ม ในประเทศไทยใชผิวมะกรูดเปนเครื่องเทศ โดยใชเปนสวนผสมของน้ําพริกแกงหลายชนิด น้ํามะกรูดถูกนําไปใชสําหรับเตรียมเปนเครื่องดื่ม และสําหรับปรุงอาหารเพื่อใหมีรสเปรี้ยว และดับ กลิ่นคาวปลา นิยมใสน้ํามะกรูดในปลาราหลน แกงสม แกงคั่ว ฯลฯ และมีการนําไปใชกันมากสําหรับเปน เครื่องปรุงเนื้อ สวนในทางการคาดวยลักษณะที่โดดเดน และมีรสชาติจําเพาะ จึงมักใชสําหรับตํารับอาหารจําพวกแกงเผ็ดซุป และกูไล (gulai) ซึ่งเปนแกงพื้นเมืองชนิดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย เปนตน 3. การใชในอุตสาหกรรมเครื่องสําอาง เนื่องจากมะกรูดมีสมบัติในการชวยบํารุงหนังศีรษะ และกระตุนการงอกของรากผม ชวยขจัดรังแคที่มีสาเหตุ มาจากเชื้อจุลินทรีย แกคันศีรษะ และชวยหลอลื่นผมทําใหผมดกดําเปนเงางาม รากผมแข็งแรง ไมหลุดรวงงาย
  • 13. สวนน้ํามะกรูดมีสมบัติเปนกรดตามธรรมชาติเหมาะสําหรับหนังศีรษะไมทําใหเกิดการระคายเคือง ชวยในการ ทําความสะอาดเสนผม และหนังศีรษะ และชวยในการชําระลางคราบสบูและแชมพู ดังนั้น จึงนิยมนํามะกรูด ไปใชเปนสวนผสมสําหรับการเตรียมผลิตภัณฑแชมพูผสมมะกรูด ชาวพมา และชาวมาเลเซีย ใชน้ํามะกรูดเปนแชมพูธรรมชาติสําหรับสระผม และชําระลางสวนตางๆ ของ รางกาย นอกจากนี้ ยังมีการนําน้ํามะกรูด และผลมะกรูดไปใชสําหรับแตงกลิ่นในผลิตภัณฑแชมพูสระผม รักษาชันนะตุ รังแค และทําใหผมสะอาด รวมถึงมีการนําไปใชเปนครีมทาผิวดวย สวนประเทศฟลิปปนสนิยม ใชผลมะกรูดผสมกับเปลือกสะบามอญสระผม คุณคาทางโภชนาการของผิวลูกมะกรูด (100 กรัม) • คารโบไฮเดรต 21.3 กรัม • โปรตีน 2.8 กรัม • ไขมัน 1.1 กรัม • ใยอาหาร 3.4 กรัม • แคลเซียม 322 มิลลิกรัม • ฟอสฟอรัส 62 มิลลิกรัม • เหล็ก 1.7 มิลลิกรัม • วิตามินบี 1 0 มิลลิกรัม • วิตามินบี 2 0.13 มิลลิกรัม • วิตามินซี 115 มิลลิกรัม สารสําคัญที่พบ นํ้ามันหอมระเหยมะกรูดประกอบดวย 2 สวนใหญๆ คือ สารในกลุมเทอรพีน ( terpenes) และสารที่ไมใชกลุม เทอรพีน (non-terpene) หรือ oxygenated compounds สารเทอรพีนเปนสารพวก unsaturated hydrocarbons ซึ่งเปนสารที่ไมคงตัว สามารถเกิดปฏิกิริยา photochemical และปฎิกิริยา oxidation ไดงาย ทําใหนํ้ามนหอมระเหยเสื่อมลงอยางชาๆ โมโนเทอรพีน ( monoterpene, C10 ) เปนเทอรพีนที่มีนํ้าหนักโมเลกุลต่ําที่สุด แบงเปนกลุมยอย 3 กลุม คือ acyclic, monocyclic และ bicyclic เชน ocimene, di-limonene และ camphene ตามลําดับ
  • 14. เซสควิเทอรพีน (sesquiterpenes, C15) เปนองคประกอบของน้ํามันหอมระเหยที่มีจุดเดือดสูง เปน สารประกอบไมอิ่มตัวประเภท acyclic หรือ cyclic เชน farnesol และ d-bisabolene ตามลําดับ สวน non-terpenes เปนสวนเฉพาะที่ทําใหเกิดกลิ่นเฉพาะตัวของน้ํามันหอมระเหย ไดแก สารประกอบอัลกอฮอล อัลดีไฮด คีโตน อีเธอร กรดคารบอกซิลิค และเอสเทอร เปนตน สารเหลานี้ ไดแก geraniol, linalool เปนตน สารสําคัญที่พบในใบ และเปลือกผลมะกรูด • β-pinene • limonene • sabinene • citronellal • α-pinene • myrcene • 1,8 cineol • α-terpineol • trans –sabinene hydrate • copaene • linalool • β-cubenene • geranyl acetate, citronellol • caryophyllene • elemol • δ-cardinene • citronellene acetate • terpinen-4-ol, p-elemene • camphene • γ-terpinene • terpinolene • nerolidol
