SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
Download to read offline
โครงงานวิทยาศาสตร.ประเภททดลอง
เรื่องการศึกษาเปรียบเทียบการย>อยสลายโฟม polystylene ดIวยสาร D-limonene ที่สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆ
อาจารย&ที่ปรึกษาโครงงาน
นางทิพย.อาภา ศรีวรางกูล
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ.
สาขาชีววิทยา กลุ>มสาระการเรียนรูIวิทยาศาสตร.
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ผู5จัดทำ
นายษมานันท. มิ่งมาลัยรักษ. เลขที่ 35
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป[ที่ 5 หIอง 651
สายการเรียนวิทยาศาสตร.- คณิตศาสตร.
โครงงานนี้เป;นส=วนหนึ่งของโครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร&
ปIการศึกษา 2562 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย&ที่ปรึกษาพิเศษ
ผศ.ดร.สีหนาท ประสงค.สุข
อาจารย.ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร. คณะวิทยาศาสตร.
จุฬาลงกรณ.มหาวิทยาลัย
บทที่ 1 บทนำ
เนื่องจากปeญหาที่พบเกี่ยวกับโฟมนั้นไดIแก>การกำจัดขยะมูลฝอยที่เกิดจากโฟมเหลือใชI ซึ่งโฟมนั้นตIองใชIเวลาย>อย
สลายถึง 400 ป[ และใชIพื้นที่ในการฝeงกลบมากกว>าขยะมูลฝอยประเภทเศษอาหารประมาณ 3 เท>า นอกจากนี้
ขยะโฟมมีปริมาตรสูงเมื่อเทียบกับน้ำหนักและมีความทนต>อแรงอัด หากใชIวิธีเผาทำลายก็จะก>อใหIเกิดมลพิษ รวมทั้ง
สาร CFC จากโฟมก็จะลอยขึ้นไปยังชั้นบรรยากาศ ทำลายชั้นโอโซนเปqนสาเหตุของภาวะโลกรIอนอีกดIวย
1.1 ที่มาและความสำคัญ
รูปที่ 1.1 กราฟแสดงปริมาณสาร CFC และกrาซที่ทำใหIเกิดภาวะโลกรIอน
ที่มา : https://sites.google.com/site/ozoneglobalwarming/gas
รูปที่ 1.2 รูปปริมาณโฟม
ที่มา : https://www.facebook.com/pages/category/Environmental-Service
การรีไซเคิลโฟม PS ที่จัดเก็บจากสาธารณะนั้น ยังมีไม>มากเท>าที่ควรเนื่องจากประชาชนทั่วไปยังขาดความรูI
ความเขIาใจที่ถูกตIองเกี่ยวกับโฟม PS นอกจากนั้นกระบวนการจัดเก็บโฟม EPS ซึ่งมีขนาดใหญ>แต>น้ำหนักเบาและ
กินพื้นที่ในการจัดเก็บมาก ทำใหIตIนทุนของการขนส>งสูงกว>าและมีระยะเวลาในการย>อยสลายที่มากกว>าพลาสติก
ประเภทอื่นและสูงกว>าขยะรีไซเคิลประเภทกระดาษและโลหะมาก
1.1 ที่มาและความสำคัญ
รูปที่ 1.3 แสดงระยะเวลาที่ใชIในการกำจัดโฟมและขยะชนิดอื่นๆ
ที่มา :https://pantip.com/topic/31726091
คณะผูIรับผิดชอบโครงงานการย>อยสลายโฟมของ
สาร D-limonene จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของ
สาร D-limonene ที่มีต>อซึ่งมีคุณสมบัติในการละลาย
โฟมพอลิสไตรีนไดIเช>นเดียวกับตัวทำละลายอินทรีย.เช>น
โทลูอีนและอื่นๆ โดยลิโมนีนสามารถลดปริมาตรของโฟ
มลงไดIถึง 1/50-100 เท>า เปลือกสIมที่นำมาสกัดน้ำมัน
ไดIมาจากของเหลือจากอุตสาหกรรมผลิตน้ำผลไมI
นอกจากการเปqนการเพิ่มมูลค>าแก>ขยะแลIวยังมีกลิ่น
หอม ไม>เปqนอันตรายต>อร>างกายเหมือนตัวทำละลาย
อินทรีย.อื่นๆ และมีจุดติดไฟสูงเมื่อเทียบกับตัวทำ
ละลายอินทรีย.อื่นๆ ที่มีกำเนิดจากน้ำมันดิบ ทำใหIมี
ความปลอดภัยมากกว>า
1.1 ที่มาและความสำคัญ
รูปที่ 1.4 แสดงระยะเวลาที่ใชIในการกำจัดโฟมและขยะชนิดอื่นๆ
ที่มา :https://mgronline.com/infographic/detail/9580000011858
1. เพื่อศึกษาวิธีการสกัดสาร D-limonene ที่สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆ ไดIแก> สIมเขียวหวาน สIมโอ มะนาว มะกรูด
2. เพื่อศึกษาความสามารถในการย>อยสลายโฟม polystylene ดIวยสาร D-limonene ที่สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆ
ไดIแก> สIมเขียวหวาน สIมโอ มะกรูด มะนาว
3. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพความเขIมขIน สายพันธุ.และใชIเทียบกับตัวทำละลายอินทรีย.อื่นๆอีก 3 ชนิดคือโทลูอีน อะซีโตน และได
คลอโรมีเทน
1.2 วัตถุประสงค&
1.3 ขอบเขตการศึกษา
1. ศึกษาสมบัติของสาร D-limonene ที่สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆไดIแก> สIมเขียวหวาน สIมโอ มะนาว
มะกรูด และสารอินทรีย.อื่นๆอีก 3 ชนิดคือโทลูอีน อะซีโตน และไดคลอโรมีเทน
2. ศึกษาความสามารถในการย>อยสลายโฟม polystylene ดIวยสาร D-limonene ที่สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.
ต>างๆไดIแก> สIมเขียวหวาน สIมโอ มะนาว มะกรูด
3. ศึกษาประสิทธิภาพความเขIมขIน สายพันธุ.และใชIเทียบกับตัวทำละลายอินทรีย.อื่นๆอีก 3 ชนิดคือโทลูอีน อะซีโตน และได
คลอโรมีเทน
ตอนที่ 1 ศึกษาสายพันธุ&ที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืชตระกูล
ส5มสายพันธุ&ต=างๆ
ถIาสาร D-limonene ที่สกัดจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างกันมีผลต>อการย>อยสลายโฟม polystylene ที่ต>างกันแลIว
ดังนั้นความยาวของโฟมหลังการทดลองเปลี่ยนแปลงต>างกัน
ตอนที่ 2 ศึกษาความเข5มข5นที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืช
ตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆ
ถIาสาร D-limonene จากเปลือกสIมเขียวหวานที่มีความเขIมขIนต>างกันมีผลต>อการย>อยสลายโฟม polystylene ที่ต>างกันแลIว
ดังนั้นความยาวของโฟมหลังการทดลองเปลี่ยนแปลงต>างกัน
ตอนที่ 3 ศึกษาความสามารถในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืชตระกูลส5ม
สายพันธุ&ต=างๆและตัวทำละลายอินทรีย&อื่นๆอีก 3 ชนิดคือโทลูอีน อะซีโตน และไดคลอโรมีเทน
ถIาสาร D-limonene มีผลต>อการย>อยสลายโฟม polystylene เช>นเดียวกับตัวทำละลายอินทรีย.อื่นๆอีก 3 ชนิดคือโทลูอีน
อะซีโตน และไดคลอโรมีเทนแลIว จะทำใหIความยาวของโฟมที่ไดIหลังการทดลองเปลี่ยนแปลงต>างกัน
1.4 สมมติฐานโครงงาน
1.5 ตัวแปรที่เกี่ยวข5อง
ตอนที่ 1 ศึกษาสารพันธุ&ที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืชตระกูล
ส5มสายพันธุ&ต=างๆได5แก= ส5มเขียวหวาน ส5มโอ มะนาว มะกรูด
ตัวแปรตIน : สาร D-limonene จากเปลือกพืชตระกูลสIมทั้ง 4 ชนิดคือ สIมเขียวหวาน สIมโอ มะกรูด มะนาว
ตัวแปรตาม : ความยาวและน้ำหนักของโฟมที่เปลี่ยนแปลงไป
ตัวแปรควบคุม : ความยาวของโฟมตอนเริ่มตIน, สถานที่ทดลอง, ระยะเวลา, ความเขIมขIนของสารทั้ง 4 ชนิด
ตอนที่ 2 ศึกษาความเข5มข5นที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืช
ตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆได5แก= ส5มเขียวหวาน ส5มโอ มะนาว มะกรูด
ตัวแปรตIน : สาร D-limonene จากการทดลองในตอนที่ 1 ที่ความเขIมขIน 5%w/v 10%w/v 15%w/v 20%w/v
ตัวแปรตาม : ความยาวและน้ำหนักของโฟมที่เปลี่ยนแปลงไป
ตัวแปรควบคุม : ความยาวของโฟมตอนเริ่มตIน, สถานที่ทดลอง, ระยะเวลา
1. เพิ่มวิธีในการกำจัดโฟมโดยที่ไม>เปqนอันตรายต>อสิ่งแวดลIอม
2. สามารถนำเปลือกสIมมาประยุกต.ใชIเพื่อใหIเกิดประโยชน.ไดIโดยไม>เหลือทิ้ง
3. ช>วยลดตIนทุนในการกำจัดโฟม polystylene
1.5 ตัวแปรที่เกี่ยวข5อง
ตอนที่ 3 ศึกษาความสามารถในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืชตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆ
และตัวทำละลายอินทรีย&อื่นๆอีก 3 ชนิดคือโทลูอีน อะซีโตน และไดคลอโรมีเทน
ตัวแปรตIน : สาร D-limonene ที่สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมที่ไดIจากตอนที่ 1 และ 2 , โทลูอีน, อะซีโตนและไดคลอโรมีเทน
ตัวแปรตาม : ปริมาตรและน้ำหนักของโฟมที่เปลี่ยนแปลงไป
ตัวแปรควบคุม : ความยาวและน้ำหนักของโฟมตอนเริ่มตIน, สถานที่ทดลอง, ระยะเวลา, ความเขIมขIนของสารทั้ง 4 ชนิด, สาร D-limonene
จากเปลือกพืชตระกูลสIมชนิดเดียวกัน
1.6 ประโยชน&ที่คาดว=าจะได5รับ
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข5อง
2.1 เอกสารที่เกี่ยวข5อง
2.1.1. โฟม polystylene
โพลีสไตรีน (Polystyrene, PS) เปqนพลาสติกที่ผลิตขึ้นมาจากสไตรีนโมโนเมอร. ซึ่งเปqนสารไฮโดรคาร.บอนที่ไดIจากป•โตรเลียมถูกผลิตออกขายครั้งแรก
ในช>วงป[ 1930 - 1939 ช>วงแรกสไตรีนที่ผลิตขึ้นมาถูกนำไปใชIในสงครามโลกครั้งที่ 2 เปqนหลัก หลังจากสงครามจบลงจึงเปลี่ยนมาผลิตเปqนพลาสติกโพ
ลีสไตรีนออกขายแทน ในการผลิตโพลีสไตรีนยังมีวัตถุดิบอื่น ๆ ที่ใชIร>วมดIวยไดIแก> เบนซีน เอทิลีน และบิวทาไดอีน
โพลีสไตรีนเปqนพลาสติกชนิดเทอร.โมพลาสติกคือหลอมเปqนของเหลวไดIโดยที่อุณหภูมิหIองจะอยู>ในสถานะของแข็ง แต>จะหลอมละลายเมื่อทำใหIรIอน
และแข็งตัวเมื่อเย็นลง โพลีสไตรีนแข็งที่บริสุทธิ์จะไม>มีสี ใส แต>สามารถทำเปqนสีต>างๆไดIและยืดหยุ>นไดIจำกัด
โพลีสไตรีนที่ใชIกันอยู>ทั่วไปส>วนใหญ>เปqนชนิดที่เรียกว>า expanded polystyrene (EPS) เปqนชนิดที่ไดIจากการผสมโพลีสไตรีนรIอยละ 90-95 กับสาร
ทำใหIขยายตัว (ที่ใชIกันมากคือเพนเทนหรือคาร.บอนไดออกไซด. เมื่อก>อนใชI ซีเอฟซี ซึ่งเปqนสารทำลายชั้นโอโซน) รIอยละ 5-10 พลาสติกที่เปqนของแข็ง
ถูกทำใหIเปqนโฟมโดยการใชIความรIอน (มักเปqนไอน้ำ) โพลีสไตรีนอีกชนิดหนึ่งคือ Extruded polystyrene (XPS) มีชื่อทางการคIาที่แพร>หลายคือ
Styrofoam เปqนชนิดที่มีการเติมอากาศไวIในช>องว>างตามเนื้อโฟมทำใหIมีค>าการนำความรIอนต่ำ ใชIในงานก>อสรIาง และใชIเปqนฉนวนกันความรIอนใน
อาคาร และยังมีชนิดที่เปqนแผ>นเรียกว>า Polystyrene Paper Foam (PSP) ใชIเปqนภาชนะบรรจุอาหาร เช>นกล>องหรือถาดใส>อาหาร
รูปที่ 2.1 โฟม polystylene
ที่มา :https://www.isowall.co.za/a-
brief-history-of-polystyrene/
สารพิษที่ปลดปล=อยออกมาในระหว=างการผลิตโพลีสไตรีนได5แก=
1. เบนซีน (เปqนสารก>อมะเร็ง)
2. สไตรีนโมโนเมอร. (เปqนสารที่สงสัยว>าก>อใหIเกิดมะเร็ง)
3. 1,3-บิวทาไดอีน (เปqนสารที่สงสัยว>าก>อใหIเกิดมะเร็ง)
4. คาร.บอนเตตระคลอไรด. ทำใหIเกิดมะเร็งในสัตว.ทดลองและสงสัยว>าก>อใหIเกิดมะเร็งในคน)
5. โครเมี่ยม (6) ออกไซด. ก>อใหIเกิดมะเร็งและการกลายพันธุ.ในสัตว.ทดลอง
2.1.1. โฟม polystylene
วัสดุที่ทำจากโพลีสไตรีน
1. แกIวโฟมที่ใชIแลIวทิ้ง ที่คIนพลาสติก จานหรือถาดพลาสติกใส>อาหาร
2. โฟมที่ใชIเปqนบรรจุภัณฑ.ต>าง ๆ เช>นบรรจุภัณฑ.กันกระแทกสำหรับใส>ขวดไวน. ผลไมI และคอมพิวเตอร. เปqนตIน
3. วัสดุช>วยพยุงใหIลอยน้ำ
4. แผ>นฉนวนกันความรIอนในอาคาร
5. อื่น ๆ เช>น ไมIบรรทัด ไมIแขวนเสื้อ มIวนวีดีโอ ตลับเทป เปqนตIน
2.1.2. สาร D-limonene
สรรพคุณของลิโมนีน
ลิโมนีนเปqนสารเคมีที่พบไดIในเปลือกผลไมIตระกูลสIมและในพืชชนิดอื่น ๆ และใชIทำยา ลิโมนีนใชIเพื่อช>วยลดน้ำหนัก
ป”องกันมะเร็ง รักษาโรคมะเร็งและรักษาโรคหลอดลมอักเสบ ลิโมนีนนำมาใชIเปqนสารรสชาติในอาหาร เครื่องดื่มและหมากฝรั่ง
