SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
โครงงานการประดิษฐ.เครื่องมือเพื่อสำรวจปริมาณฝุ<นละอองในอากาศบริเวณศาลาปABนหทัย
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและสรLางสมการคาดการณ.ปริมาณฝุ<นละอองในพื้นที่เปNาหมาย
คณะผูLจัดทำ
นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาป@ที่ 5 หDอง 651
อาจารย.ที่ปรึกษาพิเศษ
ดร.อภิรักษ) หุKนหลKอ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงงานนี้เปOนสKวนหนึ่งของโครงการพัฒนาศักยภาพพิเศษทางวิทยาศาสตร)สาขาโครงงานวิทยาศาสตร)
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ป@การศึกษา 2562
อาจารย.ที่ปรึกษา
นางทิพย)อาภา ศรีวรางกูล
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ)
กลุKมสาระวิทยาศาสตร) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ที่มาและความสำคัญ
ปTจจุบันองค)การอนามัยโลก พบวKาปTญหามลพิษทางอากาศเปOนปTญหาที่สรDางความเสียหายสูงสุดจากปTญหา
มลพิษทั้งหมด เนื่องจากปTญหามลพิษทางอากาศถือเปOนสาเหตุสำคัญสาเหตุหนึ่งที่ทำใหDอัตราผูDเสียชีวิตกKอนวัยสูงขึ้นถึง
4.2 ลDานคนทั่วโลก ประเทศไทยของเราก็เปOนประเทศหนึ่งที่ไดDรับผลกระทบจากปTญหานี้เปOนอยKางมาก โดยเฉพาะชKวง
เดือนมกราคมของป@ พ.ศ. 2562 กรุงเทพมหานครมีคKาปริมาณฝุ`นละอองสูงถึง 90 ไมโครกรัมตKอลูกบาศก)เมตร ซึ่งมี
สาเหตุหลักมาจากฝุ`น PM 2.5 ซึ่งฝุ`นชนิดนี้เปOนฝุ`นละอองขนาดเล็กที่สKงผลกระทบตKอสุขภาพเปOนอยKางมาก โดยฝุ`นนี้เมื่อ
เขDาไปในรKางกายก็จะสรDางความเสี่ยงตKอการเกิดโรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ และบางครั้งก็อาจจะเลยเขDาไปใน
กระแสเลือดและไหลเวียนทั่วรKางกายเรา ซึ่งก็เปOนสาเหตุของโรคหัวใจวาย หลอดเลือดในสมองตีบ
ในการวัดคKาปริมาณฝุ`นละออง กรมอุตุนิยมวิทยาจะทำการวัดจากเครื่องมือวัดชนิดตKางๆเชKน เครื่องวัดระบบ
Beta Ray, เครื่องวัดระบบ Tapered Element Oscillating Microbalance, และ เครื่องวัดระบบ Dichotomous
โดยในการเฝ€าระวังปริมาณฝุ`นละอองในปTจจุบันยังไมKมีหลักการที่แนKชัด มีเพียงการเฝ€าระวังผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจาก
ฝุ`นละออง ซึ่งทำใหDเราไมKสามารถเตรียมพรDอมรับมือกับภาวะปริมาณฝุ`นละอองเกินคKามาตรฐานไดDอยKางทันทKวงที
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ที่มาและความสำคัญ (ตUอ)
ทั้งนี้บริเวณอาคารในสถานศึกษาขนาดหลายไรKนั้นอาจทำใหDมีคKาฝุ`นละอองในแตKละจุดไมKเทKากันการติดตั้ง
เครื่องตรวจฝุ`นนั้นก็มีคKาใชDจKายที่ไมKสามารถทำใหDติดไดDทุกตึกคณะ ทางผูDจัดทำโครงงานจึงมีความสนใจที่จะสำรวจ
ปริมาณฝุ`นละอองภายในอากาศในบริเวณกวDางรวมถึงการสรDางสมการเพื่อคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมาย
จากปTจจัยทางสภาพแวดลDอมตKางๆภายในพื้นที่โดยรอบพื้นที่เป€าหมายเพื่อเปOนประโยชน)ในการหาแนวทางเตือนภัยและ
ป€องกันมลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้นและหวังวKาโครงงานนี้จะสามารถนำไปใชDไดDกับองค)กรที่มีพื้นที่กวDางขวางและอยูKใน
บริเวณที่มีปTญหาฝุ`นละออง
ภาพที่ 1 ฝุ`นละอองในกรุงเทพมหานคร
ที่มา : https://hilight.kapook.com/view/181721
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ที่มาและความสำคัญ (ตUอ)
ภาพที่ 2 ปริมาณฝุ`น PM 10 คKาเฉลี่ยรายป@
และคKาเฉลี่ยรายพื้นที่ พ.ศ. 2551 - 2560
ที่มา : http://www.onep.go.th/env_data/2016/01_39/
บทที่ 1 บทนำ
1.2 วัตถุประสงค.ของโครงงาน
1. สรDางเครื่องมือตรวจวัดปริมาณฝุ`นละอองเพื่อเก็บขDอมูลในโรงเรียน ดDวยเซนเซอร) PMS7003 สำหรับ
ตรวจวัดปริมาณฝุ`นละออง, เซนเซอร) DHT22 Arduino สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้น, เซนเซอร)
BMP280 สำหรับตรวจวัดความดันอากาศ และเซนเซอร)วัดความเร็วลม
2. สำรวจปริมาณฝุ`นละอองในอากาศภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาดDวยเครื่องมือที่สรDางขึ้น ชKวงระหวKาง
เดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม พ.ศ. 2562 ในพื้นที่เป€าหมายและพื้นที่โดยรอบพื้นที่เป€าหมาย 4 ตำแหนKง