  • 15. สรรพคุณมะกรูด ผลมะกรูด – ใชหรับประทานสดเพื่อบรรเทาอาการปวดหัว – ใชรับประทานสดสําหรับขับพยาธิ – ชวยบํารุงกําลัง – ชวยกระตุนการทํางานของเอนไซม – ชวยฟอกเลือด และบํารุงเลือด – ชวยขับระดู – ชวยขับลม – แกจุกเสียดแนนทอง – แกทองอืด ทองเฟอ อาหารไมยอย – ใชแกไอ ขับเมหะ ใบมะกรูด – ชวยขับลม – แกหนามืด ตาลาย และคลื่นเหียน อาเจียน ราก และลําตนมะกรูด – รากสามารถแกลมจุกเสียดและบํารุงโลหิต ฤทธิ์การตานเชื้อจุลินทรีย ใบมะกรูด – เชื้อแบคทีเรีย ไดแก อี.โคไล, บาซิลลัส เมกะทีเรียม เปนตน – เชื้อรา ไดแก อัลเทอรนาเรีย, ฟวซาเรียม และไรโซปส เปนตน เปลือกมะกรูด – เชื้อแบคทีเรีย ไดแก อี.โคไล, ซัลโมเนลลา ไทฟ และสเตรปโตคอกคัส ฟคาลิส เปนตน – เชื้อรา ไดแก แอสเปอรจิลลัส, เคอรวูลารเรีย และฟวซาเรียม เปนตน
  • 16. การปลูกมะกรูด การขยายพันธุมะกรูดสามารถทําไดดวยหลายวิธี อาทิ การตอนกิ่ง การทาบกิ่ง การติดตา การตอยอด และการ เพาะเมล็ด แตที่นิยม ไดแก การตอนกิ่ง การตอยอด และการเพาะดวยเมล็ด
  • 17. จิบเบอเรลลิน (Gibberellins) การคนพบกลุมของฮอรโมนพืชที่ปจจุบันเรียกวาจิบเบอเรลลินนั้น เกิดประมาณป 1920 เมื่อ Kurosawaนักวิทยาศาสตรชาวญี่ปุน ศึกษาในตนขาวที่เปนโรคBakanae หรือโรคขาวตัวผู ซึ่งเกิดจาก เชื้อราGibberella fujikuroiหรือ Fusarium moniliforme ซึ่งทําใหตนขาวมีลักษณะสูงกวาตนขาวปกติ ทํา ใหลมงาย จากการศึกษาพบวา ถาเลี้ยงเชื้อราในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลวแลวกรองเอาเชื้อราออกไปเหลือแต อาหารเลี้ยงเชื้อ เมื่อนําไปราดตนขาวจะทําใหตนขาวเปนโรคได จึงเปนที่แนชัดวา เชื้อราชนิดนี้สามารถสราง สารบางชนิดขึ้นในตนพืชหรือในอาหารเลี้ยงเชื้อ ซึ่งกระตุนใหตนขาวเกิดการสูงผิดปกติได ในป 1939 ไดมีผู ตั้งชื่อสารนี้วาจิบเบอเรลลิน การคนพบจิบเบอเรลลิน เกิดขึ้นในชวงเดียวกับที่พบออกซิน การศึกษาสวนใหญ จึงเนนไปทางออกซิน สวนการศึกษาจิบเบอเรลลินในชวงแรกจะเปนไปในแงของโรคพืช ในการศึกษา ขั้น แรกคอนขางยากเพราะมักจะมีกรดฟวซาริค (Fusaric Acid) ปะปนอยูซึ่งเปนสารระงับการเจริญเติบโต ความรู เกี่ยวกับโครงสรางและสวนประกอบทางเคมีของจิบเบอเรลลินนั้นไดรับการศึกษาในป 1954 โดยนักเคมี ชาวอังกฤษซึ่งสามารถแยกสารบริสุทธิ์จากอาหารเลี้ยงเชื้อรา Gibberella fujikuroi และเรียกสารนี้วากรดจิบ เบอเรลลิค (Gibberellic Acid) การใหกรดจิบเบอเรลลิคกับพืชที่สมบูรณทั้งตน จะเรงใหเกิดการยืดตัวเพิ่มขึ้นของลําตนและใบอยาง ผิดปกติ การตอบสนองจะปรากฏเดนชัดเมื่อใหกรดนี้กับพืชที่เตี้ยแคระโดยพันธุกรรม เพราะจะกระตุนใหพืช เหลานี้เจริญสูงตามปกติ กรดจิบเบอเรลลิคที่พบในอาหารเลี้ยงเชื้อรานั้นมีโครงสรางทางเคมี และกิจกรรม ทางชีววิทยาเหมือนกับกรดจิบเบอเรลลิคในพืชปกติทุก ๆ ชนิด (พืชปกติหมายถึงพืชที่ไมเปนโรค) มี สารประกอบประเภทนี้จํานวนมากที่แยกเปนสารบริสุทธิ์ไดจากพืชชั้นสูง ในปจจุบันมีจิบเบอเรลลินซึ่งเปนชื่อ เรียกทั่ว ๆ ไปของสารประกอบประเภทนี้ ประมาณไมนอยกวา 80 ชนิดชื่อเรียกสารประกอบชนิดนี้จะตั้งชื่อ ดังนี้ คือ Gibberellins A1 (GA1), A2, A3เปนตน โดยที่กรดจิบเบอเรลลิค คือ GA3 GA ทุกชนิดจะมีโครงสรางพื้นฐานของโมเลกุลเปน Gibberellane Carbon Skeleton ซึ่งจะ เหมือนกับกรดจิบเบอเรลลิค จะแตกตางกันตรงจํานวนและตําแหนงของกลุมที่เขาแทนที่ในวงแหวนและระดับ ของความอิ่มตัวของวงแหวน A GA ประกอบดวยคารบอนประมาณ19-20อะตอม ซึ่งจะรวมกันเปนวง แหวน 4 หรือ 5 วงและจะตองมีกลุมคารบอกซิลอยางนอย 1 กลุม โดยใชชื่อยอวา GA ซึ่ง GA3 เปนชนิดที่ พบมากและไดรับความสนใจศึกษามากกวาชนิดอื่นๆ GA เปนฮอรโมนที่พบในพืชชั้นสูงทุกชนิด นอกจากนั้น ยังพบในเฟรน สาหราย และเชื้อราบางชนิด แตไมพบในแบคทีเรีย