ในงานเภสัชกรรม ลิโมนีนนำมาใชIเพื่อช>วยใหIยาทาหรือครีมต>าง ๆ ซึมเขIาผิวไดIดี ในดIานอุตสาหกรรม ลิโมนีนใชIเปqนกลิ่นหอม
ตัวทำละลาย และเปqนส>วนประกอบในเจลลIางมือแบบไม>ตIองใชIน้ำ
กลไกการออกฤทธิ์
งานวิจัยเกี่ยวกับกลไกการออกฤทธิ์ของลิโมนีน
ยังมีไม>พอ ควรปรึกษาแพทย.เพื่อขอขIอมูลเพิ่มเติม
อย>างไรก็ตามเปqนที่ทราบกันว>าลิโมนีนอาจช>วยป”องกัน
การก>อตัวของสารก>อมะเร็งและฆ>าเซลล.มะเร็งในทIอง
ทดลองไดI
รูปที่ 2.2 สาร D-limonene ในสIมและสIม
ที่มา :https://www.isowall.co.za/a-brief-history-of-polystyrene/
2.1.3. โทลูอีน
สารโทลูอีน (Toluene) ถือเปqนสารเคมีที่เปqนพิษและจากพรบ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ระบุว>าสารโทลูอีนเปqนสารอันตราย
ชนิดที่ 3 ควบคุมโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม ตIองมีการขึ้นทะเบียนและขออนุญาตนำเขIา สารเคมีชนิดนี้นิยมใชIกันอย>าง
แพร>หลายในโรงงานอุตสาหกรรม โดยส>วนมากจะนำสารโทลูอีนมาใชIเปqนตัวทำละลาย ลักษณะภายนอกของสารจะมองเห็นเปqน
ของเหลวใส มีคุณสมบัติไม>ละลายน้ำ มีกลิ่นคลIายสีทาบIาน หรือทินเนอร. สำหรับคุณสมบัติทางเคมี โทลูอีนมีสูตรทางเคมี
ว>า C6H5CH3 จุดเดือดอยู>ที่ 110.6°C จุดหลอมเหลว -95°C ความหนาแน>น 0.86 g/ml เปqนสารระเหยและติดไฟไดIง>ายที่ความ
ดันบรรยากาศ อุณหภูมิปกติและสามารถติดไฟไดIดIวยตัวเองที่อุณหภูมิ 480 °C
รูปที่ 2.3 Toluene
ที่มา :https://www.siamchemi.com
รูปที่ 2.4 Toluene
ที่มา :https://www.google.com/search?
2.1.3. โทลูอีน
ความเป;นพิษของสารโทลูอีน
1. หากสูดดมไอระเหยเปqนเวลานาน อาจทำใหIเซลล.เม็ดเลือดผิดปกติ และมีผลต>อไขกระดูกและโลหิต และถIาสูดดมในระยะ
สั้น อาจทำใหIเกิดอาการเวียนหัว มึนงง อ>อนเพลีย คลื่นไสI เบื่ออาหาร โดยปริมาณความเขIมขIนต่ำสุดที่เปqนอันตรายต>อระบบ
หายใจคือที่ระดับความเขIมขIน 10-15 ppm และระดับความเขIมต่ำสุดที่เปqนอันตรายต>อระบบสมองส>วนกลาง คือ 50 ppm
และคนที่สูบบุหรี่และเปqนโรคพิษสุราเรื้อรังมีความเสี่ยงต>ออันตรายจากโทลูอีนมากกว>าคนทั่วไป
2. หากสารโทลูอีนสัมผัสถูกผิวหนังจะทำใหIเกิดอาการระคายเคือง และหากถูกเปqนเวลานานๆ ซ้ำที่เดิมจะทำใหIผิวหนังแหIง
อักเสบเพราะสารโทลูอีนจะเขIาไปละลายชั้นไขมันในผิวหนัง
3. ถIาไอระเหยของโทลูอีนเขIาตาควรลIางดIวยน้ำสะอาดใหIมากที่สุด โดยระดับความเขIมขIนของโทลูอีนและระยะเวลาที่ส>งผลต>อ
ดวงตาเปqนดังนี้ ที่ระดับความเขIมขIน 300 ppm ระยเวลา 3-5 นาที และที่ระดับความเขIมขIน 100-150 ppm ระยะเวลา 6-7
นาที
4. หากกลืนกินสารโทลูอีนเขIาไปควรรีบนำส>งโรงพยาบาลอย>างทันที เพราะการกลืนกินโทลูอีนเพียง 60 มิลลิลิตร อาจทำใหI
เสียชีวิตภายในระยะเวลา 30 นาที และสารโทลูอีนที่กินเขIาไปจะเขIาไปทำลายเนื้อเยื่อปอดส>งผลใหIเสียชีวิตในที่สุด
2.1.4. อะซีโตน
อะซิโตน (Acetone) เปqนสารตัวทำละลายอินทรีย.ระเหยง>ายที่ไม>มีกลุ>มฮาโลจีเนตเต็ต ใชIมากในกระบวนการผลิตของ
ภาคอุตสาหกรรมสำหรับใชIเปqนตัวทำละลายสารต>างๆ สามารถผลิตและสกัดไดIจากธรรมชาติและการสังเคราะห.ทางเคมีจาก
ป•โตรเลียม
อะซิโตนถูกคIนพบครั้งแรกโดย Schardinger จากกระบวนการหมักของแบคทีเรียในสภาวะไม>มีออกซิเจน โดยสามารถผลิตไดI
จากแบคทีเรียในกลุ>ม Cl. acetobutylicum และ Cl. beijerinckii ซึ่งวิธีนี้มีตIนทุนค>อนขIางสูง ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ.อะซิโตนส>วนมาก
ที่มีใชIในปeจจุบันจะไดIจากกระบวนการสังเคราะห.จากป•โตรเลียม
ประโยชน&
1. มักใชIเปqนตัวทำละลายในกระบวนการผลิตในภาคอุตสาหกรรม เช>น อุตสาหกรรมเคมี ผลิตยา ผลิตสี หมึกพิมพ. น้ำมันขัด
เงา กาว แลคเกอร. เครื่องสำอาง และอุตสาหกรรมพลาสติก เช>น เรซิน Bisphenol A สำหรับเปqนสารตั้งตIนในการผลิตพลาสติก
หลายชนิด เช>น โพลีคาร.บอเนต โพลียูรีเทน และเรซิน เปqนตIน
2. มักใชIอะซิโตนสำหรับเปqนตัวทำละลายในการเตรียมสารเคมี หรือ ใชIเปqนสารทำละลายสำหรับการสกัดสารอินทรีย.จากพืช
หรือสัตว.
3. ประโยชน.ดIานอื่นๆ ไดIแก> ใชIสำหรับการชะลIาง และเปqนสารไล>น้ำ
2.1.4. อะซีโตน
อันตรายต=อสุขภาพ
1. ระบบหายใจ : การสูดดมหรือหายใจเอาอะซิโตนเขIาสู>ระบบหายใจจะทำใหIเกิดอาการระคายเคืองของเยื่อบุทางเดินหายใจ มี
อาการไอ แน>นหนIาอก เวียนศีรษะ ปวดหัว
2. ทางผิวหนัง : เมื่อมีการสัมผัสทางผิวหนังจะทำใหIชั้นไขมันผิวหนังถูกทำลาย ผิวหนังแดง อักเสบ มีอาการปวดแสบปวดรIอน
3. สัมผัสกับตา : เมื่อมีการสัมผัสกับตาจะทำใหIตาระคายเคือง น้ำตาไหล มีอาการตาแดง และปวดตา
4. การกลืนกิน : การกลืนกินเขIาสู>ระบบทางเดินอาหารจะทำใหIรูIสึกคลื่นไสI อาเจียน วิงเวียนศีรษะ ปวดหัว
รูปที่ 2.5 acetone
ที่มา :https://thai.alibaba.com/product-
detail/acetyl-acetone
รูปที่ 2.6 acetone
ที่มา :https://www.google.com/search?q=อะซีโตน
2.1.5. ไดคลอโรมีเทน
ไดคลอโรมีเทน หรือ เมทิลีนคลอไรด. (Dichloromethane หรือ Methylene chloride) คือ สารประกอบชนิดหนึ่ง มีสูตรเปqน
CH2Cl2 เปqนของเหลวไม>มีสี ระเหยไดIง>าย มีกลิ่นหอม มักใชIเปqนตัวทำละลาย เนื่องจากเปqนที่รูIกันว>าเปqนสารประกอบคลอโร
คาร.บอนที่มีอันตรายนIอยที่สุดชนิดหนึ่ง
การเตรียมไดคลอโรมีเทนสามารถทำไดIเปqนครั้งแรกเมื่อป[ 1840 โดยนักเคมีชาวฝรั่งเศสชื่อว>า อองรี วิกเตอร. เรโญลต. (Henri
Victor Regnault) โดยแยกไดคลอโรมีเทนออกจากของผสมของคลอโรมีเทนกับคลอรีนระหว>างที่ถูกแสงอาทิตย.
การนำไปใช5ประโยชน&
เนื่องจากไดคลอโรมีเทนระเหยไดIง>าย และสามารถละลาย
สารประกอบอินทรีย.ไดIหลายชนิด จึงเปqนตัวทำละลายที่มี
ประโยชน.มากในหลายๆกระบวนการทางเคมี โดยทั่วไปมักใชI
สำหรับลIางสีออกจากภาพวาด ในทางอุตสาหกรรมอาหาร จะใชI
ในการสกัดคาเฟอีนจากกาแฟ และใชIผลิตสารปรุงแต>งกลิ่นหรือรส
รูปที่ 2.7 Dichloromethane
ที่มา :https://thai.alibaba.com/product-detail/dichloromethane-dcm-di-clo-
chemical-formula-ch2cl2-4-fluid-ounces-847694932.html
2.1.5. ไดคลอโรมีเทน
สภาพความเป;นพิษ
แมIว>าไดคลอโรมีเทนจะเปqนสารคลอโรไฮโดรคาร.บอนที่มีความเปqนพิษนIอยที่สุด แต>เนื่องจากมีสมบัติระเหยไดIง>าย จึงเกิดอันตรายจากการ
สูดดมไดI เมื่อร>างกายเผาผลาญไดคลอโรมีเทน จะไดIแกrสคาร.บอนมอนอกไซด.ซึ่งเปqนแกrสพิษ และเมื่อไดคลอโรมีเทนสัมผัสกับผิวหนัง จะทำ
ละลายไขมันบางส>วนบนผิวหนัง ทำใหIเกิดการระคายเคืองหรือแหIงแตก
ไดคลอโรมีเทนยังถือไดIว>าเปqนสารก>อมะเร็ง เนื่องจากผลการทดลองในหIองปฏิบัติการพบว>ามีส>วนทำใหIเกิดมะเร็งที่ปอด ตับ และตับอ>อน
ในสัตว. และยังมีส>วนทำใหIเกิดความผิดปกติทางพันธุกรรม และเปqนพิษต>อทารกหรือตัวอ>อนในครรภ.
ในหลายๆประเทศ ผลิตภัณฑ.ที่มีไดคลอโรมีเทนเปqนส>วนประกอบตIองมีขIอความเตือนถึงอันตรายต>อสุขภาพ
https://oehha.ca.gov/chemicals/methylene-chloride-
dichloromethane
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข5อง
1. งานวิจัยที่เกี่ยวกับสารสกัดจากพืชตระกูลสIมนั้น กิตติกร ฤกษ.มงคลและคณะ (2544) ไดIทำการศึกษาการวิเคราะห.ปริมาณ
สารลิโมนีนที่ไดIจากการสกัดเปลือกสIมเขียวหวานโดยทำการศึกษาปริมาณลิโมนีนที่สกัดไดIจากเปลือกสIมเขียวหวานพันธุ.บางมด
สกัดและตากแหIง โดยวิธีการกลั่นดIวยน้ำ วิธีการกลั่นดIวยไอน้ำและวิธีการสกัดอย>างต>อเนื่องดIวยเครื่องสกัดซอกห.เลต จากนั้นจึง
นำน้ำมันหอมระเหยที่ไดIจากการสกัดไปวิเคราะห.ดIวยวิธีกrาซโครมาโทกราฟ[พบว>าการสกัดเปลือกสIมทั้ง 3 วิธี เมื่อใชIเปลือกสIมสด
จะไดIปริมาณลิโมนีนสูงกว>าเปลือกสIมตากแหIงและการสกัดดIวยไอน้ำใหIประสิทธิภาพสูงสุด
2. ZUOH jin-hua และคณะ (2006) ไดIทำการศึกษาการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากเปลือกของสIมโอ 2 ชนิด และทำการวิเคราะห.
หาองค.ประกอบดIวยเครื่องแกrสโครมาโทกราฟ[-แมสสเปกโตรมิทรีโดยทำการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากเปลือกสIมโอทั้ง 2 ชนิด ดIวย
วิธีการกลั่นดIวยไอน้ำและวิธีการบีบ-กลั่นดIวยไอน้ำจากผลการวิเคราะห.ดIวยเครื่องแกrสโครมาโทกราฟ[-แมสสเปกโตรมิทรีพบว>าใน
น้ำมันหอมระเหยจากเปลือกของสIมโอทั้ง 2 ชนิด จะมีลิโมนีนเปqนองค.ประกอบหลักและพบ nootgatone ซึ่งเปqนสารใหIกลิ่นตัวสำคัญ
ของสIมโอ
3. LAN PHI NGUYEN THI และคณะ (2006) ไดIทำการศึกษาองค.ประกอบในน้ำมันหอมระเหยจากเปลือก Citrus
(Natsudaidai) Hayata ที่สกัดโดยใชIการบีบเย็น โดยวิธีวิเคราะห.ดIวยเครื่องมือพบสารประกอบลิโมนีนมากที่สุด และพบ
สารประกอบ เฮปทิลอะซีเตต, ลิโมนีน ออกไซด., 2, 3 บิวทะไดอีน ซึ่งมีความสำคัญต>อการสังเคราะห.กลิ่น Natsudaidai
4. วาสนา คำกวน และคณะ (2005) ไดIทIาการศึกษาปริมาณลิโมนีนในน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดIจากผิวของพืชสกุลสIมบางชนิด
โดยศึกษาปริมาณลิโมนีนในน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดIจากผิวมะนาวควาย โดยเปรียบเทียบกับผิวของพืชสกุลสIมอีก 2 ชนิด คือ
มะนาวและมะกรูดดIวยวิธีการสกัดดIวยไอน้ำและวิธีการสกัดดIวยเฮกเซนจากผลการวิเคราะห.ปริมาณลิโมนีนในน้ำมันหอมระเหยที่
สกัดไดIดIวยแกrสโคมาโทกราฟ[แมสสเปกโตรมิทรี พบว>าในน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดIจากผิวมะนาวควายมีปริมาณลิโมนีนมากที่สุด
ทั้งการกลั่นดIวยไอน้ำ และการสกัดดIวยตัวทIาละลายเฮกเซน
5. พัน ธนิต ปราบโรค และคณะ (2535) ไดIทำการศึกษา การนำน้ำมันจากเปลือกสIมมาใชIสลายโฟม โดยใชIการสกัด 3 วิธีคือ
วิธีการสกัดดIวยตัวทIาละลาย การกลั่นดIวยไอน้ำ และการคั้นน้ำมันลงบนผิวน้ำ ผลการทดลองพบว>า การสกัดแบบการกลั่นดIวยไอ
น้ำไดIปริมาณน้ำมัน 2.5 ต>อ น้ำหนักเปลือกสIม 20 และวิธีการคั้นสIมลงบนผิวน้ำ ไดIปริมาณน้ำมัน 2.5 ต>อน้ำหนักเปลือกสIม 20
จากนั้นนIามาตรวจสอบประสิทธิภาพในการสลายโฟมพบว>าน้ำมันจากผิวสIมที่สกัดดIวยไอ น้ำและการคั้นน้ำมันลงบนผิวน้ำ
สามารถสลายโฟมไดI ในป[ 1998 Noguchi และคณะ ไดIทIาการศึกษาการนIาสารสกัดลีโมนีนจากเปลือกสIมไปใชIในกระบวนการ
อุตสาหกรรมรีไซเคิล ซึ่งปeจจุบันไดIมีการนIาไปใชIในกระบวนการรีไซเคิลของบริษัท โซนี่ ประเทศญี่ปุ«น
บทที่ 3 ขั้นตอนวิธีการดำเนินการทดลอง
3.1 วัสดุ อุปกรณ& สารเคมี
3.1.1. เปลือกพืชตระกูลสIม 4 ชนิด คือ สIมเขียวหวาน สIมโอ มะกรูด มะนาว ที่เหลือจากการคั้นน้ำผลไมIและประกอบอาหาร จำนวนชนิดละ 5 ลูก
รูปที่ 3.1 รูปแสดงลักษณะผลสIม
ที่มา :https://sites.google.com/site/waeromelahwaedoyee880/topic2
รูปที่ 3.2 รูปแสดงลักษณะผลสIมโอ
ที่มา :https://medthai.com/%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%AD/