3. สรDางสมการความสัมพันธ)ของปริมาณฝุ`นละอองจากพื้นที่เป€าหมายกับพื้นที่โดยรอบพื้นที่เป€าหมาย
ทั้ง 4 ตำแหนKงที่เก็บคKาไดD ในชKวงระหวKางเดือนพฤศจิกายน– ธันวาคม พ.ศ. 2562
4. คาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมายโดยใชDขDอมูลพื้นที่เป€าหมายกับพื้นที่โดยรอบพื้นที่เป€าหมาย
ทั้ง 4 ตำแหนKงที่เก็บคKาไดD ในชKวงระหวKางเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม พ.ศ. 2562
บทที่ 1 บทนำ
1.4 ขอบเขตการศึกษา
สถานที่ศึกษา : ศาลาป‘’นหทัยที่ตั้งอยูKภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล
ปTจจัยที่ตDองการศึกษา : ขDอมูลของคKาปริมาณฝุ`นละออง, ความชื้น ,อุณหภูมิ, ความดันอากาศ และ
กระแสลม ที่เก็บคKาไดDในชKวงเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม พ.ศ. 2562
ชKวงเวลาที่ทำโครงงาน : เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2562 ถึง มกราคม พ.ศ. 2563
1.3 สมมติฐานของการศึกษาคLนควLา
ถDาสมการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมายจากขDอมูลที่วัดคKาไดDในบริเวณ
โดยรอบพื้นที่เป€าหมายภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาสอดคลDองกับคKาที่วัดไดDจากเครื่องมือตรวจวัด
ที่สรDางขึ้น แสดงวKาคKาปริมาณฝุ`นละออง, ความชื้น, อุณหภูมิ, ความดันอากาศ และกระแสลม ภายใน
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาที่ไดDจากเครื่องมือตรวจวัดที่สรDางขึ้นผKานโปรแกรม Arduino สามารถใชD
คาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมายไดD
บทที่ 1 บทนำ
1.5 นิยามเชิงปฏิบัติการ / นิยามศัพท.เฉพาะ
1. ปริมาณฝุ`นละออง หมายถึง ปริมาณฝุ`น PM 10 ในอากาศที่ศาลาป‘’นหทัยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
2. สมการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมาย หมายถึง สมการคาดการณ)ที่ไดDจากความสัมพันธ)ของ
อุณหภูมิ ความชื้น กระแสลม และ ความดันอากาศ กับปริมาณฝุ`นละอองในอากาศ ในพื้นที่รอบๆพื้นที่
เป€าหมายกับพื้นที่เป€าหมาย โดยใชDขDอมูลที่เก็บคKาไดDในชKวงเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม พ.ศ. 2562
3. เครื่องมือตรวจวัดปริมาณมลพิษทางอากาศ หมายถึง เครื่องมือที่สรDางขึ้นจากเซนเซอร) PMS7003 สำหรับ
ตรวจวัดปริมาณฝุ`น, เซนเซอร) DHT22 Arduino สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้น, เซนเซอร) BMP280
สำหรับตรวจวัดความดันอากาศ และเซนเซอร)วัดความเร็วลม โดยใชDโปรแกรม Arduino
4. เซนเซอร)ตรวจวัดปริมาณฝุ`น หมายถึง เซนเซอร)ชนิดตKางๆที่ตรวจวัดปริมาณฝุ`นรวมถึงเซนเซอร)ที่วัดปTจจัยที่
เกี่ยวขDองกับปริมาณฝุ`น ไดDแกK เซนเซอร) PMS7003 สำหรับตรวจวัดปริมาณฝุ`น, เซนเซอร) DHT22 Arduino
สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้น, เซนเซอร) BMP280 สำหรับตรวจวัดความดันอากาศ และเซนเซอร)วัด
ความเร็วลม
บทที่ 1 บทนำ
1.5 นิยามเชิงปฏิบัติการ / นิยามศัพท.เฉพาะ
5. พื้นที่เป€าหมาย หมายถึง พื้นที่บริเวณศาลาป‘’นหทัยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
6. พื้นที่รอบๆพื้นที่เป€าหมาย หมายถึง ตำแหนKงโดยรอบของศาลาป‘’นหทัย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
โดยตำแหนKงที่ทำการวัดคKา จะกำหนดเปOนสี่เหลี่ยมจัตุรัสโดยใหDพื้นที่เป€าหมายอยูKจุดกึ่งกลางของ
สี่เหลี่ยมจัตุรัสและวัดเสDนทะแยงมุมจากจุดกึ่งกลางไปยังมุมของสี่เหลี่ยมจัตุรัสเปOนระยะ 40 เมตร
ตึก %
ตึกศิลปะ
ศาลาปิ,นหทัย
โรงอาหาร
ลานหม่อมหลวงปิ,นฯ
ภาพที่ 3 แผนที่บริเวณศาลาป‘’นหทัย
ที่มา google map
7. การดำเนินงานเบื้องตDน หมายถึง การทดลองการใชDงานเครื่องมือและ
การทดลองเก็บคKาเบื้องตDนที่บDานของคณะผูDจัดทำโครงงาน ที่ตำแหนKง
(13.734556, 100.699639)
ภาพที่ 4 แผนที่บริเวณบDานของคณะผูDจัดทำโครงงาน
ที่มา google map
บทที่ 1 บทนำ
1.6 ตัวแปรที่เกี่ยวขLอง
ตัวแปรตDน : ปัจจัยของสภาพแวดล้อมที,มีผลต่อปริมาณฝุ่นละออง ซึ,งได้แก่ อุณหภูมิ, ความชืNน, กระแสลม และ
ความดันอากาศ
ตัวแปรตาม : สมการคาดการณ์ปริมาณฝุ่นละอองในพืNนที,เป้าหมาย
ตัวแปรควบคุม : เครื,องมือตรวจวัดปริมาณฝุ่นละออง ช่วงเวลาในการตรวจวัด สถานที,ที,ทําการตรวจวัด