  • 18. การสังเคราะหจิบเบอเรลลิน จิบเบอเรลลินเปนฮอรโมนพืชซึ่งมีคุณสมบัติทางเคมีเปนไดเทอพีนส (diterpenes) ซึ่งเปน สารประกอบที่เกิดตามธรรมชาติในพืช ในกลุมของเทอพีนอยส(Terpenoids) การสังเคราะห GA จึงเกิดมา จากวิถีการสังเคราะหสารเทอพีนอยส โดยที่มีบางสวนยังไมเขาใจเดนชัดนัก การสังเคราะห GA สารเริ่มตนเปนกรดเมวาโลนิค (Mevalonic Acid) เปลี่ยนไปตามวิถีจนเกิดเปน กรดคอรีโนอิค (Kaurenoic Acid) แลวจึงเปลี่ยนไปเปน GAซึ่งวิถีในชวงที่เปลี่ยนไปเปน GA ชนิดตาง ๆ นี้ยัง ไมทราบแนชัดนัก สารชนิดแรกที่มีวงแหวนของ Gibberellane คือ อัลดีไฮดของ GA12 ในปจจุบันมีสารชะงักการเจริญเติบโต เชน CCC หรือ Cycocel AM0-1618 Phosfon- D และ SADH หรือ Alar ซึ่งใชกันมากในการเกษตร สารเหลานี้บางชนิดสามารถระงับ กระบวนการ สังเคราะหจิบเบอเรลลินได เชน AMO-1618 สามารถระงับการสังเคราะหจิบเบอเรลลินในอาหาร สํารอง (Endosperm) ของแตงกวาปา โดยระงับในชวงการเปลี่ยน Geranylgeranyl pyrophosphate ไป เปน Kaurene ในทํานองเดียวกัน CCC สามารถระงับกระบวนการนี้ไดดวย จากการศึกษาโดยวิธี Diffusion Technique แสดงใหเห็นวาใบออน ผลออนและตนออนเปน สวนที่สราง GA ของพืช รากพืชอาจจะสามารถสราง GA ไดบาง แต GA มีผลตอการเจริญของรากนอย มาก และอาจจะระงับการสรางรากแขนงพวก Adventitious Root ดวย ในปจจุบันยังไมมีการ สังเคราะห GA เนื่องจากกระบวนการสรางซับซอนและตองใชเอนไซมหลายชนิด GA ที่พบในปจจุบันจึง เปนสารธรรมชาติทั้งสิ้น การสลายตัวของจิบเบอเรลลิน ความรูทางดานนี้ยังมีไมมากนัก แตมีหลักฐานที่แสดงใหเห็นวาจิบเบอเรลลินมีกิจกรรมทาง สรีรวิทยาอยูไดเปนระยะเวลานานในเนื้อเยื่อพืช ซึ่งตรงกันขามกับออกซินที่สลายตัวเร็วในเนื้อเยื่อพืช และใน เนื้อเยื่อพืชที่มีจิบเบอเรลลินอยูสูงจะไมแสดงผลเสีย แตถาเนื้อเยื่อพืชมีปริมาณออกซินสูงเกินไป ออกซินจะ ทําลายเนื้อเยื่อพืชได ซึ่งอาจจะเกิดมาจากการที่ออกซินกระตุนใหเกิดการสังเคราะหเอทธิลีนในตน พืช อาจจะเปนดวยสาเหตุนี้ที่พืชตองมีกระบวนการสลายออกซินเพื่อไมใหมีการสะสมออกซินในตนพืชมาก เกินไป อยางไรก็ตามจิบเบอเรลลินสามารถเปลี่ยนจากชนิดหนึ่งไปเปนจิบเบอเรลลินอีกชนิดหนึ่งไดใน
  • 19. เนื้อเยื่อพืช ยิ่งไปกวานั้นในเนื้อเยื่อพืชยังมีจิบเบอเรลลินในรูปของไกลโคไซด(Glycosides) ซึ่งอาจจะ เปนวิธีการทําใหจิบเบอเรลลินไมสามารถแสดงคุณสมบัติออกมา กรดจิบเบอเรลลิค ซึ่งอยูในสภาพ สารละลายถูกทําใหสลายตัวไดโดยใช Acid Hydrolysis ที่อุณหภูมิสูงและไดผลิตภัณฑคือกรดจิบเบอเรลลี นิค (Gibberellenic Acid) และกรดจิบเบอริค (Gibberic Acid) การหาปริมาณจิบเบอเรลลิน 1. ใชวิธีโครมาโตกราฟเชน GC หรือ Gas Chromatograph และ Paper Chromatograph 2. ใชวิธี Bioassay โดยการที่จิบเบอเรลลินสามารถทําใหพืชแคระ (ขาวโพดและถั่ว) เจริญ เปนตนปกติได หรือโดยการที่จิบเบอเรลลินสามารถปองกันการเกิดการเสื่อมสลาย (Senescence) หรือโดย หาปริมาณจิบเบอเรลลินจากการกระตุนใหเมล็ดขาวบารเลยสรางเอนไซม แอลฟา อะมัยเลส ( a- amylase) ในอาหารสํารอง ความสัมพันธของโครงสรางของโมเลกุลและกิจกรรมของจิบเบอเรลลิน ความสัมพันธระหวางโครงสรางของโมเลกุล และกิจกรรมทางสรีรวิทยาของจิบเบอ เรลลิน ยังมีการศึกษานอยกวาออกซิน ตามที่กลาวแลววา ในปจจุบันมีจิบเบอเรลลินมากกวา 80 ชนิดซึ่งได จากแหลงในธรรมชาติ เชนจาก Gibberella fujikuroi และจากพืชชั้นสูง โครงสรางของ GA ตางชนิดกันจะ คลายคลึงกันเพราะจะมีโครงสรางพื้นฐานเหมือนกันมีลักษณะที่แตกตางกันที่จํานวนของกลุมคารบอกซิลและ ความอิ่มตัวของวงแหวน A ในปจจุบันความรูเหลานี้ทําใหทราบวาโมเลกุลที่จะมีคุณสมบัติของจิบเบอเรลลินได นั้นตองมีโครงสรางคลายคลึงกับจิบเบอเรลลินที่เกิดในธรรมชาติ ในทางตรงกันขามสารไดเทอรพีนอยดซึ่งเกิด ตามธรรมชาติซึ่งเรียกวาสะตีวีออล (Steviol) ซึ่งไมมีโครงสรางพื้นฐานจิบเบน (Gibbane) แตมีคุณสมบัติ ในการกระตุนการเจริญเติบโตของพืชอยางออน ๆ คลายคลึงกับจิบเบอเรลลินอยางไรก็ตามอาจจะเปน เพราะวาการเปลี่ยนสะตีวีออล โดยเอนไซมของพืชไปสูรูปที่มีกิจกรรมมากกวาที่จะมีกิจกรรมของฮอรโมน ดวยตัวเอง เปนที่สังเกตวา จิบเบอเรลลินที่พบในปจจุบันมีประสิทธิภาพในการกระตุนการเจริญเติบโตไดไม