รูปที่ 3.3 รูปแสดงลักษณะของมะนาว
ที่มา :https://health.mthai.com/howto/health-care/5726.html
รูปที่ 3.4 รูปแสดงลักษณะของมะกรูด
ที่มา:https://medthai.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B0
%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%94/
3.1.2. น้ำปริมาณ 2 ลิตร
รูปที่ 3.5 รูปแสดงลักษณะของน้ำ
ที่มา https://www.slri.or.th/th/slriresearch
3.1.3.โทลูอีน 1 ขวด
รูปที่ 3.6 รูปแสดงลักษณะของ toluene
ที่มา http://udomwitdelivery.comtoluene-
450-cc-html
รูปที่ 3.7 รูปแสดงลักษณะของฉลาก toluene
ที่มาhttp://tamagozzilla.blogspot.com/2011/08/mo-memoir-wednesday-3-
august-2554.html
3.1.4. อะซีโตน 1 ขวด
รูปที่ 3.8 รูปแสดงลักษณะของ acetone
ที่มา: http://www.vmodtech.com/main/article/behind-
the-scene-ultimate-project-v/all/1/
3.1.5. ไดคลอโรมีเทน 1 ขวด
รูปที่ 3.9 Dichloromethane
ที่มา :http://labvalley.blogspot.com/2014/05/dichloromethane.html
3.1.6. เครื่องปe¬นน้ำผลไมI
1 เครื่อง
รูปที่ 3.10. รูปแสดงเครื่องปe¬นน้ำผลไมI
ที่มา: https://thailandshopy.com/Buy-now-Toshiba-89--1-5-A3-
89-6-A7_2258814822_cheapest.html
3.1.7. เครื่องกลั่นแบบซอกห.เลต 1 อัน
รูปที่ 3.11. รูปแสดง เครื่องกลั่นแบบซอกห.เลต
ที่มา: https://www.alibaba.com/product-detail/Glass-siphon-
tube-soxhlet-extraction-apparatus_60703244637.html
3.1.8. Rotary evaporator
1 อัน
รูปที่ 3.12. รูปแสดง Rotary evaporator
ที่มา: https://www.coleparmer.in/p/cole-parmer-rotary-
evaporator-systems-with-manual-lift-stands/72074
3.1.9. เครื่องชั่งไฟฟ”า 1 เครื่อง
รูปที่ 3.13. รูปแสดง เครื่องชั่งไฟฟ”า
ที่มา: https://www.coleparmer.in/p/cole-parmer-rotary-
evaporator-systems-with-manual-lift-stands/72074
3.1.10. โฟม polystylene
รูปที่ 3.14. รูปแสดงโฟม polystylene
https://packaging.oie.go.th/new/admin_control_new/html-
demo/file_technology/0489273615.pdf
ตอนที่ 1 ศึกษาสารพันธุ&ที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จาก
เปลือกพืชตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆ
3.2. ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน
1.นำเปลือกพืชตระกูลสIมทั้ง 4 ชนิด คือ สIม สIมโอ มะกรูด มะนาวที่เหลือจากการคั้นน้ำผลไมIและประกอบอาหารมาทำการแยกเนื้อและ
เมล็ดออกทิ้ง นำเฉพาะเปลือกไปอบที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส เมื่อแหIงแลIวน้ำไปปe¬นใหIละเอียดดIวยเครื่องปe¬นน้ำผลไมI จากนั้นนำไปชั่ง
น้ำหนักประมาณ 50-60 กรัมบรรจุลงในถุงผIาดิบ นำไปสกัดดIวยเฮกเซนโดยใชIเครื่องกลั่นแบบซอกห.เลต กลั่นจนเฮกเซนที่กลั่นแลIวมีสีจางลง
จนเกือบใส นำสารละลายที่ไดIไประเหยเฮกเซนออกใหIหมดดIวยเครื่องระเหยแบบสูญญากาศ
2. นำน้ำมันหอมระเหยจากเปลือกพืชตระกูลสIมทั้ง 4 ชนิด คือ สIม สIมโอ มะกรูด มะนาวเจือจางดIวยเฮกเซน ในอัตราส>วน 10%w/v ใส>ลง
ในบีกเกอร. บีกเกอร.ละ 200 ลูกบาศก.เซนติเมตร
3. นำโฟมพอลิสไตรีนที่มีขนาด 2x2x10 ลูกบาศก.เซนติเมตร ใส>ลงไปในบีกเกอร.
4.วัดความยาวทุกๆ 6 ชั่วโมงเปqนเวลา 2 วัน
5.ทำการทดลองนี้ซ้ำ 3 ครั้งเพื่อหาค>าเฉลี่ย
3.2. ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน
ตอนที่ 2 ศึกษาความเข5มข5นที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วย
สาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืชตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆ
1. นำเปลือกสIมที่เหลือจากการคั้นน้ำผลไมIและประกอบอาหารมาทำการแยกเนื้อและเมล็ดออกทิ้ง นำเฉพาะเปลือกไปอบที่อุณหภูมิ 55
องศาเซลเซียส เมื่อแหIงแลIวน้ำไปปe¬นใหIละเอียดดIวยเครื่องปe¬นน้ำผลไมI จากนั้นนIาไปชั่งน้ำหนักประมาณ 50-60 กรัมบรรจุลงในถุงผIาดิบ
นำไปสกัดดIวยเฮกเซนโดยใชIเครื่องกลั่นแบบซอกห.เลต กลั่นจนเฮกเซนที่กลั่นแลIวมีสีจางลงจนเกือบใส นำสารละลายที่ไดIไประเหยเฮกเซน
ออกใหIหมดดIวยเครื่องระเหยแบบสูญญากาศ
2. นำน้ำมันหอมระเหยจากเปลือกสIมเขียวหวานเจือจางดIวยเฮกเซนในอัตราส>วน 5%w/v 10%w/v 15%w/v 20%w/v ใส>ลงในบีกเกอร.
บีกเกอร.ละ 200 ลูกบาศก.เซนติเมตร
3. นำโฟมพอลิสไตรีนที่มีขนาด 2x2x10 ลูกบาศก.เซนติเมตร ใส>ลงไปในบีกเกอร.
4.วัดความยาวทุกๆ 6 ชั่วโมงเปqนเวลา 2 วัน
5.ทำการทดลองนี้ซ้ำ 3 ครั้งเพื่อหาค>าเฉลี่ย
3.2. ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน
ตอนที่ 3 ศึกษาความสามารถในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืช
ตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆ ที่ดีที่สุดที่ได5จากการทดลองในตอนที่ 1 และ 2 กับตัวทำละลายอินทรีย&อื่นๆอีก 3 ชนิด
คือโทลูอีน อะซีโตน และไดคลอโรมีเทน
1. นำเปลือกสIมที่เหลือจากการคั้นน้ำผลไมIและประกอบอาหารมาทำการแยกเนื้อและเมล็ดออกทิ้ง นำเฉพาะเปลือกไปอบที่อุณหภูมิ 55
องศาเซลเซียส เมื่อแหIงแลIวน้ำไปปe¬นใหIละเอียดดIวยเครื่องปe¬นน้ำผลไมI จากนั้นนำไปชั่งน้ำหนักประมาณ 50-60 กรัมบรรจุลงในถุงผIาดิบ
นำไปสกัดดIวยเฮกเซนโดยใชIเครื่องกลั่นแบบซอกห.เลต กลั่นจนเฮกเซนที่กลั่นแลIวมีสีจางลงจนเกือบใส นำสารละลายที่ไดIไประเหยเฮกเซน
ออกใหIหมดดIวยเครื่องระเหยแบบสูญญากาศ
2. นำน้ำมันหอมระเหยจากเปลือกพืชตระกูลสIมที่ดีที่สุดทั้งสายพันธ.และความเขIมขIนจากการทดลองที่ 1 และ 2 กับสารอินทรีย.อื่นๆอีก 3
ชนิดคือโทลูอีน อะซีโตนและไดคลอโรมีเทนที่ถูกปรับความเขIมขIนใหIเท>ากับความเขIมขIนของน้ำมันหอมระเหยใส>ลงในบีกเกอร. บีกเกอร.ละ
200 ลูกบาศก.เซนติเมตร
3. นำโฟมพอลิสไตรีนที่มีขนาด 2x2x10 ลูกบาศก.เซนติเมตร ใส>ลงไปในบีกเกอร.
4.วัดความยาวและชั่งน้ำหนักทุกๆ 6 ชั่วโมงเปqนเวลา 2 วัน
5.ทำการทดลองนี้ซ้ำ 3 ครั้งเพื่อหาค>าเฉลี่ย
ปI 2562
พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤษจิกายน
กำหนดหัวขIอโครงงาน
/
เขียนเคIาโครงโครงงาน
/ /
เตรียมอุปกรณ.ที่ใชIใน
การทดลอง
/ /
ลงมือทำโครงงานตอน
ที่ 1
/ /
ลงมือทำโครงงานตอน
ที่ 2
/ /
ลงมือทำโครงงานตอน
ที่ 3
/ /
การเขียนรายงานผล
/ / /
การนำเสนอโครงงาน
/ /
ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงแผนปฏิบัติงาน
บทที่ 4 ผลการศึกษา
ตอนที่ 1 ศึกษาสารพันธุ&ที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จาก
เปลือกพืชตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆ
ครั&งที* + ครั&งที* , ครั&งที* - ค่าเฉลี*ย
ส้ม
มะกรูด
มะนาว
ส้มโอ
2.8 cm
4.2 cm
4.7 cm 4.8 cm
3.0 cm
3.1 cm
5.1 cm
3.1 cm
3.66 cm
4.86 cm
3.9 cm
3.1 cm
3.6 cm
3.7 cm 3.56 cm
2.96 cm
ตาราง 4.1 ตารางแสดงความยาวของโฟม polystylene ที่เหลือจากการแช>ใน d-limonene ที่
สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆ
กราฟที่ 4.1 กราฟแสดงความยาวของโฟม polystylene ที่เหลือจากการแช>ใน d-limonene ที่
สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆ ทุกๆ 6 ชั่วโมง
5% w/v
20% w/v
15% w/v
10% w/v
ครั&งที* + ครั&งที* , ครั&งที* - ค่าเฉลี*ย
7.1 cm
8.2 cm
8.8 cm8.8 cm
7.5 cm
7.9 cm
9.1 cm
6.7 cm
8.03 cm
8.9 cm
5.5 cm
7.4 cm
8.0 cm
6.5 cm 6.23 cm
7.33 cm
ตาราง 4.2 ตารางแสดงความยาวของโฟม polystylene ที่เหลือจากการแช>ใน d-limonene ที่
สกัดไดIจากเปลือกสIมที่มีความเขIมขIนต>างกัน
ตอนที่ 2 ศึกษาความเข5มข5นที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วย
สาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกส5มเขียวหวาน
หมายเหตุ ค>าความเขIมขIนคิดโดยใหIสาร d-limonene ที่สกัดออกมาตอนแรกเปqน 100% w/w
กราฟที่ 4.2 ตารางแสดงความยาวของโฟม polystylene ที่เหลือจากการแช>ใน d-limonene ที่
สกัดไดIจากเปลือกสIมเขียวหวานที่มีความเขIมขIนต>างกัน ทุกๆ 6 ชั่วโมง
ตาราง 4.3 ตารางแสดงความยาวของโฟม polystylene ที่เหลือจากการแช>ใน d-limonene ที่
สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆ
ครั&งที* + ครั&งที* , ครั&งที* - ค่าเฉลี*ย
โทลูอีน
อะซีโตน
ไดคลอโรมีเทน
มะนาวที*ความเข้มข้น 20% 3.4 cm 4.1 cm 3.5 cm 3.66 cm
0.9 cm
5.4 cm
1.1 cm
5.3 cm5.6 cm 5.43 cm
1.3 cm 1.1 cm
0.7 cm0.5 cm1.2 cm 0.8 cm
ตอนที่ 3 ศึกษาความสามารถในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืช
ตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆ ที่ดีที่สุดที่ได5จากการทดลองในตอนที่ 1 และ 2 กับตัวทำละลายอินทรีย&อื่นๆอีก 3 ชนิด
คือโทลูอีน อะซีโตน และไดคลอโรมีเทน
กราฟที่ 4.3 ตารางแสดงความยาวของโฟม polystylene ที่เหลือจากการแช>ใน d-limonene ที่สกัดไดIจากเปลือกมะนาวที่
ความเขIมขIน 20%w/v กับตัวทำละลายอินทรีย.คืออะซิโตน โทลูอีนและไดคลอโรมีเทนที่มีความเขIมขIนต>างกัน ทุกๆ 6 ชั่วโมง
บทที่ 5 อภิปรายและสรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลอง
จากการศึกษาเปลือกพืชตระกูลส้มทั&ง O ชนิด คือ ส้ม ส้มโอ มะกรูด มะนาว พบว่าในการ กลั*นด้วยเฮกเซน
เมื*อนํานํ&ามันหอมระเหยที*ได้จากการสกัดด้วยไอนํ&าไปรีไซเคิลโฟมพบว่า น้ &ามันหอมระเหย จากเปลือก
มะนาวสามารถรีไซเคิลโฟมได้มากกว่า
ข5อเสนอแนะในการทำวิจัยในอนาคต
+.การหาพืชชนิดอื*นๆที*มีองค์ประกอบของลิโมนีน หรือสารที*มีคุณสมบัติใกล้เคียง
,.การนํากากเปลือกผลไม้ที*สกัดนํ&ามันแล้วไปใช้ประโยชน์ต่อ
บรรณานุกรม
หน>วยขIอสนเทศวัตถุอันตรายและความปลอดภัย ศูนย.ความเปqนเลิศแห>งชาติดIานการจัดการสิ่งแวดลIอมและ
ของเสียอันตราย.2551. “โพริสไตรีน”. [ระบบออนไลน.]. แหล>งที่มา http://www.chemtrack.org/news-
detail.asp?tid=4&id=11 (3 มิถุนายน 2562)
helloคุณหมอ.2560. “D-limonene”. [ระบบออนไลน.]. แหล>งที่มา
https://hellokhunmor.com/herbal/%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%
B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%99-limonene/
siamchemi.com.2557. “โทลูอีน”. [ระบบออนไลน.]. แหล>งที่มา
https://www.siamchemi.com/%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%
AD%E0%B8%B5%E0%B8%99/
siamchemi.com.2557. “อะซิโตน”. [ระบบออนไลน.]. แหล>งที่มา
https://www.siamchemi.com/%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B9%
82%E0%B8%95%E0%B8%99/
ภาคผนวก
ภาพแสดงการสกัดสาร D-limonene จากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆ
Pptgst uprojectplastic62