ตําแหน่งที,ทําการตรวจวัด ระยะเวลาในการตรวจวัด
1. สมการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมายที่สามารถนำไปใชDในการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองไดD
2. เครื่องมือสำหรับวัดและเก็บขDอมูลฝุ`นละอองในอากาศที่สรDางขึ้นเพื่อวัดปริมาณฝุ`นละอองและปTจจัยสิ่งแวดลDอมอื่นๆ
3. สามารถลดคKาใชDจKายในการติดตั้งเครื่องมือวัดปริมาณฝุ`นละออง
1.7 ประโยชน.ที่คาดวUาจะไดLรับ
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง
ฝุ`นละอองในบรรยากาศ คือ อนุภาคของแข็งขนาดเล็กที่ลKองลอยอยูKในอากาศ ซึ่งเกิดจากวัตถุที่ถูกทุบ ตี บด
กระแทก จนแตกออกเปOนชิ้นสKวนเล็ก ๆ เมื่อถูกกระแสลมพัดก็จะปลิวกระจายตัวอยูKในอากาศ และตกลงสูKพื้น ซึ่งเวลา
ในการตกจะชDาหรือเร็วขึ้นอยูKกับน้ำหนักของอนุภาคฝุ`น แหลKงกำเนิดของฝุ`นจะแสดงถึงคุณสมบัติความเปOนพิษของฝุ`น
ดDวย เชKน ตะกั่ว ไฮโดรคาร)บอน กัมมันตรังสี
ฝุ`นแบKงตามขนาดไดDเปOน 2 ชนิด คือ ฝุ`นขนาดใหญK และฝุ`นขนาดเล็ก ซึ่งเรียกวKา PM10 หรือก็คือฝุ`นที่มีขนาด
เล็กกวKา 10 ไมครอน
2.1 ฝุ<น
ภาพที่ 4 ฝุ`นละอองภายในกรุงเทพฯ
ที่มา : https://www.khaosod.co.th/bbc-thai/news_1986432
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง
2.2.1 ตUอสภาพบรรยากาศทั่วไป ฝุ`นละอองจะลดความสามารถในการมองเห็น ทำใหDทัศนวิสัยไมKดี เนื่องจากฝุ`น
ละอองในบรรยากาศเปOนอนุภาคของแข็งที่ดูดซับและหักเหแสงไดD ทั้งนี้ขึ้นอยูKกับขนาดและความหนาแนKน และองค)ประกอบ
ของฝุ`นละออง
2.2.2 ตUอวัตถุและสิ่งกUอสรLางฝุ<นละอองที่ตกลงมา ทำใหDเกิดความสกปรกแกKบDานเรือน อาคาร สิ่งกKอสรDางแลDว
รวมถึงอาจเกิดการทำลายและกัดกรKอนผิวหนDาของโลหะ หินอKอน หรือวัตถุอื่น ๆ เชKน รั้วเหล็ก หลังคาสังกะสี รูปปT—น
2.2.3 ตUอสุขภาพอนามัย ฝุ`นละอองจะทำใหDเกิดอาการระคายเคืองตาแลDว รวมถึงทำอันตรายตKอระบบหายใจ
เมื่อเราสูดเอาอากาศที่มีฝุ`นละอองเขDาไป โดยอาการระคายเคืองนั้นจะเกิดขึ้นตามสKวนตKาง ๆ ของระบบทางเดินหายใจขึ้นอยูK
กับขนาดของฝุ`นละออง โดยฝุ`นที่มีขนาดใหญKรKางกายจะดักไวDไดDที่ขนจมูก สKวนฝุ`นที่มีขนาดเล็กนั้นสามารถเล็ดลอดเขDาไปใน
ระบบหายใจ ทำใหDระคายเคือง แสบจมูก ไอ จาม มีเสมหะ หรือมีการสะสมของฝุ`นในถุงลมปอด ทำใหDการทำงานของปอด
เสื่อมลง
2.2 ผลกระทบของฝุ<น
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง
2.3 วิธีการตรวจวัดปริมาณฝุ<น
2.3.1 เครื่องวัดระบบ Beta Ray ที่ใชDหลักการฉายรังสีเบตDา ไปยังฝุ`นละอองบนแผKนกรองซึ่งดูดผKานหัวคัด
ขนาดสำหรับฝุ`นละออง ขนาดไมKเกิน 10 ไมครอน และวัดความสามารถในการดูดซับรังสีเบตDาเพื่อนำมาแปลงเปOนคKาเฉลี่ย
ของฝ`ุนละอองในบรรยากาศ
2.3.2 เครื่องวัดระบบ Tapered Element Oscillating Microbalance ที่ใชDหลักการดูดอากาศ ผKานหัวคัด
ขนาดสำหรับฝ`ุนละอองไมKเกิน 10 ไมครอน เพื่อใหDฝ`ุนละอองตกสะสมบนแผKนกรองในขณะสั่นสะเทือนและแปลงคKา
ความสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นเปOนคKาเฉลี่ยของฝ`ุนละอองในบรรยากาศ
2.3.3 เครื่องวัดระบบ Dichotomous ที่ใชDหลักการดูดอากาศผKานหัวคัดขนาดสำหรับฝ`ุนละอองขนาดไมKเกิน
10 ไมครอน ใหDตกกระทบกับอุปกรณ)คัดแยกฝ`ุนละอองที่แนKนอน (Virtual Impactor) เพื่อแยกฝ`ุนละอองออกเปOนสอง
ขนาดคือขนาดไมKเกิน 2.5 ไมครอน และขนาดตั้ง แตK 2.5 ไมครอน แตKไมKเกิน 10 ไมครอน แลDวนำแผKนกรองทั้งสองแผKน
มาชั่งหาน้ำหนักรวมของฝ`ุนละอองทั้งหมด
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง
ภาพที่ 5 เครื่องวัดระบบ Beta Ray
ที่มา http://infofile.pcd.go.th/air/200257_1
.pdf?CFID=1631396&CFTOKEN=75718311
ภาพที่ 6 เครื่องวัดระบบ Tapered Element
Oscillating Microbalance
ที่มา http://infofile.pcd.go.th/air/200257_1
.pdf?CFID=1631396&CFTOKEN=75718311
ภาพที่ 7 เครื่องวัดระบบ Dichotomous
ที่มา http://infofile.pcd.go.th/air/200257_1
.pdf?CFID=1631396&CFTOKEN=75718311
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง
2.4 การหาสมการแนวโนLมของปริมาณฝุ<นละอองโดยใชLอนุกรมเวลา
เปOนการพยากรณ)โดยใชDขDอมูลในอดีต ซึ่งลักษณะของขDอมูลในอดีตอาจแยกสKวนประกอบไดDเปOน 4 สKวน ไดDแกK