  • 20. เทากัน และความจริงกิจกรรมของจิบเบอเรลลินซึ่งทดสอบกับพืชตางชนิดกันหรือคนละพันธุกัน สามารถใช แยกชนิดของจิบเบอเรลลินได การเคลื่อนยายของจิบเบอเรลลินในตนพืช จิบเบอเรลลินสามารถเคลื่อนยายหรือเคลื่อนที่ในพืชไดทั้งทางเบสิพีตัล และ อะโครพีตัล และ การเคลื่อนที่ไมมีโพลาริตี้ การเคลื่อนยายเกิดขึ้นทั้งในสวนของทออาหารและทอน้ํา แตการเคลื่อนที่ของจิบ เบอเรลลินจากยอดออนลงมาสูสวนลางของลําตนนั้นไมไดเกิดในทอน้ําทออาหารเพราะสวนของยอดออนเปน สวนที่ดึงอาหารและธาตุอาหารใหเคลื่อนที่ขึ้นไปแบบ อะโครพีตัล ดังนั้นจิบเบอเรลลินจึงไมไดเคลื่อนที่ทางทอ อาหาร และยังไมทราบวิถีการเคลื่อนที่แนชัด กลไกในการทํางานของจิบเบอเรลลิน การศึกษาดานกลไกในการทํางานของจิบเบอเรลลินเกิดจากการที่พบวามีระดับของกิจกรรมของ เอนไซมหลายชนิดมีผลกระทบจากปริมาณของจิบเบอเรลลินเอนไซมซึ่งมีกิจกรรมเพิ่มขึ้นเมื่อไดรับจิบเบอ เรลลิน คือ เอนไซม แอลฟาและเบตา-อะมัยเลส (a และ b-amylase) โปรตีเอส (Protease) และไรโบนิวคลี เอส (Ribonuclease) ซึ่งพบในเมล็ดขาวบารเลยซึ่งกําลังงอก นอกจากนั้นในพืชบางชนิดยังพบวากิจกรรม ของไนเตรท รีดเตส (Nitrate Reductase)และไรบูโลสฟอสเฟสคารบอก ซิเลส (Ribulose Phosphate Carboxylase) มีกิจกรรมเพิ่มขึ้นดวย ใน ตนออยนั้น พบวา ผลของจิบเบอ เรลลินจะชะลอการสังเคราะหอินเวอรเทส(Invertase) และ เพอรอกซิเดส (Peroxidase) ความสนใจในกลไกการทํางานของจิบเบอเรลลิน จึงเนนไปที่การศึกษาวาจิบเบอ เรลลินควบคุมกิจกรรมของเอนไซมไดเพราะเปนผลเนื่องมาจากเปลี่ยนแปลงการสังเคราะหโปรตีนโดย RNA การศึกษาตัวอยางของระดับกิจกรรมของเอนไซมซึ่งถูกควบคุมโดยจิบเบอเรลลิน ทํากันมากในเอนไซม แอลฟา อะมัยเลส ในเมล็ดขาวบารเลย ในเมล็ดขาวบารเลยที่แหงที่ยังไมดูดซับน้ําจะไมมีเอนไซม แอลฟา อะมัยเลสปรากฏอยู เอนไซมนี้จะปรากฏขึ้นและปลดปลอยออกมาจากชั้นของอะลีโรนของ เมล็ด เปนการตอบสนองตอจิบเบอเรลลินซึ่งสังเคราะหจากตนออนที่กําลังงอก เนื้อเยื่อชั้นอะลีโรนซึ่งแยกจาก เมล็ดที่ไมงอกจะมีกิจกรรมของแอลฟา อะมัยเลส นอยมาก แตถานําเนื้อเยื่อนี้ไปแชในจิบเบอเรลลินจะทําให
  • 21. เกิดการเพิ่มกิจกรรมของแอลฟา อะมัยเลสมากขึ้นโดยเกิดขึ้นหลังจากแชไวนาน 8 ชั่วโมงแลว การกระตุนให เกิดการสรางแอลฟา อะมัยเลสนี้ จะชะงักไปเมื่อใชสารระงับการสังเคราะห RNA และโปรตีน รวมอยูใน สารละลายจิบเบอเรลลิน ซึ่งจากการทดลองดังกลาวแสดงวาจิบเบอเรลลินควบคุมกิจกรรมของแอลฟา อะ มัยเลส ผานทางการสังเคราะห RNA สารชะงักการสังเคราะห RNA เชน แอคติโนมัยซิน-ดี (Actinomycin- D) จะชะงักกระบวนการกระตุนการสังเคราะห RNA 2-3 ชั่วโมง หลังจากเติมจิบเบอเรลลิน ในขณะที่สาร ชะงักการสังเคราะหโปรตีน เชน ไซโคลเฮคซิไมด (Cycloheximide) จะระงับการปรากฏของกิจกรรมของ แอลฟา อะมัยเลส หลังจากชวง "lag" เริ่มตน กลไกในการทํางานขั้นแรกของจิบเบอเรลลินนั้นจะเปลี่ยนระบบเยื่อหุมเซลลแลวจึงจะไปมีผลในการ กระตุนการสังเคราะห RNA และโปรตีน นั่นคือในการกระตุนระยะสั้นจะเกี่ยวของกับระบบเยื่อหุมเซลล ใน