More Related Content

What's hot

4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยThana Chirapiwat
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศKittiya GenEnjoy
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นadriamycin
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาPiyarerk Bunkoson
 
โครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยาโครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยาCheve Jirattiwat
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้Ploykarn Lamdual
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพWinthai Booloo
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 

What's hot (20)

4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็น
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
 
โครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยาโครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยา
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 

Similar to Pptgst uprojectplastic62

Protein
ProteinProtein
Proteinsailom
 
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaka619
 
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ทำความรู้จักกับสารพันธุกรรม By..Ms. Napasorn Juiin
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ทำความรู้จักกับสารพันธุกรรม By..Ms. Napasorn Juiinหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ทำความรู้จักกับสารพันธุกรรม By..Ms. Napasorn Juiin
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ทำความรู้จักกับสารพันธุกรรม By..Ms. Napasorn JuiinNapasorn Juiin
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชันkruoyl ppk
 
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106Kinyokung
 
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106Kinyokung
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 

Similar to Pptgst uprojectplastic62 (20)

M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
M6 125 60_2
M6 125 60_2M6 125 60_2
M6 125 60_2
 
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ทำความรู้จักกับสารพันธุกรรม By..Ms. Napasorn Juiin
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ทำความรู้จักกับสารพันธุกรรม By..Ms. Napasorn Juiinหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ทำความรู้จักกับสารพันธุกรรม By..Ms. Napasorn Juiin
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ทำความรู้จักกับสารพันธุกรรม By..Ms. Napasorn Juiin
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
M6 125 60_4
M6 125 60_4M6 125 60_4
M6 125 60_4
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
 