1. แนวโนDม (Trend) แยกไดDเปOนแนวโนDมขาขึ้นและแนวโนDมขาลง
2. ฤดูกาล (Seasonality) การเคลื่อนไหวของขDอมูลจะขึ้นลงตามแตKละฤดูกาล
3. วัฏจักร (Cyclical) การเคลื่อนไหวขDอมูลสำหรับระยะเวลานานซึ่งจะมีลักษณะเหมือนคลื่นวงจร
4. เหตุการณ)ผิดปกติ (Random or Irregular)
ลักษณะความสัมพันธ)ของขDอมูลอาจเขียนไดD 2 ลักษณะคือ กฎผลบวกและกฎผลคูณ ซึ่งสKวนมากนิยมใชDกฏผลคูณ
มากกวKากฏผลบวก
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง
2.4.2 การหาแนวโนLมแบบเสLนตรงโดยวิธียกกำลังสองนLอยที่สุด เปOนการหาแนวโนDมเสDนตรงที่จะทำใหDผลรวม
ของคKาเบี่ยงเบนจากเสDนแนวโนDมที่ยกกำลังสองรวมกันแลDวต่ำสุด ซึ่งสามารถแสดงเปOนสมการไดDดังนี้
y = ab + x
เมื่อ y = คKาที่ตDองการพยากรณ) หรือตัวแปรตาม
a = คKาคงที่ ที่ตัดแกน y
b = คKาความชันของเสDนตรง
x = คKาตัวแปรอิสระ
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง
2.4 โปรแกรม Arduino
เปOนบอร)ดไมโครคอนโทรเลอร)ตระกูล AVR ที่มีการพัฒนาแบบ Open Source คือมีการเป‘ดเผยขDอมูลทั้ง
ดDาน Hardware และ Software ตัว บอร)ด Arduino ถูกออกแบบมาใหDใชDงานไดDงKาย ดังนั้นจึงเหมาะสำหรับผูDเริ่มตDน
ศึกษา ทั้งนี้ผูDใชDงานยังสามารถดัดแปลง เพิ่มเติม พัฒนาตKอยอดทั้งตัวบอร)ด หรือโปรแกรมตKอไดDอีกดDวย
โดย Arduino แบKงไดDเปOน 2 สKวนไดDแกK
1. สKวนที่เปOน Hardware คือ บอร)ดอิเล็กทรอนิกส)ขนาดเล็กสำหรับนำมาตKอกับอุปกรณ)อิเล็กทรอนิกส)อื่นๆ
2. สKวนที่เปOน Software คือ ภาษา Arduino (ภาษา C/C++) และ Arduino IDE สำหรับเขียนและอัพโหลดโปรแกรม
ลงบอร)ด
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง
2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวขLอง
2.5.1 การศึกษาปริมาณฝุ<นละอองรวมและฝุ<นละอองขนาดเล็กกวUา 10 ไมครอนในบรรยากาศภายใน
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ผลการศึกษาพบวKา ปริมาณฝุ`นละอองรวมในอากาศของจุดเก็บตัวอยKางของพื้นที่การจราจร มีคKาอยูK
ในชKวง 0.208–0.417mg/m3 โดยมีคKาเฉลี่ยเทKากับ 0.316mg/m3และพบวKามี2จุดที่มีคKา เกินเกณฑ)มาตรฐานที่
กำหนดไวDที่ 0.33 mg/m3 ที่เวลา 24 ชั่วโมง คือ บริเวณคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร)และการสื่อสาร และ
บริเวณหอพักอาจารย)มหาวิทยาลัยนเรศวร ซึ่งมีคKา 0.347 และ 0.417 ตามลำดับ สำหรับจุดเก็บตัวอยKางในพื้นที่
การกKอสรDางพบวKามีคKาอยูKในชKวง 0.556 – 1.528 mg/m3 โดยมีคKาเฉลี่ยเทKากับ 1.042 mg/m3 และพบวKามี 2 จุด
ที่มีคKาเกินเกณฑ)มาตรฐานที่กำหนดไวD ที่ 0.33 mg/m3 ที่เวลา 24 ชั่วโมง คือ การกKอสรDางบริเวณหอสมุด และ
การกKอสรDางบริเวณระบบ บำบัดน้ำเสีย ซึ่งมีคKา 0.556 และ 1.528 ตามลำดับ
รวิวรรณ ลิ้มพิบูลย). (2558). การศึกษาปริมาณฝุ<นละอองรวมและฝุ<นละอองขนาดเล็กกวUา 10 ไมครอนใน บรรยากาศภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก. Retrieved May 24, 2019. From
http://www.agi.nu.ac.th/nred/Document/is-PDF/2558/nre_2558_04_FullPaper.pdf
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง
2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวขLอง
2.5.2 การเปรียบเทียบความสามารถของเซนเซอร. SDS011 และ เซ็นเซอร. PMS7003 สำหรับตรวจ
วัดปริมาณฝุ<นละอองขนาดเล็กกวUา 2.5 ไมครอน
งานวิจัยนี้มีจุดมุKงหมายในการเปรียบเทียบเซนเซอร)วัดปริมาณฝุ`นละอองสองตัว คือเซนเซอร) SDS011
และ เซนเซอร) PMS7003 ในดDานตKางๆไดDแกK ราคา, ชKวงการวัด, ความคลาดเคลื่อน, ชKวงเวลาการใชDงาน, การรับคKา,
ประเภทการใชDงาน, ผลิตภัณฑ)ที่อKานคKาไดD (ชนิดของฝุ`นละออง) และ ซอฟต)แวร)สำหรับใชDงานเซนเซอร) ซึ่งไดDผล
ออกมาดังนี้
Bing Nguyen. (2019). PM2.5 low-cost sensors and calibration data for SDS011 and PMS7003. Retrieved May 24, 2019. From https://www.researchgate.net/prof
ile/Binh_Nguyen91/publication/333891464/inline/jsViewer/5d0ae42292851cfcc6251e2c
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง
2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวขLอง
2.5.3 การตรวจวัดสภาพอากาศแบบตามเวลาจริงผUานโปรแกรมจำลอง LabVIEW
ในปTจจุบัน สภาพอากาศนั้นมีความแปรปรวนเปOนอยKางมากซึ่งการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศเชKนนี้จะ
สKงผลตKอการเดินทาง, การทำงาน และการทำกิจกรรมตKางๆ คณะผูDจัดทำงานวิจัยนี้จึงเกิความคิดที่จะสรDางระบบ
ตรวจวัดสภาพอากาศแบบตามเวลาจริง (Real Time) โดยใชDเซนเซอร)วัดความดันอากาศ BMP280 และเซนเซอร)
วัดความชื้นในอากาศ DHT22 ซึ่งจะอKานคKาผKานโปรแกรมจำลองการทำงาน (LabVIEW) ผลการศึกษาพบวKาระบบ
ที่สรDางขึ้นสามารถอKานคKาขDอมูลตKางๆ ซึ่งไดDแกKคKาความดันอากาศและคKาความชื้นในอากาศโดยสามารถแสดงผล
ตามเวลาจริง ณ ขณะนั้นไดD
Abhishek Mungekar. (2018). Real time weather surveillance via lab view interfaced Arduino. Retrieved May 24, 2019. From https://www.researchgate.net/profile/Ab
hishek_Mungekar/publication/328774784/inline/jsViewer/5c54b93a458515a4c75031a0
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง
2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวขLอง
2.5.4 การสรLางแอนนิโมมิเตอร.แบบเรียลไทม.สำหรับการตรวจวัดความเร็วลม, ทิศทางลม และ อุณหภูมิ
งานวิจัยนี้มีจุดมุKงหมายในการสรDางเครื่องมือวัดความเร็วลม, ทิศทางลม และอุณหภูมิแบบตามเวลาจริง
หรือก็คือขDอมูลแบบเรียลไทม)เพื่อนำขDอมูลมาวิเคราะห)ถึงความสามารถในการสรDางพลังงานไฟฟ€าจากกระแสลมใน
บริเวณหาดพูเกอร) ที่อินโดนีเซีย (Puger beach, Jember, Indonesia) ซึ่งในงานวิจัยนี้เราจะใชDเซนเซอร)วัด
ความเร็วลม (wind speed sensor) ในการวัดคKาความเร็วลม, เซนเซอร) CMPS03 ในการวัดทิศทางโดยสั่งการใหD
แสดงผลเปOนองศาตั้งแตK 0 องศา ถึง 360 องศา, Real Time Clock (RTC) หรือระบบวัดเวลาตามจริง ในการวัด
และบันทึกขDอมูล และ เซนเซอร)วัดอุณหภูมิ DS1621 ในการแสดงคKาอุณหภูมิของสิ่งแวดลDอม
Triwahju Hardianto. (2017). Design of Real Time Anemometer Based on Wind Speed-Direction and Temperature. Retrieved May 24, 2019. From https://www.resea
rchgate.net/publication/322346192_Design_of_Real_Time_Anemometer_Based_on_Wind_SpeedDirection_and_Temperature/inline/jsViewer/5a556fc045851
547b1bd6991
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน
3.1 วัสดุ – อุปกรณ.ที่ใชLในการทำโครงงาน
1. เครื่องมือตรวจวัดปริมาณมลพิษทางอากาศ
- เซนเซอร) PMS7003 (สำหรับตรวจวัดปริมาณฝุ`น)
- เซนเซอร) DHT22 Arduino (สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้น)
- เซนเซอร) BMP280 (สำหรับตรวจวัดความดันอากาศ)
- เซนเซอร)วัดความเร็วลม (Wind speed sensor)
- เซนเซอร) DS3231 (สำหรับบอกเวลา)
- สายUSB , สายจัมเปอร)
- บอร)ด Arduino Uno
- Breadboard
- รางถKานแบบใสKถKาน 4 กDอน และถKาน AA 1.5 V
2. คอมพิวเตอร) MacBook Air 2018
3. โปรแกรม Arduino IDE
4. เทอร)โมมิเตอร)
5. บารอมิเตอร)
6. เครื่องวัดความชื้น
7. เครื่องวัดความเร็วลม
8. หัวแรDงบัดกรี
9. ลวดตะกั่ว
ภาพที่ 9 โปรแกรม Arduino IDE
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน
ภาพที่ 8 บอร)ด Arduino Uno
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
ภาพที่ 10 รางถKานและถKานAA 1.5 V 4 กDอน
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน
ภาพที่ 11 เซนเซอร) PMS7003
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
ภาพที่ 12 เซนเซอร) DHT22 Arduino
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
ภาพที่ 13 เซนเซอร) BMP280
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน
ภาพที่ 14 เซนเซอร)วัดความเร็วลม
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
ภาพที่ 16 สาย USB
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
ภาพที่ 17 breadboard
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
ภาพที่ 15 เซนเซอร) DS3231
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน
ภาพที่ 18 เทอร)โมมิเตอร)
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
ภาพที่ 19 บารอมิเตอร)
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