ระยะยาวจะเกี่ยวของกับการสังเคราะห RNA และโปรตีน กลไกที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนระบบของเยื่อหุม คือ เพิ่มการสังเคราะหเยื่อหุมทําใหเกิดเอนโดพลาสมิคเรตติคิวลัมมากขึ้น และกระตุนการสรางเวสซิเคิลซึ่งมี เอนไซมอยูภายใน นอกจากนั้นยังกระตุนใหมีการปลดปลอย แอลฟา อะมัยเลส ผานเยื่อหุมเซลลออกมา บทบาทของจิบเบอเรลลินที่มีตอพืช 1. กระตุนการเจริญเติบโตของพืชทั้งตน จิบเบอเรลลินมีคุณสมบัติพิเศษ ซึ่งสามารถ กระตุนการเจริญเติบโตของพืชทั้งตนไดโดยทําใหเกิดการยืดตัวของเซลลซึ่งผลนี้จะตางจากออกซินซึ่งสามารถ กระตุนการเจริญเติบโตของชิ้นสวนของพืชได พืชบางชนิดอาจจะไมตอบสนองตอจิบเบอเรลลิน อาจจะ เปนเพราะวาในพืชชนิดนั้นมีปริมาณจิบเบอ-เรลลินเพียงพอแลว จิบเบอเรลลินสามารถกระตุนการยืดยาวของ ชอดอกไมบางชนิดและทําใหผลไมมีรูปรางยาวออกมา เชน องุน และแอปเปล กะหล่ําปลีซึ่งเจริญในลักษณะตนเตี้ยเปนพุม (Rosette) มีปลองสั้นมาก เมื่อให GA3 กับตนกะหล่ําปลี ดังกลาวจะทําใหสูงขึ้นถึง 2 เมตรได ถั่วพุมที่ไดรับ GA จะกลายเปนถั่วเลื้อยได พืชซึ่งมีตนเตี้ยทางพันธุกรรม เชน ขาว ขาวโพด ถั่ว แตงกวาและแตงโมสามารถแสดงลักษณะปกติไดเมื่อไดรับ GA3 ในขาวโพดแคระนั้น พบวาความผิดปกติเกิดจากยีนสควบคุม ซึ่งอาจจะเกี่ยวพันกับวิถีในการสังเคราะหจิบเบอเรลลิน สวนขาวโพด ปกติหากไดรับจิบเบอเรลลินจะไมสามารถสูงขึ้นไดอีก ดังนั้นในกรณีขาวโพดการแคระเกิดจากมีปริมาณจิบเบอ เรลลินในตนนอยเกินไป แตอาการแคระของพืชบางชนิด เชน Japanese Morning Glory พบวามีจิบเบอ
  • 22. เรลลินมากพอแลว แตเมื่อไดรับ จิบเบอเรลลินเพิ่มก็จะสูงขึ้นได ในกรณีนี้อาจจะเปนเพราะในตนมีปริมาณ ของสารระงับการ เจริญเติบโตอยูสูง 2. กระตุนการงอกของเมล็ดที่พักตัวและตาที่พักตัว ตาของพืชหลายชนิดที่เจริญอยูในเขตอบอุนจะ พักตัวในฤดูหนาว เมล็ดของพืชหลายชนิดมีพฤติกรรมเชนนี้ดวย ซึ่งการพักตัวจะลดลงจนหมดไป เมื่อ ไดรับความเย็นเพียงพอ การพักตัวของเมล็ดและตา อันเนื่องมาจากตองการอุณหภูมิต่ําวันยาว และตองการ แสงสีแดงจะหมดไปเมื่อไดรับจิบเบอเรลลิน 3. การแทงชอดอกการออกดอกของพืช เกี่ยวของกับปจจัยหลายอยาง เชนอายุและ สภาพแวดลอม จิบเบอ-เรลลินสามารถแทนความตองการวันยาวในพืชบางชนิดได และยังสามารถทดแทน ความตองการอุณหภูมิต่ํา (Vernalization) ในพืชพวกกะหล่ําปลี และแครอท 4. สามารถกระตุนการเคลื่อนที่ของอาหารในเซลลสะสมอาหาร หลังจากที่เมล็ดงอกแลว เพราะ รากและยอดที่ยังออนตัวเริ่มใชอาหาร เชน ไขมัน แปง และโปรตีน จากเซลลสะสมอาหาร จิบเบอเรลลินจะก ระตุนใหมีการยอยสลายสารโมเลกุลใหญใหเปนโมเลกุลเล็ก เชน ซูโครสและกรดอะมิโน ซึ่งเกี่ยวพันกับการ สังเคราะหเอนไซมหลายชนิดดังกลาวขางตน 5. กระตุนใหเกิดผลแบบ Parthenocarpic ในพืชบางชนิด เปลี่ยนรูปรางของใบพืชบางชนิด เชน English Ivy และทําใหพืชพัฒนาการเพื่อทนความเย็นได 6. พืชที่มีดอกตัวผูและตัวเมียแยกกันไมวาจะตนเดียวกันหรือแยกตนก็ตามจิบเบอเรลลินสามารถ เปลี่ยนเพศของดอกได จิบเบอเรลลินมักเรงใหเกิดดอกตัวผู สวนออกซิน เอทธิลีน และไซโตไคนิน มักจะเรง ใหเกิดดอกตัวเมีย ในแตงกวาดอกลาง ๆ มักเปนดอกตัวผู และดอกบนเปนดอกตัวเมีย การใหสารอีธีฟอนจะ เรงใหเกิดดอกตัวเมียขึ้น ผลของจิบเบอเรลลินตอพืช 1. กระตุนใหเซลลของลําตนยืดและขยายตัว โดยเฉพาะอยางยิ่งเซลลบริเวณขอทําใหลําตนพืช สูงขึ้นมาก 2. กระตุนการออกดอกของพืชบางชนิด โดยเฉพาะพืชวันยาว ( คือ พืชที่จะออกดอกเมื่อมีเวลา กลางวันยาวซึ่งมักจะเกิน 12 ชั่วโมง) ที่มีลักษณะเปนทรงพุมใบเปนกระจุก