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
 
Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60
 
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Pptgst uprojectplastic62

  • 1. โครงงานวิทยาศาสตร.ประเภททดลอง เรื่องการศึกษาเปรียบเทียบการย>อยสลายโฟม polystylene ดIวยสาร D-limonene ที่สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆ อาจารย&ที่ปรึกษาโครงงาน นางทิพย.อาภา ศรีวรางกูล นายวิชัย ลิขิตพรรักษ. สาขาชีววิทยา กลุ>มสาระการเรียนรูIวิทยาศาสตร. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ผู5จัดทำ นายษมานันท. มิ่งมาลัยรักษ. เลขที่ 35 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป[ที่ 5 หIอง 651 สายการเรียนวิทยาศาสตร.- คณิตศาสตร. โครงงานนี้เป;นส=วนหนึ่งของโครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร& ปIการศึกษา 2562 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย&ที่ปรึกษาพิเศษ ผศ.ดร.สีหนาท ประสงค.สุข อาจารย.ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร. คณะวิทยาศาสตร. จุฬาลงกรณ.มหาวิทยาลัย
  • 2. บทที่ 1 บทนำ เนื่องจากปeญหาที่พบเกี่ยวกับโฟมนั้นไดIแก>การกำจัดขยะมูลฝอยที่เกิดจากโฟมเหลือใชI ซึ่งโฟมนั้นตIองใชIเวลาย>อย สลายถึง 400 ป[ และใชIพื้นที่ในการฝeงกลบมากกว>าขยะมูลฝอยประเภทเศษอาหารประมาณ 3 เท>า นอกจากนี้ ขยะโฟมมีปริมาตรสูงเมื่อเทียบกับน้ำหนักและมีความทนต>อแรงอัด หากใชIวิธีเผาทำลายก็จะก>อใหIเกิดมลพิษ รวมทั้ง สาร CFC จากโฟมก็จะลอยขึ้นไปยังชั้นบรรยากาศ ทำลายชั้นโอโซนเปqนสาเหตุของภาวะโลกรIอนอีกดIวย 1.1 ที่มาและความสำคัญ รูปที่ 1.1 กราฟแสดงปริมาณสาร CFC และกrาซที่ทำใหIเกิดภาวะโลกรIอน ที่มา : https://sites.google.com/site/ozoneglobalwarming/gas รูปที่ 1.2 รูปปริมาณโฟม ที่มา : https://www.facebook.com/pages/category/Environmental-Service
  • 3. การรีไซเคิลโฟม PS ที่จัดเก็บจากสาธารณะนั้น ยังมีไม>มากเท>าที่ควรเนื่องจากประชาชนทั่วไปยังขาดความรูI ความเขIาใจที่ถูกตIองเกี่ยวกับโฟม PS นอกจากนั้นกระบวนการจัดเก็บโฟม EPS ซึ่งมีขนาดใหญ>แต>น้ำหนักเบาและ กินพื้นที่ในการจัดเก็บมาก ทำใหIตIนทุนของการขนส>งสูงกว>าและมีระยะเวลาในการย>อยสลายที่มากกว>าพลาสติก ประเภทอื่นและสูงกว>าขยะรีไซเคิลประเภทกระดาษและโลหะมาก 1.1 ที่มาและความสำคัญ รูปที่ 1.3 แสดงระยะเวลาที่ใชIในการกำจัดโฟมและขยะชนิดอื่นๆ ที่มา :https://pantip.com/topic/31726091
  • 4. คณะผูIรับผิดชอบโครงงานการย>อยสลายโฟมของ สาร D-limonene จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของ สาร D-limonene ที่มีต>อซึ่งมีคุณสมบัติในการละลาย โฟมพอลิสไตรีนไดIเช>นเดียวกับตัวทำละลายอินทรีย.เช>น โทลูอีนและอื่นๆ โดยลิโมนีนสามารถลดปริมาตรของโฟ มลงไดIถึง 1/50-100 เท>า เปลือกสIมที่นำมาสกัดน้ำมัน ไดIมาจากของเหลือจากอุตสาหกรรมผลิตน้ำผลไมI นอกจากการเปqนการเพิ่มมูลค>าแก>ขยะแลIวยังมีกลิ่น หอม ไม>เปqนอันตรายต>อร>างกายเหมือนตัวทำละลาย อินทรีย.อื่นๆ และมีจุดติดไฟสูงเมื่อเทียบกับตัวทำ ละลายอินทรีย.อื่นๆ ที่มีกำเนิดจากน้ำมันดิบ ทำใหIมี ความปลอดภัยมากกว>า 1.1 ที่มาและความสำคัญ รูปที่ 1.4 แสดงระยะเวลาที่ใชIในการกำจัดโฟมและขยะชนิดอื่นๆ ที่มา :https://mgronline.com/infographic/detail/9580000011858
  • 5. 1. เพื่อศึกษาวิธีการสกัดสาร D-limonene ที่สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆ ไดIแก> สIมเขียวหวาน สIมโอ มะนาว มะกรูด 2. เพื่อศึกษาความสามารถในการย>อยสลายโฟม polystylene ดIวยสาร D-limonene ที่สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆ ไดIแก> สIมเขียวหวาน สIมโอ มะกรูด มะนาว 3. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพความเขIมขIน สายพันธุ.และใชIเทียบกับตัวทำละลายอินทรีย.อื่นๆอีก 3 ชนิดคือโทลูอีน อะซีโตน และได คลอโรมีเทน 1.2 วัตถุประสงค& 1.3 ขอบเขตการศึกษา 1. ศึกษาสมบัติของสาร D-limonene ที่สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆไดIแก> สIมเขียวหวาน สIมโอ มะนาว มะกรูด และสารอินทรีย.อื่นๆอีก 3 ชนิดคือโทลูอีน อะซีโตน และไดคลอโรมีเทน 2. ศึกษาความสามารถในการย>อยสลายโฟม polystylene ดIวยสาร D-limonene ที่สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ. ต>างๆไดIแก> สIมเขียวหวาน สIมโอ มะนาว มะกรูด 3. ศึกษาประสิทธิภาพความเขIมขIน สายพันธุ.และใชIเทียบกับตัวทำละลายอินทรีย.อื่นๆอีก 3 ชนิดคือโทลูอีน อะซีโตน และได คลอโรมีเทน
  • 6. ตอนที่ 1 ศึกษาสายพันธุ&ที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืชตระกูล ส5มสายพันธุ&ต=างๆ ถIาสาร D-limonene ที่สกัดจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างกันมีผลต>อการย>อยสลายโฟม polystylene ที่ต>างกันแลIว ดังนั้นความยาวของโฟมหลังการทดลองเปลี่ยนแปลงต>างกัน ตอนที่ 2 ศึกษาความเข5มข5นที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืช ตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆ ถIาสาร D-limonene จากเปลือกสIมเขียวหวานที่มีความเขIมขIนต>างกันมีผลต>อการย>อยสลายโฟม polystylene ที่ต>างกันแลIว ดังนั้นความยาวของโฟมหลังการทดลองเปลี่ยนแปลงต>างกัน ตอนที่ 3 ศึกษาความสามารถในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืชตระกูลส5ม สายพันธุ&ต=างๆและตัวทำละลายอินทรีย&อื่นๆอีก 3 ชนิดคือโทลูอีน อะซีโตน และไดคลอโรมีเทน ถIาสาร D-limonene มีผลต>อการย>อยสลายโฟม polystylene เช>นเดียวกับตัวทำละลายอินทรีย.อื่นๆอีก 3 ชนิดคือโทลูอีน อะซีโตน และไดคลอโรมีเทนแลIว จะทำใหIความยาวของโฟมที่ไดIหลังการทดลองเปลี่ยนแปลงต>างกัน 1.4 สมมติฐานโครงงาน
  • 7. 1.5 ตัวแปรที่เกี่ยวข5อง ตอนที่ 1 ศึกษาสารพันธุ&ที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืชตระกูล ส5มสายพันธุ&ต=างๆได5แก= ส5มเขียวหวาน ส5มโอ มะนาว มะกรูด ตัวแปรตIน : สาร D-limonene จากเปลือกพืชตระกูลสIมทั้ง 4 ชนิดคือ สIมเขียวหวาน สIมโอ มะกรูด มะนาว ตัวแปรตาม : ความยาวและน้ำหนักของโฟมที่เปลี่ยนแปลงไป ตัวแปรควบคุม : ความยาวของโฟมตอนเริ่มตIน, สถานที่ทดลอง, ระยะเวลา, ความเขIมขIนของสารทั้ง 4 ชนิด ตอนที่ 2 ศึกษาความเข5มข5นที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืช ตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆได5แก= ส5มเขียวหวาน ส5มโอ มะนาว มะกรูด ตัวแปรตIน : สาร D-limonene จากการทดลองในตอนที่ 1 ที่ความเขIมขIน 5%w/v 10%w/v 15%w/v 20%w/v ตัวแปรตาม : ความยาวและน้ำหนักของโฟมที่เปลี่ยนแปลงไป ตัวแปรควบคุม : ความยาวของโฟมตอนเริ่มตIน, สถานที่ทดลอง, ระยะเวลา
  • 8. 1. เพิ่มวิธีในการกำจัดโฟมโดยที่ไม>เปqนอันตรายต>อสิ่งแวดลIอม 2. สามารถนำเปลือกสIมมาประยุกต.ใชIเพื่อใหIเกิดประโยชน.ไดIโดยไม>เหลือทิ้ง 3. ช>วยลดตIนทุนในการกำจัดโฟม polystylene 1.5 ตัวแปรที่เกี่ยวข5อง ตอนที่ 3 ศึกษาความสามารถในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืชตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆ และตัวทำละลายอินทรีย&อื่นๆอีก 3 ชนิดคือโทลูอีน อะซีโตน และไดคลอโรมีเทน ตัวแปรตIน : สาร D-limonene ที่สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมที่ไดIจากตอนที่ 1 และ 2 , โทลูอีน, อะซีโตนและไดคลอโรมีเทน ตัวแปรตาม : ปริมาตรและน้ำหนักของโฟมที่เปลี่ยนแปลงไป ตัวแปรควบคุม : ความยาวและน้ำหนักของโฟมตอนเริ่มตIน, สถานที่ทดลอง, ระยะเวลา, ความเขIมขIนของสารทั้ง 4 ชนิด, สาร D-limonene จากเปลือกพืชตระกูลสIมชนิดเดียวกัน 1.6 ประโยชน&ที่คาดว=าจะได5รับ