ภาพที่ 20 เครื่องวัดความชื้น
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน
ภาพที่ 21 เครื่องวัดความเร็วลม
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
ภาพที่ 22 สายจัมเปอร)
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
ภาพที่ 23 หัวแรDงบัดกรี
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
ภาพที่ 24 ลวดตะกั่ว
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน
3.3 วิธีการศึกษาคLนควLา แบKงเปOน 3 ตอนไดDแกK
ตอนที่ 1 สรDางเครื่องมือตรวจวัดปริมาณฝุ`นละอองในอากาศและตรวจสอบทดลองใชDเครื่องมือเบื้องตDน
ตอนที่ 2 สรDางสมการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมาย
ตอนที่ 3 คาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองภายในพื้นที่เป€าหมาย
สรDางเครื่องมือตรวจวัด
ปริมาณฝุ`นละอองในอากาศ
และทำการตรวจสอบทดลอง
ใชDเครื่องมือเบื้องตDน
สรDางสมการคาดการณ)
ปริมาณฝุ`นละอองในอากาศ
ในพื้นที่เป€าหมาย
คาดการณ)ปริมาณฝุ`น
ละอองภายในพื้นที่
เป€าหมาย
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน
ตอนที่ 1 สรDางเครื่องมือตรวจวัดปริมาณฝุ`นละอองในอากาศและทำการตรวจสอบทดลองใชDเครื่องมือเบื้องตDน
1) รKางแบบอุปกรณ)และแบบวงจรสำหรับตKอเซนเซอร)
2) นำเซนเซอร) PMS7003, เซนเซอร) DHT22 Arduino, เซนเซอร) BMP280, เซนเซอร)วัดความเร็วลม,
เซนเซอร) DS3231 แตKละตัวแปรมาเขียนโคDดลงโปรแกรม Arduino IDE เพื่อทดสอบการใชDงาน
พรDอมทดลองอKานคKาเทียบกับคKาที่ไดDจากเครื่องมือมาตรฐาน
3) ตKอ เซนเซอร) PMS7003, เซนเซอร) DHT22 Arduino, เซนเซอร) BMP280 , เซนเซอร)วัดความเร็วลม
, เซนเซอร) DS3231 ที่ผKานการตรวจวัดเปรียบเทียบกับเครื่องมือมาตรฐาน กับ Breadboard และ
Arduino Uno ตามที่ไดDทำการรKางแบบวงจรไวD
4) เขียนโคDดใชDงานเซนเซอร)ใหDอKานคKาลงในโปรแกรม Arduino พรDอมตKอสาย USB เชื่อมกับเครื่องมือ
ที่ตKอไวD
5) ทดสอบการทำงานของเซนเซอร)ตKางๆหลังตKอวงจรและเขียนโคDดเสร็จ
6) ทดลองตรวจวัดคKาเบื้องตDน และตรวจสอบการทำงานรKวมกันของเซนเซอร)รวมถึงการทำงานโดยรวม
ของเครื่องมือ
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน
ตอนที่ 2 สรDางสมการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองภายในอากาศในพื้นที่เป€าหมาย
1) เก็บขDอมูลอุณหภูมิ ความชื้น กระแสลม ความดันอากาศ และ ปริมาณฝุ`นละออง ภายใน
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาที่พื้นที่เป€าหมายและพื้นที่รอบๆพื้นที่เป€าหมายอีก 4 ตำแหนKง ในชKวง
เดือน พฤศจิกายน - ธันวาคม พ.ศ. 2562 จากเครื่องมือวัดปริมาณฝุ`นละอองที่สรDางขึ้น
2) นำขDอมูลที่ไดDมาสรDางสมการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมายกับพื้นที่รอบพื้นที่
เป€าหมายอีก 4 ตำแหนKง โดยวิธีการตKางๆเชKน การหาความสัมพันธ) และนำสมการที่ไดDมาใสK
ขDอมูลแบบสุKมเพื่อหาสมการที่มีความคลาดเคลื่อนนDอยที่สุด
3) คัดเลือกสมการที่มีความคลาดเคลื่อนนDอยที่สุดมาใชDในตอนตKอไป
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน
ตอนที่ 3 คาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมาย
1) นำเครื่องมือที่ตรวจวัดปริมาณฝุ`นละอองในอากาศที่สรDางขึ้นมาตรวจวัดปริมาณฝุ`นละออง
ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา บริเวณพื้นที่เป€าหมายและพื้นที่โดยรอบพื้นที่เป€าหมาย
เพื่อตรวจสอบสมการวKาสามารถคาดการณ)ไดDอยKางถูกตDองหรือไมK
2) นำเครื่องมือตรวจวัดปริมาณฝุ`นละอองในอากาศที่สรDางขึ้นมาตรวจวัดปริมาณฝุ`นละออง
บริเวณศาลาป‘’นหทัยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ในชKวงเดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม พ.ศ. 2562
3) นำขDอมูลสภาพแวดลDอมที่วัดไดDมาคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองที่เกิดขึ้นในพื้นที่เป€าหมายโดย
หาจากสมการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมาย
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน
แผนปฏิบัติงาน
ป@ 2562 ป@ 2563
มิ.ย. ก.ค. ส.ค ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.