  • 23. 3. กระตุนการแสดงใบของเพศดอก เชน พืชตระกูลแตง พบวาจิบเบอเรลลินชักนําใหเกิดดอกตัว ผูเพิ่มมากขึ้น 4. กระตุนการงอกของเมล็ดและการเจริญเติบโตของตนออนโดยการเรงการทํางานของเอนไซมให ยอยแปงยอยโปรตีนเพื่อใหไดทริปโตเฟนในการสราง IAA เพิ่มขึ้น กระตุนเอนไซมใหยอยสารในเซลลของ เปลือกหุมเมล็ดทําเปลือกหุมเมล็ดออนตัวลงจึงงอกไดดีขึ้น ทําลายการพักตัวของเมล็ดและตา 5. ชวยยืดชอผลขององุนและชวยใหองุนบางพันธุ มะเขือเทศ ฝรั่ง ไมมีเมล็ดชวยปรับปรุงคุณภาพ ขององุน ฝรั่ง ใหผลมีขนาดใหญขึ้น 6. ชวยการติดผล (fruit set) ของพืชบางชนิด ใหมีการติดผลมากขึ้น เชน มะนาว สม ฝรั่ง องุน 7. ชวยใหพืชพันธุเตี้ยโดยพันธุกรรมมีลําตนสูงขึ้น และยังชวยใหพืชพันธุธรรมดาปกติสูงขึ้นไดบาง เชน ถั่ว ขาวโพด เปนตน
  • 24. บทที่ 3 การดําเนินงาน วัสดุอุปกรณและสารเคมี 1. กรดจิบเบอเรลลิก กรุพเคมี จีเอ 2. กระถางตนไมพรอมถาดรอง 3 ชุด 3. กระบอกฉีดสําหรับฉีดและพนสารละลาย 3 อัน 4. ขวดน้ํารีไซเคิลสําหรับใสฮอรโมน 5. พลั่ว 6. กระบอกฉีด 7. ดิน ขั้นตอนการทําโครงงาน 1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวขอโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาเปรียบประสิทธิผลของปริมาณฮอรโมน พืชจิบเบอเรลลินที่มีผลตอความสูงของตนมะกรูด 2. ศึกษาและคนควาหาขอมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้ 2.1. ตนมะกรูด 2.2. ฮอรโมนจิบเบอเรลลิน 2.3. ปริมาณฮอรโมนที่ควรใชสําหรับพืช 3. วางแผนรายละเอียดการทํางานของสมาชิกแตละคนในกลุม 4. จัดทําเคาโครงโครงงาน เพื่อนําเสนอตอ อาจารยที่ปรึกษา เพื่อนําไปปรับปรุงและแกไข 5. จัดเตรียม พืช อุปกรณ และสารเคมีใหพรอมสําหรับการทดลอง 6. หาและติดตอสถานที่ที่ใชในการทําทดลอง 7. จัดหาซื้ออุปกรณและสารเคมีตางๆที่จําเปนตอการทดลอง 7.1.1. กรดจิบเบอเรลลิก กรุพเคมี จีเอ 1 ขวด 7.1.2. ตนมะกรูด 9 ตน 7.1.3. กระถางตนไมพรอมถาดรอง 3 ชุด 7.1.4. กระบอกฉีด 3 อัน 7.1.5. เข็มฉีดยา 1 กระบอก 7.1.6. ขวดน้ําขนาด 1.5 ลิตร 2 ขวด และ ขวดน้ําขนาด0.75ลิตร 1ขวด 7.1.7. พลั่ว
  • 25. 7.1.8. ดิน 8. ขั้นตอนกระบวนการทําการทดลอง 8.1. ตอนที่ 1 การจัดเตรียมอุปกรณและตัวแปรตางๆใหพรอมกับการทดลอง 8.1.1. เตรียมชุดกระถางไว 3 ชุด ทําการใสตนมะกรูดลงในชุดกระถาง ชุดละ3ตน และใสดินใน ปริมาณที่เทากัน 8.1.2. จัดเตรียมสารละลายฮอรโมน โดยการผสมที่กําหนดไว ลงในขวดน้ําขนาด 1.5ลิตร เขยาใหเขา กัน แลวจึงบรรจุลงในกระบอกฉีดทั้ง 3 อัน 8.1.3. นําชุดกระถางทั้ง 3ชุดและกระบอกฉีดทั้ง 3 อัน มาติดปายlabel ใหเรียบรอย 8.1.4. นําชุดกระถางและกระบอกฉีดไปไวในที่ที่กําหนด (บริเวณตึกศิลปะ) 8.2. ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบความสูงและการเปลี่ยนแปลงของความสูงในแตละชุดกระถาง 8.2.1. นําไมบรรทัดขนาด 30 เซนติเมตร มาวัดความสูงของตนไมจากดินขึ้นไปจนถึงยอดสูงสุด 8.2.2. บันทึกคาที่หาไดจาก 8.2.2และคาเฉลี่ยลงในตารางบันทึกความสูง 8.2.3. รดน้ําใสดินในชุดกระถางในปริมาณที่เทากัน (ไมโดนใบและลําตน) 8.2.4. ทําการพนฮอรโมนใสตนไมในชุดกระถาง โดยการกดกระบอกฉีดเปนจํานวนสองครั้งตอหนึ่งชุด 8.2.5. ทําวิธีขางตนกับชุดกระถางที่เหลือ 9. สรุปผล อภิปราย และเสนอตอ อาจารยที่ปรึกษา เปนระยะ 10. จัดทําเอกสารเปนรูปเลมโครงงานใหสมบูรณ 11. จัดทําสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง 12. นําเสนอโครงงาน สัปดาหที่....ของ เดือนพฤษภาคม สัปดาหที่....ของ เดือนมิถุนายน สัปดาหที่....ของ เดือนกรกฎาคม สัปดาหที่....ของ เดือนสิงหาคม 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 กําหนดหัวขอและวางแผนงาน จัดหาซื้ออุปกรณตางๆที่จําเปน ทําการทดลอง สิ้นสุดการทดลองและสรุปผล กิจกรรม ชวงเวลา