  • 9. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข5อง 2.1 เอกสารที่เกี่ยวข5อง 2.1.1. โฟม polystylene โพลีสไตรีน (Polystyrene, PS) เปqนพลาสติกที่ผลิตขึ้นมาจากสไตรีนโมโนเมอร. ซึ่งเปqนสารไฮโดรคาร.บอนที่ไดIจากป•โตรเลียมถูกผลิตออกขายครั้งแรก ในช>วงป[ 1930 - 1939 ช>วงแรกสไตรีนที่ผลิตขึ้นมาถูกนำไปใชIในสงครามโลกครั้งที่ 2 เปqนหลัก หลังจากสงครามจบลงจึงเปลี่ยนมาผลิตเปqนพลาสติกโพ ลีสไตรีนออกขายแทน ในการผลิตโพลีสไตรีนยังมีวัตถุดิบอื่น ๆ ที่ใชIร>วมดIวยไดIแก> เบนซีน เอทิลีน และบิวทาไดอีน โพลีสไตรีนเปqนพลาสติกชนิดเทอร.โมพลาสติกคือหลอมเปqนของเหลวไดIโดยที่อุณหภูมิหIองจะอยู>ในสถานะของแข็ง แต>จะหลอมละลายเมื่อทำใหIรIอน และแข็งตัวเมื่อเย็นลง โพลีสไตรีนแข็งที่บริสุทธิ์จะไม>มีสี ใส แต>สามารถทำเปqนสีต>างๆไดIและยืดหยุ>นไดIจำกัด โพลีสไตรีนที่ใชIกันอยู>ทั่วไปส>วนใหญ>เปqนชนิดที่เรียกว>า expanded polystyrene (EPS) เปqนชนิดที่ไดIจากการผสมโพลีสไตรีนรIอยละ 90-95 กับสาร ทำใหIขยายตัว (ที่ใชIกันมากคือเพนเทนหรือคาร.บอนไดออกไซด. เมื่อก>อนใชI ซีเอฟซี ซึ่งเปqนสารทำลายชั้นโอโซน) รIอยละ 5-10 พลาสติกที่เปqนของแข็ง ถูกทำใหIเปqนโฟมโดยการใชIความรIอน (มักเปqนไอน้ำ) โพลีสไตรีนอีกชนิดหนึ่งคือ Extruded polystyrene (XPS) มีชื่อทางการคIาที่แพร>หลายคือ Styrofoam เปqนชนิดที่มีการเติมอากาศไวIในช>องว>างตามเนื้อโฟมทำใหIมีค>าการนำความรIอนต่ำ ใชIในงานก>อสรIาง และใชIเปqนฉนวนกันความรIอนใน อาคาร และยังมีชนิดที่เปqนแผ>นเรียกว>า Polystyrene Paper Foam (PSP) ใชIเปqนภาชนะบรรจุอาหาร เช>นกล>องหรือถาดใส>อาหาร รูปที่ 2.1 โฟม polystylene ที่มา :https://www.isowall.co.za/a- brief-history-of-polystyrene/
  • 10. สารพิษที่ปลดปล=อยออกมาในระหว=างการผลิตโพลีสไตรีนได5แก= 1. เบนซีน (เปqนสารก>อมะเร็ง) 2. สไตรีนโมโนเมอร. (เปqนสารที่สงสัยว>าก>อใหIเกิดมะเร็ง) 3. 1,3-บิวทาไดอีน (เปqนสารที่สงสัยว>าก>อใหIเกิดมะเร็ง) 4. คาร.บอนเตตระคลอไรด. ทำใหIเกิดมะเร็งในสัตว.ทดลองและสงสัยว>าก>อใหIเกิดมะเร็งในคน) 5. โครเมี่ยม (6) ออกไซด. ก>อใหIเกิดมะเร็งและการกลายพันธุ.ในสัตว.ทดลอง 2.1.1. โฟม polystylene วัสดุที่ทำจากโพลีสไตรีน 1. แกIวโฟมที่ใชIแลIวทิ้ง ที่คIนพลาสติก จานหรือถาดพลาสติกใส>อาหาร 2. โฟมที่ใชIเปqนบรรจุภัณฑ.ต>าง ๆ เช>นบรรจุภัณฑ.กันกระแทกสำหรับใส>ขวดไวน. ผลไมI และคอมพิวเตอร. เปqนตIน 3. วัสดุช>วยพยุงใหIลอยน้ำ 4. แผ>นฉนวนกันความรIอนในอาคาร 5. อื่น ๆ เช>น ไมIบรรทัด ไมIแขวนเสื้อ มIวนวีดีโอ ตลับเทป เปqนตIน
  • 11. 2.1.2. สาร D-limonene สรรพคุณของลิโมนีน ลิโมนีนเปqนสารเคมีที่พบไดIในเปลือกผลไมIตระกูลสIมและในพืชชนิดอื่น ๆ และใชIทำยา ลิโมนีนใชIเพื่อช>วยลดน้ำหนัก ป”องกันมะเร็ง รักษาโรคมะเร็งและรักษาโรคหลอดลมอักเสบ ลิโมนีนนำมาใชIเปqนสารรสชาติในอาหาร เครื่องดื่มและหมากฝรั่ง ในงานเภสัชกรรม ลิโมนีนนำมาใชIเพื่อช>วยใหIยาทาหรือครีมต>าง ๆ ซึมเขIาผิวไดIดี ในดIานอุตสาหกรรม ลิโมนีนใชIเปqนกลิ่นหอม ตัวทำละลาย และเปqนส>วนประกอบในเจลลIางมือแบบไม>ตIองใชIน้ำ กลไกการออกฤทธิ์ งานวิจัยเกี่ยวกับกลไกการออกฤทธิ์ของลิโมนีน ยังมีไม>พอ ควรปรึกษาแพทย.เพื่อขอขIอมูลเพิ่มเติม อย>างไรก็ตามเปqนที่ทราบกันว>าลิโมนีนอาจช>วยป”องกัน การก>อตัวของสารก>อมะเร็งและฆ>าเซลล.มะเร็งในทIอง ทดลองไดI รูปที่ 2.2 สาร D-limonene ในสIมและสIม ที่มา :https://www.isowall.co.za/a-brief-history-of-polystyrene/
  • 12. 2.1.3. โทลูอีน สารโทลูอีน (Toluene) ถือเปqนสารเคมีที่เปqนพิษและจากพรบ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ระบุว>าสารโทลูอีนเปqนสารอันตราย ชนิดที่ 3 ควบคุมโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม ตIองมีการขึ้นทะเบียนและขออนุญาตนำเขIา สารเคมีชนิดนี้นิยมใชIกันอย>าง แพร>หลายในโรงงานอุตสาหกรรม โดยส>วนมากจะนำสารโทลูอีนมาใชIเปqนตัวทำละลาย ลักษณะภายนอกของสารจะมองเห็นเปqน ของเหลวใส มีคุณสมบัติไม>ละลายน้ำ มีกลิ่นคลIายสีทาบIาน หรือทินเนอร. สำหรับคุณสมบัติทางเคมี โทลูอีนมีสูตรทางเคมี ว>า C6H5CH3 จุดเดือดอยู>ที่ 110.6°C จุดหลอมเหลว -95°C ความหนาแน>น 0.86 g/ml เปqนสารระเหยและติดไฟไดIง>ายที่ความ ดันบรรยากาศ อุณหภูมิปกติและสามารถติดไฟไดIดIวยตัวเองที่อุณหภูมิ 480 °C รูปที่ 2.3 Toluene ที่มา :https://www.siamchemi.com รูปที่ 2.4 Toluene ที่มา :https://www.google.com/search?
  • 13. 2.1.3. โทลูอีน ความเป;นพิษของสารโทลูอีน 1. หากสูดดมไอระเหยเปqนเวลานาน อาจทำใหIเซลล.เม็ดเลือดผิดปกติ และมีผลต>อไขกระดูกและโลหิต และถIาสูดดมในระยะ สั้น อาจทำใหIเกิดอาการเวียนหัว มึนงง อ>อนเพลีย คลื่นไสI เบื่ออาหาร โดยปริมาณความเขIมขIนต่ำสุดที่เปqนอันตรายต>อระบบ หายใจคือที่ระดับความเขIมขIน 10-15 ppm และระดับความเขIมต่ำสุดที่เปqนอันตรายต>อระบบสมองส>วนกลาง คือ 50 ppm และคนที่สูบบุหรี่และเปqนโรคพิษสุราเรื้อรังมีความเสี่ยงต>ออันตรายจากโทลูอีนมากกว>าคนทั่วไป 2. หากสารโทลูอีนสัมผัสถูกผิวหนังจะทำใหIเกิดอาการระคายเคือง และหากถูกเปqนเวลานานๆ ซ้ำที่เดิมจะทำใหIผิวหนังแหIง อักเสบเพราะสารโทลูอีนจะเขIาไปละลายชั้นไขมันในผิวหนัง 3. ถIาไอระเหยของโทลูอีนเขIาตาควรลIางดIวยน้ำสะอาดใหIมากที่สุด โดยระดับความเขIมขIนของโทลูอีนและระยะเวลาที่ส>งผลต>อ ดวงตาเปqนดังนี้ ที่ระดับความเขIมขIน 300 ppm ระยเวลา 3-5 นาที และที่ระดับความเขIมขIน 100-150 ppm ระยะเวลา 6-7 นาที 4. หากกลืนกินสารโทลูอีนเขIาไปควรรีบนำส>งโรงพยาบาลอย>างทันที เพราะการกลืนกินโทลูอีนเพียง 60 มิลลิลิตร อาจทำใหI เสียชีวิตภายในระยะเวลา 30 นาที และสารโทลูอีนที่กินเขIาไปจะเขIาไปทำลายเนื้อเยื่อปอดส>งผลใหIเสียชีวิตในที่สุด
  • 14. 2.1.4. อะซีโตน อะซิโตน (Acetone) เปqนสารตัวทำละลายอินทรีย.ระเหยง>ายที่ไม>มีกลุ>มฮาโลจีเนตเต็ต ใชIมากในกระบวนการผลิตของ ภาคอุตสาหกรรมสำหรับใชIเปqนตัวทำละลายสารต>างๆ สามารถผลิตและสกัดไดIจากธรรมชาติและการสังเคราะห.ทางเคมีจาก ป•โตรเลียม อะซิโตนถูกคIนพบครั้งแรกโดย Schardinger จากกระบวนการหมักของแบคทีเรียในสภาวะไม>มีออกซิเจน โดยสามารถผลิตไดI จากแบคทีเรียในกลุ>ม Cl. acetobutylicum และ Cl. beijerinckii ซึ่งวิธีนี้มีตIนทุนค>อนขIางสูง ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ.อะซิโตนส>วนมาก ที่มีใชIในปeจจุบันจะไดIจากกระบวนการสังเคราะห.จากป•โตรเลียม ประโยชน& 1. มักใชIเปqนตัวทำละลายในกระบวนการผลิตในภาคอุตสาหกรรม เช>น อุตสาหกรรมเคมี ผลิตยา ผลิตสี หมึกพิมพ. น้ำมันขัด เงา กาว แลคเกอร. เครื่องสำอาง และอุตสาหกรรมพลาสติก เช>น เรซิน Bisphenol A สำหรับเปqนสารตั้งตIนในการผลิตพลาสติก หลายชนิด เช>น โพลีคาร.บอเนต โพลียูรีเทน และเรซิน เปqนตIน 2. มักใชIอะซิโตนสำหรับเปqนตัวทำละลายในการเตรียมสารเคมี หรือ ใชIเปqนสารทำละลายสำหรับการสกัดสารอินทรีย.จากพืช หรือสัตว. 3. ประโยชน.ดIานอื่นๆ ไดIแก> ใชIสำหรับการชะลIาง และเปqนสารไล>น้ำ
  • 15. 2.1.4. อะซีโตน อันตรายต=อสุขภาพ 1. ระบบหายใจ : การสูดดมหรือหายใจเอาอะซิโตนเขIาสู>ระบบหายใจจะทำใหIเกิดอาการระคายเคืองของเยื่อบุทางเดินหายใจ มี อาการไอ แน>นหนIาอก เวียนศีรษะ ปวดหัว 2. ทางผิวหนัง : เมื่อมีการสัมผัสทางผิวหนังจะทำใหIชั้นไขมันผิวหนังถูกทำลาย ผิวหนังแดง อักเสบ มีอาการปวดแสบปวดรIอน 3. สัมผัสกับตา : เมื่อมีการสัมผัสกับตาจะทำใหIตาระคายเคือง น้ำตาไหล มีอาการตาแดง และปวดตา 4. การกลืนกิน : การกลืนกินเขIาสู>ระบบทางเดินอาหารจะทำใหIรูIสึกคลื่นไสI อาเจียน วิงเวียนศีรษะ ปวดหัว รูปที่ 2.5 acetone ที่มา :https://thai.alibaba.com/product- detail/acetyl-acetone รูปที่ 2.6 acetone ที่มา :https://www.google.com/search?q=อะซีโตน