1.เสนอและปรับปรุงเคDาโครงโครงงาน
2.ศึกษาขDอมูลเพิ่มเติม
3.สรDางเครื่องมือตรวจวัดปริมาณฝุ`นละออง
4.ตรวจวัดปริมาณฝุ`นละออง
5.คาดการณ)แนวโนDมจากขDอมูลที่วัดไดD
6.สรุปผลและเขียนนรายงานผล
7.นำเสนอโครงงาน
8.จัดทำรูปเลKมและโปสเตอร)
9.นำเสนอโปสเตอร)
บทที่ 4 ผลการดำเนินงานเบื้องตLน
ตารางที, % แสดงตัวอย่างค่าที,อ่านได้จากเครื,องมือตัวที, % ตารางที, X แสดงตัวอย่างค่าที,อ่านได้จากเครื,องมือตัวที, Y
บทที่ 4 ผลการดำเนินงานเบื้องตLน
จากตารางแสดงตัวอยKางคKาความดันอากาศ, ความชื้น, อุณหภูมิ, ความเร็วลม และปริมาณฝุ`นละอองที่อKาน
ไดDโดยเครื่องมือที่สรDางขึ้น พบวKาเครื่องมือที่สรDางขึ้นนั้นสามารถใชDวัดคKาไดD แตKคKาที่วัดไดDจากเครื่องมือแตKละตัวนั้นมีคKา
ใกลDเคียงกัน อยKางเชKนในเวลา 03:00:00 ของวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2562 คKาความกดอากาศที่วัดไดDจากเครื่องมือ
ทั้งสองตัวที่นำมาแสดงเปOนตัวอยKางนั้นอยูKที่ 101187.46 และ 101187.37 พาสคาล ตามลำดับ ซึ่งอาจเกิดจาก
การที่เครื่องมือที่ทำการวัดอยูKใกลDเคียงกันมาก จึงทำใหDการหาความสัมพันธ)ของปTจจัยตKางๆที่มีผลตKอปริมาณฝุ`นละออง
ณ พื้นที่เป€าหมายเปOนไปไดDยาก และเครื่องมือที่สรDางขึ้นนั้นเกิดความผิดพลาดในการทำงานเปOนบางครั้ง คือ การที่
เครื่องมือหยุดการทำงานจึงทำใหDไมKสามารถอKานคKาในชKวงเวลานั้นไดD อยKางเชKนในสKวนของเครื่องมือตัวที่ 1 ณ เวลา
18:00:00 ของวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2562 และการที่เซนเซอร)วัดความชื้นนั้นวัดคKาไดDสูงจากปกติ เชKนในเวลา
21:00:00 ของวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ที่ทำการวัดคKาไดDสูงถึง 87.40%
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
4.1 ผลการดำเนินงานเบื้องตLน
กราฟที, % แสดงค่าปริมาณฝุ่นละออง, อุณหภูมิ, ความชืNน,
ความดันอากาศ และความเร็วลมเฉลี,ยรายวันที,วัดได้จาก
เครื,องมือตัวที, % ตัNงแต่วันที, %% - %^ ต.ค. X_`X
จากกราฟแสดงคKาปริมาณฝุ`นละออง, อุณหภูมิ,
ความชื้น, ความดันอากาศ และความเร็วลมจะเห็นไดD
วKาความชื้นนั้นมีความสัมพันธ)กับคKาปริมาณฝุ`นละออง
คKอนขDางมาก สังเกตไดDจากการที่เมื่อคKาความชื้นสูงขึ้น
คKาปริมาณฝุ`นละอองจะลดต่ำลงอยKางเห็นไดDชัดจาก
กราฟ และเมื่อคKาอุณหภูมิต่ำลงจะเห็นไดDวKาปริมาณฝุ`น
ละอองจะต่ำลงเชKนเดียวกัน ในสKวนของคKาความดัน
อากาศนั้นมีคKาคKอนขDางใกลDเคียงกันมากในทุกๆวันทำ
ใหDเห็นความแตกตKางไดDยากเชKนเดียวกับคKาความเร็วลม
ความเร็วลม (m/s)
ความดันอากาศ (kPa)
ความชื:น (%)
ปริมาณฝุ่นละออง (µg/m3)
อุณหภูมิ (C)
บทที่ 4 ผลการดำเนินงานเบื้องตLน
อุณหภูมิ (C)ปริมาณฝุ่นละออง (µg/m3)
กราฟที, X แสดงค่าปริมาณฝุ่นละอองเฉลี,ยรายวันที,เครื,องมือ
วัดค่าทัNง _ ตัววัดได้ตัNงแต่วันที, %% - %^ ต.ค. X_`X
กราฟที, h แสดงค่าอุณหภูมิเฉลี,ยรายวันที,เครื,องมือ
วัดค่าทัNง _ ตัววัดได้ตัNงแต่วันที, %% - %^ ต.ค. X_`X
เครื,องมือตัวที, %
เครื,องมือตัวที, X
เครื,องมือตัวที, h
เครื,องมือตัวที, Y
เครื,องมือตัวที, _
เครื,องมือตัวที, %
เครื,องมือตัวที, X
เครื,องมือตัวที, h
เครื,องมือตัวที, Y
เครื,องมือตัวที, _
บทที่ 4 ผลการดำเนินงานเบื้องตLน
ความดันอากาศ (kPa)ความชื:น (%)
เครื,องมือตัวที, %
เครื,องมือตัวที, X
เครื,องมือตัวที, h
เครื,องมือตัวที, Y
เครื,องมือตัวที, _
เครื,องมือตัวที, %
เครื,องมือตัวที, X
เครื,องมือตัวที, h
เครื,องมือตัวที, Y
เครื,องมือตัวที, _
กราฟที, Y แสดงค่าความชืNนเฉลี,ยรายวันที,เครื,องมือวัดค่าทัNง _ ตัว
วัดได้ตัNงแต่วันที, %% - %^ ต.ค. X_`X
กราฟที, _ แสดงค่าความดันอากาศเฉลี,ยรายวันที,เครื,องมือวัด
ค่าทัNง _ ตัววัดได้ตัNงแต่วันที, %% - %^ ต.ค. X_`X
บทที่ 4 ผลการดำเนินงานเบื้องตLน
เครื,องมือตัวที, %
เครื,องมือตัวที, X
เครื,องมือตัวที, h
เครื,องมือตัวที, Y
เครื,องมือตัวที, _
กราฟที, ` แสดงค่าความเร็วลมเฉลี,ยรายวันที,เครื,องมือวัดค่าทัNง _ ตัว
วัดได้ตัNงแต่วันที, %% - %^ ต.ค. X_`X
ความเร็วลม (m/s)