  • 26. บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะหผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง วันที่ บันทึก ความสูงของตนไมแตละตนในหนวยเซนติเมตร (วัดจากดิน) ชุด control ชุด low dose ชุด high dose ตนที่1 ตนที่2 ตนที่3 เฉลี่ย ตนที่1 ตนที่2 ตนที่3 เฉลี่ย ตนที่1 ตนที่2 ตนที่3 เฉลี่ย 21 พ.ค. 2560 21.8 22 23 22.27 23 22 22.5 22.5 23.5 22 22 22.5 25 พ.ค. 2560 22 22.3 23.5 22.6 23.5 23 22.8 23.1 24.2 23.5 23.2 23.63 29 พ.ค. 2560 22 23 24 23 23.5 23 22.9 23.13 24.5 23.7 23.4 23.86 02 มิ.ย. 2560 22.5 23.2 24.5 23.4 23.8 23.6 23 23.47 24.8 23.8 23.7 24.1 06 มิ.ย. 2560 22.6 23.2 24.5 23.43 24 23.8 23.3 23.53 25.2 24.4 24 24.53 10 มิ.ย. 2560 22.8 23.3 24.5 23.53 24.2 24 23.3 23.83 25.6 24.6 24.1 24.76 14 มิ.ย. 2560 22.8 23.5 25 23.77 24.5 24 23.7 24.07 26 24.9 24.3 25.07 18 มิ.ย. 2560 23 23.5 25.4 23.97 24.8 24.2 24 24.33 26.3 25.3 24.5 25.36 22 มิ.ย. 2560 23.2 23.5 25.4 24.03 24.9 24.3 24 24.4 26.8 25.9 24.5 25.73 26 มิ.ย. 2560 23.2 23.7 26 24.3 25 24.5 24.2 24.57 27.1 26.4 24.8 26.1 30 มิ.ย. 2560 23.2 23.7 26 24.3 25 24.5 24.5 24.67 27.5 26.8 25 26.43 04 ก.ค. 2560 23.5 23.7 26 24.4 25 24.8 24.7 24.73 27.8 27.6 25.2 26.86 08 ก.ค. 2560 23.5 23.7 27 24.73 27 25 25 25.67 28.5 27.9 25.4 27.27 12 ก.ค. 2560 23.5 23.8 27 24.76 28.2 25.3 25 26.17 28.7 28.2 25.4 27.43 16 ก.ค. 2560 23.5 23.8 ตาย 23.65 29 25.4 25.8 26.73 29 28.6 25.6 27.73 20 ก.ค. 2560 23.8 23.8 ตาย 23.8 30 25.6 26.4 27.33 29.5 29 25.9 28.13
  • 27. 24 ก.ค. 2560 23.8 24 ตาย 23.9 30.5 26 26.9 27.8 30 29.7 26 28.57 28 ก.ค. 2560 24 24 ตาย 24 30.8 26.4 27 28.06 30.8 30.3 26 29.03 01 ส.ค. 2560 24 24 ตาย 24 31 27 28 28.67 31.5 31 26 29.5 ผลตางความสูง 2.2 2 4 1.73 8 5 5.5 6.17 8 9 4 7
  • 28. กราฟแทงแสดงผลการทดลอง หมายเหตุ : วันที่ 0 ของการทดลอง คือวันที่ 21 พฤษภาคม 2560 วันที่ 24 ของการทดลอง คือวันที่ 14 มิถุนายน 2560 วันที่ 48 ของการทดลอง คือวันที่ 10 กรกฎาคม 2560 วันที่ 72 ของการทดลอง คือวันที่ 1 สิงหาคม 2560 0 5 10 15 20 25 30 35 วันที่ 0 ของการทดลอง วันที่ 24 ของการทดลอง วันที่ 48 ของการทดลอง วันที่ 72 ของการทดลอง control low dose high dose
  • 29. กราฟเสนแสดงผลการทดลอง หมายเหตุ : วันที่ 0 ของการทดลอง คือวันที่ 21 พฤษภาคม 2560 วันที่ 12 ของการทดลอง คือวันที่ 2 มิถุนายน 2560 วันที่ 24 ของการทดลอง คือวันที่ 14 มิถุนายน 2560 วันที่ 36 ของการทดลอง คือวันที่ 26 มิถุนายน 2560 วันที่ 48 ของการทดลอง คือวันที่ 8 กรกฎาคม 2560 วันที่ 60 ของการทดลอง คือวันที่ 20 กรกฎาคม 2560 วันที่ 72 ของการทดลอง คือวันที่ 1 สิงหาคม 2560 0 5 10 15 20 25 30 35 control low dose high dose