  • 16. 2.1.5. ไดคลอโรมีเทน ไดคลอโรมีเทน หรือ เมทิลีนคลอไรด. (Dichloromethane หรือ Methylene chloride) คือ สารประกอบชนิดหนึ่ง มีสูตรเปqน CH2Cl2 เปqนของเหลวไม>มีสี ระเหยไดIง>าย มีกลิ่นหอม มักใชIเปqนตัวทำละลาย เนื่องจากเปqนที่รูIกันว>าเปqนสารประกอบคลอโร คาร.บอนที่มีอันตรายนIอยที่สุดชนิดหนึ่ง การเตรียมไดคลอโรมีเทนสามารถทำไดIเปqนครั้งแรกเมื่อป[ 1840 โดยนักเคมีชาวฝรั่งเศสชื่อว>า อองรี วิกเตอร. เรโญลต. (Henri Victor Regnault) โดยแยกไดคลอโรมีเทนออกจากของผสมของคลอโรมีเทนกับคลอรีนระหว>างที่ถูกแสงอาทิตย. การนำไปใช5ประโยชน& เนื่องจากไดคลอโรมีเทนระเหยไดIง>าย และสามารถละลาย สารประกอบอินทรีย.ไดIหลายชนิด จึงเปqนตัวทำละลายที่มี ประโยชน.มากในหลายๆกระบวนการทางเคมี โดยทั่วไปมักใชI สำหรับลIางสีออกจากภาพวาด ในทางอุตสาหกรรมอาหาร จะใชI ในการสกัดคาเฟอีนจากกาแฟ และใชIผลิตสารปรุงแต>งกลิ่นหรือรส รูปที่ 2.7 Dichloromethane ที่มา :https://thai.alibaba.com/product-detail/dichloromethane-dcm-di-clo- chemical-formula-ch2cl2-4-fluid-ounces-847694932.html
  • 17. 2.1.5. ไดคลอโรมีเทน สภาพความเป;นพิษ แมIว>าไดคลอโรมีเทนจะเปqนสารคลอโรไฮโดรคาร.บอนที่มีความเปqนพิษนIอยที่สุด แต>เนื่องจากมีสมบัติระเหยไดIง>าย จึงเกิดอันตรายจากการ สูดดมไดI เมื่อร>างกายเผาผลาญไดคลอโรมีเทน จะไดIแกrสคาร.บอนมอนอกไซด.ซึ่งเปqนแกrสพิษ และเมื่อไดคลอโรมีเทนสัมผัสกับผิวหนัง จะทำ ละลายไขมันบางส>วนบนผิวหนัง ทำใหIเกิดการระคายเคืองหรือแหIงแตก ไดคลอโรมีเทนยังถือไดIว>าเปqนสารก>อมะเร็ง เนื่องจากผลการทดลองในหIองปฏิบัติการพบว>ามีส>วนทำใหIเกิดมะเร็งที่ปอด ตับ และตับอ>อน ในสัตว. และยังมีส>วนทำใหIเกิดความผิดปกติทางพันธุกรรม และเปqนพิษต>อทารกหรือตัวอ>อนในครรภ. ในหลายๆประเทศ ผลิตภัณฑ.ที่มีไดคลอโรมีเทนเปqนส>วนประกอบตIองมีขIอความเตือนถึงอันตรายต>อสุขภาพ https://oehha.ca.gov/chemicals/methylene-chloride- dichloromethane
  • 18. 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข5อง 1. งานวิจัยที่เกี่ยวกับสารสกัดจากพืชตระกูลสIมนั้น กิตติกร ฤกษ.มงคลและคณะ (2544) ไดIทำการศึกษาการวิเคราะห.ปริมาณ สารลิโมนีนที่ไดIจากการสกัดเปลือกสIมเขียวหวานโดยทำการศึกษาปริมาณลิโมนีนที่สกัดไดIจากเปลือกสIมเขียวหวานพันธุ.บางมด สกัดและตากแหIง โดยวิธีการกลั่นดIวยน้ำ วิธีการกลั่นดIวยไอน้ำและวิธีการสกัดอย>างต>อเนื่องดIวยเครื่องสกัดซอกห.เลต จากนั้นจึง นำน้ำมันหอมระเหยที่ไดIจากการสกัดไปวิเคราะห.ดIวยวิธีกrาซโครมาโทกราฟ[พบว>าการสกัดเปลือกสIมทั้ง 3 วิธี เมื่อใชIเปลือกสIมสด จะไดIปริมาณลิโมนีนสูงกว>าเปลือกสIมตากแหIงและการสกัดดIวยไอน้ำใหIประสิทธิภาพสูงสุด 2. ZUOH jin-hua และคณะ (2006) ไดIทำการศึกษาการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากเปลือกของสIมโอ 2 ชนิด และทำการวิเคราะห. หาองค.ประกอบดIวยเครื่องแกrสโครมาโทกราฟ[-แมสสเปกโตรมิทรีโดยทำการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากเปลือกสIมโอทั้ง 2 ชนิด ดIวย วิธีการกลั่นดIวยไอน้ำและวิธีการบีบ-กลั่นดIวยไอน้ำจากผลการวิเคราะห.ดIวยเครื่องแกrสโครมาโทกราฟ[-แมสสเปกโตรมิทรีพบว>าใน น้ำมันหอมระเหยจากเปลือกของสIมโอทั้ง 2 ชนิด จะมีลิโมนีนเปqนองค.ประกอบหลักและพบ nootgatone ซึ่งเปqนสารใหIกลิ่นตัวสำคัญ ของสIมโอ
  • 19. 3. LAN PHI NGUYEN THI และคณะ (2006) ไดIทำการศึกษาองค.ประกอบในน้ำมันหอมระเหยจากเปลือก Citrus (Natsudaidai) Hayata ที่สกัดโดยใชIการบีบเย็น โดยวิธีวิเคราะห.ดIวยเครื่องมือพบสารประกอบลิโมนีนมากที่สุด และพบ สารประกอบ เฮปทิลอะซีเตต, ลิโมนีน ออกไซด., 2, 3 บิวทะไดอีน ซึ่งมีความสำคัญต>อการสังเคราะห.กลิ่น Natsudaidai 4. วาสนา คำกวน และคณะ (2005) ไดIทIาการศึกษาปริมาณลิโมนีนในน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดIจากผิวของพืชสกุลสIมบางชนิด โดยศึกษาปริมาณลิโมนีนในน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดIจากผิวมะนาวควาย โดยเปรียบเทียบกับผิวของพืชสกุลสIมอีก 2 ชนิด คือ มะนาวและมะกรูดดIวยวิธีการสกัดดIวยไอน้ำและวิธีการสกัดดIวยเฮกเซนจากผลการวิเคราะห.ปริมาณลิโมนีนในน้ำมันหอมระเหยที่ สกัดไดIดIวยแกrสโคมาโทกราฟ[แมสสเปกโตรมิทรี พบว>าในน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดIจากผิวมะนาวควายมีปริมาณลิโมนีนมากที่สุด ทั้งการกลั่นดIวยไอน้ำ และการสกัดดIวยตัวทIาละลายเฮกเซน 5. พัน ธนิต ปราบโรค และคณะ (2535) ไดIทำการศึกษา การนำน้ำมันจากเปลือกสIมมาใชIสลายโฟม โดยใชIการสกัด 3 วิธีคือ วิธีการสกัดดIวยตัวทIาละลาย การกลั่นดIวยไอน้ำ และการคั้นน้ำมันลงบนผิวน้ำ ผลการทดลองพบว>า การสกัดแบบการกลั่นดIวยไอ น้ำไดIปริมาณน้ำมัน 2.5 ต>อ น้ำหนักเปลือกสIม 20 และวิธีการคั้นสIมลงบนผิวน้ำ ไดIปริมาณน้ำมัน 2.5 ต>อน้ำหนักเปลือกสIม 20 จากนั้นนIามาตรวจสอบประสิทธิภาพในการสลายโฟมพบว>าน้ำมันจากผิวสIมที่สกัดดIวยไอ น้ำและการคั้นน้ำมันลงบนผิวน้ำ สามารถสลายโฟมไดI ในป[ 1998 Noguchi และคณะ ไดIทIาการศึกษาการนIาสารสกัดลีโมนีนจากเปลือกสIมไปใชIในกระบวนการ อุตสาหกรรมรีไซเคิล ซึ่งปeจจุบันไดIมีการนIาไปใชIในกระบวนการรีไซเคิลของบริษัท โซนี่ ประเทศญี่ปุ«น
  • 20. บทที่ 3 ขั้นตอนวิธีการดำเนินการทดลอง 3.1 วัสดุ อุปกรณ& สารเคมี 3.1.1. เปลือกพืชตระกูลสIม 4 ชนิด คือ สIมเขียวหวาน สIมโอ มะกรูด มะนาว ที่เหลือจากการคั้นน้ำผลไมIและประกอบอาหาร จำนวนชนิดละ 5 ลูก รูปที่ 3.1 รูปแสดงลักษณะผลสIม ที่มา :https://sites.google.com/site/waeromelahwaedoyee880/topic2 รูปที่ 3.2 รูปแสดงลักษณะผลสIมโอ ที่มา :https://medthai.com/%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%AD/
  • 21. รูปที่ 3.3 รูปแสดงลักษณะของมะนาว ที่มา :https://health.mthai.com/howto/health-care/5726.html รูปที่ 3.4 รูปแสดงลักษณะของมะกรูด ที่มา:https://medthai.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B0 %E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%94/ 3.1.2. น้ำปริมาณ 2 ลิตร รูปที่ 3.5 รูปแสดงลักษณะของน้ำ ที่มา https://www.slri.or.th/th/slriresearch
  • 22. 3.1.3.โทลูอีน 1 ขวด รูปที่ 3.6 รูปแสดงลักษณะของ toluene ที่มา http://udomwitdelivery.comtoluene- 450-cc-html รูปที่ 3.7 รูปแสดงลักษณะของฉลาก toluene ที่มาhttp://tamagozzilla.blogspot.com/2011/08/mo-memoir-wednesday-3- august-2554.html
  • 23. 3.1.4. อะซีโตน 1 ขวด รูปที่ 3.8 รูปแสดงลักษณะของ acetone ที่มา: http://www.vmodtech.com/main/article/behind- the-scene-ultimate-project-v/all/1/ 3.1.5. ไดคลอโรมีเทน 1 ขวด รูปที่ 3.9 Dichloromethane ที่มา :http://labvalley.blogspot.com/2014/05/dichloromethane.html
  • 24. 3.1.6. เครื่องปe¬นน้ำผลไมI 1 เครื่อง รูปที่ 3.10. รูปแสดงเครื่องปe¬นน้ำผลไมI ที่มา: https://thailandshopy.com/Buy-now-Toshiba-89--1-5-A3- 89-6-A7_2258814822_cheapest.html 3.1.7. เครื่องกลั่นแบบซอกห.เลต 1 อัน รูปที่ 3.11. รูปแสดง เครื่องกลั่นแบบซอกห.เลต ที่มา: https://www.alibaba.com/product-detail/Glass-siphon- tube-soxhlet-extraction-apparatus_60703244637.html
  • 25. 3.1.8. Rotary evaporator 1 อัน รูปที่ 3.12. รูปแสดง Rotary evaporator ที่มา: https://www.coleparmer.in/p/cole-parmer-rotary- evaporator-systems-with-manual-lift-stands/72074 3.1.9. เครื่องชั่งไฟฟ”า 1 เครื่อง รูปที่ 3.13. รูปแสดง เครื่องชั่งไฟฟ”า ที่มา: https://www.coleparmer.in/p/cole-parmer-rotary- evaporator-systems-with-manual-lift-stands/72074
  • 26. 3.1.10. โฟม polystylene รูปที่ 3.14. รูปแสดงโฟม polystylene https://packaging.oie.go.th/new/admin_control_new/html- demo/file_technology/0489273615.pdf