  • 30. วิเคราะหผลการทดลอง จากตารางขอมูลและกราฟขางตน จะพบไดวาความสัมพันธระหวางความเขมขนของฮอรโมน กับอัตราการ เปลี่ยนแปลงระดับความสูงของตนมะกรูดเปนไปในทางแปรผันตรง หรือก็คือ ยิ่งใชสารละลายฮอรโมนที่มี ความเขมขนมากเทาใด อัตราการเพิ่มความสูงก็จะเพิ่มมากขึ้นเทานั้น ดังจะสังเกตไดจาก ผลตางระหวางความ สูงของวันแรกละวันสุดทาย โดยมีผลตางดังนี้ ชุดทดลองกับลําดับตน ความตางกันของความสูงลําตน เฉลี่ยในวันแรกกับวันสุดทาย (เซนติเมตรวัดจากดิน) ลําดับที่ได (เรียงจากมากไปนอย) Control 1.73 เซนติเมตร นอยสุด Low dose 6.17 เซนติเมตร ปานกลาง High dose 8 เซนติเมตร มากสุด จากขอมูลในตารางจะไดวาชุดทดลอง high dose มีความตางของความสูงอยูในอันดับตนๆ รองลงมาดวย ชุด ทดลอง low dose และรั้งทายคือชุดทดลอง control ในการทดลองครั้งนี้จึงสรุปไดวา ความสัมพันธระหวาง ความเขมขนของฮอรโมน กับอัตราการเปลี่ยนแปลงระดับความสูงของตนมะกรูดเปนไปในทางแปรผันตรง
  • 31. บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและขอเสนอแนะเพิ่มเติม สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบวาฮอรโมนจิบเบอเรลลินมีผลตอความสูงของลําตนโดยกลุมของพวกเราไดนําตนไมมา 3 ตน และแยกเปน 3 กลุม ดังนี้ 1.กลุมที่ใหฮอรโมนที่มีความเขมขนสูง (high dose) 2.กลุมที่ใหฮอรโมนที่มี ความเขมขนต่ํา (low dose) 3. กลุมที่ไมมีการใหฮอรโมน (control) โดยหลังจากที่เราไดใหฮอรโมนมาเปน ระยะเวลาหนึ่งแลวเราจึงไดทําการวัดความสูงของตนไมที่เราไดนํามาทดลองแลวจึงพบวาตนไมที่ไดรับฮอรโมน แบบมีความเขมขนสูงมีลักษณะ สูงและผอมกวาตนไมที่ไดรับฮอรโมนที่มีความเขมขนต่ําและตนไมที่ไมไดรับ ฮอรโมนเลย การที่เราพบความแตกตางระหวางตนไมทั้ง 3 แบบนั่นก็เปนเพราะเราไดใชฮอรโมนที่มีความ เขมขนแตกตางกันนั่นเองโดยไดกลาวไปขางตนแลววามีการใสฮอรโมนแบบความเขมขนสูง ฮอรโมนแบบความ เขมขนต่ํา และไมใสฮอรโมนใหแกตนไมเลย ซึ่งองคประกอบอื่นที่อาจทําใหเกิดความแตกตางอีกมีนอยมาก หรือแทบจะไมมีเลยนั่นก็เปนเพราะพวกเราไดใหปริมาณของฮอรโมนในแตละตนในปริมาณที่เทากัน เราไดทํา การรดน้ําตนไมในแตละตนในปริมาณที่เทากัน และเราไดนําไปปลูกไวบริเวณเดียวกันจึงทําใหมีองคประกอบ อื่นนอกจากฮอรโมนที่จะสามารถทําใหเกิดความแตกตางระหวางตนไมทั้งสามชนิดนอยมาก ซึ่งผลการทดลอง นี้ไดสอดคลองกับการศึกษาของนักวิทยาศาสตรในป พ.ศ. 2469 ซึ่งเปนชาวญี่ปุนมีชื่อวา Eiichi Kurosawa ได ศึกษาเกี่ยวกับโรค Bakanae ในตนขาวซึ่งตนขาวที่เปนโรคนี้จะมีลักษณะสูงและผอม โดยนักวิทยาศาสตรทาน นี้ไดคนพบวาการที่ตนขาวมีลักษณะผอมและสูงเชนนี้เกิดจาก เชื้อรา Gibberella fujikuroi ตอมาในป พ.ศ. 2478 ไดมีการสกัดเชื้อราชนิดนี้โดย Teijiro Yabuta เมื่อหลังจากการสกัดแลวก็ไดนําไปทดลองกับพืชชนิด อื่นๆ พบวามีลักษณะเดียวกันกับตนขาวคือมีลักษณะผอม สูงนั่นเอง สารที่ไดจากการสกัดเชื้อรา Gibberella fujikuroi นั้นก็คือฮอรโมนจิบเบอเรลลินที่กลุมของพวกเราไดใชนั่นเอง แตทุกวันนี้ฮอรโมนชนิดนี้มีมากถึง 126 ชนิดโดยสามารถสกัดไดจาก พืช รา และ แบคทีเรียนั่นเอง ขอเสนอแนะเพิ่มเติม จากการทดลองทางกลุมของพวกเราพบวาเราควรนําตนไมไวในที่ๆสามารถกันฝนไดเนื่องจากตนไมของเรายังมี อายุไมมากนักจึงอาจจะหักหรือตายไดงายถาหากเจอลมหรือพายุที่แรงเพราะฉะนั้นเราควรที่จะนําตนไมไปไว ในที่ๆสามารถกันฝนไดในระดับหนึ่งแตก็ไมควรไวในรมจนเกินไปเพราะแสงแดดอาจจะไมพอสําหรับตนไมและ จะเปนอุปสรรคตอการสังเคราะหแสงได เราควรหมั่นไปดูตนไมของเราเพื่อสังเกต การเปลี่ยนแปลงของ ตนไมเราไมวาจะเปนการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีหรือไมดีเพราะถาเกิดปญหาขึ้น เราจะไดแกปญหาได ทันทวงทีนั่นเอง
  • 33.
  • 34. รูปแสดง : การตรวจเช็คขวดใสฮอรโมน รูปแสดง : การตรวจเช็คสภาพตนไมและกระถาง รูปแสดง : การตรวจเช็คกระบอกฉีดฮอรโมน
  • 35. รูปแสดง : การตรวจเช็คสภาพตนไมและกระถาง รูปแสดง : การเตรียมสารละลาย รูปแสดง : กรดจิบเบอเรลลิก
  • 36. รูปแสดง : ตัวอยางชุดกระถาง รูปแสดง : ดิน รูปแสดง : กระบอกฉีด