  • 27. ตอนที่ 1 ศึกษาสารพันธุ&ที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จาก เปลือกพืชตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆ 3.2. ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน 1.นำเปลือกพืชตระกูลสIมทั้ง 4 ชนิด คือ สIม สIมโอ มะกรูด มะนาวที่เหลือจากการคั้นน้ำผลไมIและประกอบอาหารมาทำการแยกเนื้อและ เมล็ดออกทิ้ง นำเฉพาะเปลือกไปอบที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส เมื่อแหIงแลIวน้ำไปปe¬นใหIละเอียดดIวยเครื่องปe¬นน้ำผลไมI จากนั้นนำไปชั่ง น้ำหนักประมาณ 50-60 กรัมบรรจุลงในถุงผIาดิบ นำไปสกัดดIวยเฮกเซนโดยใชIเครื่องกลั่นแบบซอกห.เลต กลั่นจนเฮกเซนที่กลั่นแลIวมีสีจางลง จนเกือบใส นำสารละลายที่ไดIไประเหยเฮกเซนออกใหIหมดดIวยเครื่องระเหยแบบสูญญากาศ 2. นำน้ำมันหอมระเหยจากเปลือกพืชตระกูลสIมทั้ง 4 ชนิด คือ สIม สIมโอ มะกรูด มะนาวเจือจางดIวยเฮกเซน ในอัตราส>วน 10%w/v ใส>ลง ในบีกเกอร. บีกเกอร.ละ 200 ลูกบาศก.เซนติเมตร 3. นำโฟมพอลิสไตรีนที่มีขนาด 2x2x10 ลูกบาศก.เซนติเมตร ใส>ลงไปในบีกเกอร. 4.วัดความยาวทุกๆ 6 ชั่วโมงเปqนเวลา 2 วัน 5.ทำการทดลองนี้ซ้ำ 3 ครั้งเพื่อหาค>าเฉลี่ย
  • 28. 3.2. ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน ตอนที่ 2 ศึกษาความเข5มข5นที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วย สาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืชตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆ 1. นำเปลือกสIมที่เหลือจากการคั้นน้ำผลไมIและประกอบอาหารมาทำการแยกเนื้อและเมล็ดออกทิ้ง นำเฉพาะเปลือกไปอบที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส เมื่อแหIงแลIวน้ำไปปe¬นใหIละเอียดดIวยเครื่องปe¬นน้ำผลไมI จากนั้นนIาไปชั่งน้ำหนักประมาณ 50-60 กรัมบรรจุลงในถุงผIาดิบ นำไปสกัดดIวยเฮกเซนโดยใชIเครื่องกลั่นแบบซอกห.เลต กลั่นจนเฮกเซนที่กลั่นแลIวมีสีจางลงจนเกือบใส นำสารละลายที่ไดIไประเหยเฮกเซน ออกใหIหมดดIวยเครื่องระเหยแบบสูญญากาศ 2. นำน้ำมันหอมระเหยจากเปลือกสIมเขียวหวานเจือจางดIวยเฮกเซนในอัตราส>วน 5%w/v 10%w/v 15%w/v 20%w/v ใส>ลงในบีกเกอร. บีกเกอร.ละ 200 ลูกบาศก.เซนติเมตร 3. นำโฟมพอลิสไตรีนที่มีขนาด 2x2x10 ลูกบาศก.เซนติเมตร ใส>ลงไปในบีกเกอร. 4.วัดความยาวทุกๆ 6 ชั่วโมงเปqนเวลา 2 วัน 5.ทำการทดลองนี้ซ้ำ 3 ครั้งเพื่อหาค>าเฉลี่ย
  • 29. 3.2. ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน ตอนที่ 3 ศึกษาความสามารถในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืช ตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆ ที่ดีที่สุดที่ได5จากการทดลองในตอนที่ 1 และ 2 กับตัวทำละลายอินทรีย&อื่นๆอีก 3 ชนิด คือโทลูอีน อะซีโตน และไดคลอโรมีเทน 1. นำเปลือกสIมที่เหลือจากการคั้นน้ำผลไมIและประกอบอาหารมาทำการแยกเนื้อและเมล็ดออกทิ้ง นำเฉพาะเปลือกไปอบที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส เมื่อแหIงแลIวน้ำไปปe¬นใหIละเอียดดIวยเครื่องปe¬นน้ำผลไมI จากนั้นนำไปชั่งน้ำหนักประมาณ 50-60 กรัมบรรจุลงในถุงผIาดิบ นำไปสกัดดIวยเฮกเซนโดยใชIเครื่องกลั่นแบบซอกห.เลต กลั่นจนเฮกเซนที่กลั่นแลIวมีสีจางลงจนเกือบใส นำสารละลายที่ไดIไประเหยเฮกเซน ออกใหIหมดดIวยเครื่องระเหยแบบสูญญากาศ 2. นำน้ำมันหอมระเหยจากเปลือกพืชตระกูลสIมที่ดีที่สุดทั้งสายพันธ.และความเขIมขIนจากการทดลองที่ 1 และ 2 กับสารอินทรีย.อื่นๆอีก 3 ชนิดคือโทลูอีน อะซีโตนและไดคลอโรมีเทนที่ถูกปรับความเขIมขIนใหIเท>ากับความเขIมขIนของน้ำมันหอมระเหยใส>ลงในบีกเกอร. บีกเกอร.ละ 200 ลูกบาศก.เซนติเมตร 3. นำโฟมพอลิสไตรีนที่มีขนาด 2x2x10 ลูกบาศก.เซนติเมตร ใส>ลงไปในบีกเกอร. 4.วัดความยาวและชั่งน้ำหนักทุกๆ 6 ชั่วโมงเปqนเวลา 2 วัน 5.ทำการทดลองนี้ซ้ำ 3 ครั้งเพื่อหาค>าเฉลี่ย
  • 30. ปI 2562 พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤษจิกายน กำหนดหัวขIอโครงงาน / เขียนเคIาโครงโครงงาน / / เตรียมอุปกรณ.ที่ใชIใน การทดลอง / / ลงมือทำโครงงานตอน ที่ 1 / / ลงมือทำโครงงานตอน ที่ 2 / / ลงมือทำโครงงานตอน ที่ 3 / / การเขียนรายงานผล / / / การนำเสนอโครงงาน / / ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงแผนปฏิบัติงาน
  • 31. บทที่ 4 ผลการศึกษา ตอนที่ 1 ศึกษาสารพันธุ&ที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จาก เปลือกพืชตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆ ครั&งที* + ครั&งที* , ครั&งที* - ค่าเฉลี*ย ส้ม มะกรูด มะนาว ส้มโอ 2.8 cm 4.2 cm 4.7 cm 4.8 cm 3.0 cm 3.1 cm 5.1 cm 3.1 cm 3.66 cm 4.86 cm 3.9 cm 3.1 cm 3.6 cm 3.7 cm 3.56 cm 2.96 cm ตาราง 4.1 ตารางแสดงความยาวของโฟม polystylene ที่เหลือจากการแช>ใน d-limonene ที่ สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆ
  • 32. กราฟที่ 4.1 กราฟแสดงความยาวของโฟม polystylene ที่เหลือจากการแช>ใน d-limonene ที่ สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆ ทุกๆ 6 ชั่วโมง
  • 33. 5% w/v 20% w/v 15% w/v 10% w/v ครั&งที* + ครั&งที* , ครั&งที* - ค่าเฉลี*ย 7.1 cm 8.2 cm 8.8 cm8.8 cm 7.5 cm 7.9 cm 9.1 cm 6.7 cm 8.03 cm 8.9 cm 5.5 cm 7.4 cm 8.0 cm 6.5 cm 6.23 cm 7.33 cm ตาราง 4.2 ตารางแสดงความยาวของโฟม polystylene ที่เหลือจากการแช>ใน d-limonene ที่ สกัดไดIจากเปลือกสIมที่มีความเขIมขIนต>างกัน ตอนที่ 2 ศึกษาความเข5มข5นที่เหมาะสมในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วย สาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกส5มเขียวหวาน หมายเหตุ ค>าความเขIมขIนคิดโดยใหIสาร d-limonene ที่สกัดออกมาตอนแรกเปqน 100% w/w
  • 34. กราฟที่ 4.2 ตารางแสดงความยาวของโฟม polystylene ที่เหลือจากการแช>ใน d-limonene ที่ สกัดไดIจากเปลือกสIมเขียวหวานที่มีความเขIมขIนต>างกัน ทุกๆ 6 ชั่วโมง
  • 35. ตาราง 4.3 ตารางแสดงความยาวของโฟม polystylene ที่เหลือจากการแช>ใน d-limonene ที่ สกัดไดIจากเปลือกพืชตระกูลสIมสายพันธุ.ต>างๆ ครั&งที* + ครั&งที* , ครั&งที* - ค่าเฉลี*ย โทลูอีน อะซีโตน ไดคลอโรมีเทน มะนาวที*ความเข้มข้น 20% 3.4 cm 4.1 cm 3.5 cm 3.66 cm 0.9 cm 5.4 cm 1.1 cm 5.3 cm5.6 cm 5.43 cm 1.3 cm 1.1 cm 0.7 cm0.5 cm1.2 cm 0.8 cm ตอนที่ 3 ศึกษาความสามารถในการย=อยสลายโฟม polystylene ด5วยสาร D-limonene ที่สกัดได5จากเปลือกพืช ตระกูลส5มสายพันธุ&ต=างๆ ที่ดีที่สุดที่ได5จากการทดลองในตอนที่ 1 และ 2 กับตัวทำละลายอินทรีย&อื่นๆอีก 3 ชนิด คือโทลูอีน อะซีโตน และไดคลอโรมีเทน
  • 36. กราฟที่ 4.3 ตารางแสดงความยาวของโฟม polystylene ที่เหลือจากการแช>ใน d-limonene ที่สกัดไดIจากเปลือกมะนาวที่ ความเขIมขIน 20%w/v กับตัวทำละลายอินทรีย.คืออะซิโตน โทลูอีนและไดคลอโรมีเทนที่มีความเขIมขIนต>างกัน ทุกๆ 6 ชั่วโมง
  • 37. บทที่ 5 อภิปรายและสรุปผลการทดลอง สรุปผลการทดลอง จากการศึกษาเปลือกพืชตระกูลส้มทั&ง O ชนิด คือ ส้ม ส้มโอ มะกรูด มะนาว พบว่าในการ กลั*นด้วยเฮกเซน เมื*อนํานํ&ามันหอมระเหยที*ได้จากการสกัดด้วยไอนํ&าไปรีไซเคิลโฟมพบว่า น้ &ามันหอมระเหย จากเปลือก มะนาวสามารถรีไซเคิลโฟมได้มากกว่า ข5อเสนอแนะในการทำวิจัยในอนาคต +.การหาพืชชนิดอื*นๆที*มีองค์ประกอบของลิโมนีน หรือสารที*มีคุณสมบัติใกล้เคียง ,.การนํากากเปลือกผลไม้ที*สกัดนํ&ามันแล้วไปใช้ประโยชน์ต่อ
  • 38. บรรณานุกรม หน>วยขIอสนเทศวัตถุอันตรายและความปลอดภัย ศูนย.ความเปqนเลิศแห>งชาติดIานการจัดการสิ่งแวดลIอมและ ของเสียอันตราย.2551. “โพริสไตรีน”. [ระบบออนไลน.]. แหล>งที่มา http://www.chemtrack.org/news- detail.asp?tid=4&id=11 (3 มิถุนายน 2562) helloคุณหมอ.2560. “D-limonene”. [ระบบออนไลน.]. แหล>งที่มา https://hellokhunmor.com/herbal/%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0% B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%99-limonene/ siamchemi.com.2557. “โทลูอีน”. [ระบบออนไลน.]. แหล>งที่มา https://www.siamchemi.com/%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8% AD%E0%B8%B5%E0%B8%99/ siamchemi.com.2557. “อะซิโตน”. [ระบบออนไลน.]. แหล>งที่มา https://www.siamchemi.com/%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B9% 82%E0%B8%95%E0%B8%99/