จากกราฟแสดงคKาความเร็วลมจะเห็นไดDวKาปรากฏ
เสDนกราฟใหDเห็นแคK 3 เสDน เนื่องจากการที่คKาทับซDอน
กันอยูKที่ตำแหนKงความเร็วลมเปOน 0 m/s ซึ่งคาดวKาเกิด
จากการที่ตั้งเครื่องมือไวDคKอนขDางต่ำ ทำใหDกระแสลมพัด
ผKานนDอยจึงไมKสามารถวัดคKาไดDอยKางชัดเจน
บทที่ 5 สรุป อภิปราย และขLอเสนอแนะ
สรุปผลการทดลอง
1. เครื่องมือที่สรDางขึ้นจากเซนเซอร) PMS7003 สำหรับตรวจวัดปริมาณฝุ`นละออง, เซนเซอร) DHT22 Arduino
สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้น, เซนเซอร) BMP280 สำหรับตรวจวัดความดันอากาศ และเซนเซอร)วัด
ความเร็วลม สามารถใชDเก็บวัดคKาและแสดงผลออกมาไดD
2. จากการวัดสำรวจคKาปริมาณฝุ`นละอองดDวยเครื่องมือที่สรDางขึ้นนั้นจะเห็นไดDวKาปริมาณฝุ`นละอองขึ้นอยูKกับ
ความชื้นเปOนหลัก โดยในวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2562 มีคKาปริมาณฝุ`นละอองเฉลี่ยที่วัดไดDจากเครื่องมือสูงที่สุด
นั่นคือ 30.56 µg/m3 และมีคKาความชื้นเฉลี่ยต่ำสุดคือ 57.56 %
เครื,องมือตัวที, %
เครื,องมือตัวที, X
เครื,องมือตัวที, h
เครื,องมือตัวที, Y
เครื,องมือตัวที, _
ปริมาณฝุ่นละออง (µg/m3)
กราฟที, i แสดงค่าปริมาณฝุ่นละอองเที,เครื,องมืดวัด
ค่าทัNง _ ตัววัดได้และตัNงแต่วันที, %% - %^ พ.ย. X_`X
บทที่ 5 สรุป อภิปราย และขLอเสนอแนะ
อภิปรายผล
1. เครื่องมือที่สรDางขึ้นจากเซนเซอร) PMS7003 สำหรับตรวจวัดปริมาณฝุ`นละออง, เซนเซอร) DHT22 Arduino
สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้น, เซนเซอร) BMP280 สำหรับตรวจวัดความดันอากาศ และเซนเซอร)วัด
ความเร็วลม สามารถใชDเก็บวัดคKาและแสดงผลออกมาไดD ซึ่งสอดคลDองกับโครงงานของคุณ Abhishek
Mungekar เรื่อง การตรวจวัดสภาพอากาศแบบตามเวลาจริงผKานโปรแกรมจำลอง LabVIEW, ของคุณ Bing
Nguyen เรื่องการเปรียบเทียบความสามารถของเซนเซอร) SDS011 และ เซ็นเซอร) PMS7003 สำหรับตรวจวัด
ปริมาณฝุ`นละอองขนาดเล็กกวKา 2.5 ไมครอน และของคุณ Triwahju Hardianto เรื่อง การสรDาง
แอนนิโมมิเตอร)แบบเรียลไทม)สำหรับการตรวจวัดความเร็วลม, ทิศทางลม และอุณหภูมิ
2. จากการสำรวจคKาปริมาณฝุ`นละอองและปTจจัยสิ่งแวดลDอมอื่นๆพบวKาปTจจัยที่สKงผลตKอปริมาณฝุ`นละอองมากที่สุด
คือความชื้นและอุณหภูมิตามลำดับ ซึ่งสอดคลDองกับงานวิจัยของคุณตระวรรณ หาญกิจรุKง เรื่องอิทธิพลของ
ปTจจัยทางอุตุนิยมวิทยาและการจราจรตKอปริมาณฝุ`นละอองขนาดไมKเกิน 10 ไมครอน ของพื้นที่ริมถนนในเขต
กรุงเทพมหานคร
บทที่ 5 สรุป อภิปราย และขLอเสนอแนะ
ขLอเสนอแนะ
1. เวDนระยะหKางของเครื่องมือแตKละตัวใหDมากขึ้นเพื่อที่จะไดDสามารถเห็นความแตกตKางของคKาที่วัดไดD
มากขึ้นและสามารถสรDางความสัมพันธ)ของปTจจัยตKางๆไดDชัดเจนขึ้น
2. ติดตั้งเครื่องมือใหDสูงจากพื้นดินเพื่อที่จะไดDสามารถวัดคKาความเร็วลมไดDอยKางชัดเจน
3. ควรเพิ่มระยะเวลาในการวัดคKาตKางๆเพื่อที่จะไดDสามารถสรDางสมการที่มีความแมKนยำขึ้น
ตารางที, % แสดงตัวอย่างค่าที,อ่านได้จากเครื,องมือตัวที, %
เอกสารอLางอิง
กรมควบคุมมลพิษ. (2554). ดัชนีคุณภาพอากาศ. Retrieved May 10, 2019. From http://aqmthai.com
/aqi_info.php
วิษณุ อรรถวานิช. (2562). ตLนทุนของสังคมไทยจากมลพิษทางอากาศและมาตรการรับมือ. Retrieved May
18, 2019. From https://www.pier.or.th/wp-content/uploads/2019/04/aBRIDGEd_2019_
007.pdf
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2548). อนุกรมเวลา. Retrieved May 24, 2019. From http://www2.fpo.g
o.th/S-I/Source/ECO/ECO24.htm
รวิวรรณ ลิ้มพิบูลย). (2558). การศึกษาปริมาณฝุ<นละอองรวมและฝุ<นละอองขนาดเล็กกวUา 10 ไมครอนใน
บรรยากาศภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก. Retrieved May 24, 2019. From
http://www.agi.nu.ac.th/nred/Document/is-PDF/2558/nre_2558_04_FullPaper.pdf
เอกสารอLางอิง
Abhishek Mungekar. (2018). Real time weather surveillance via lab view interfaced Arduino.
Retrieved May 24, 2019. From https://www.researchgate.net/profile/Abhishek_Mun
gekar/publication/328774784/inline/jsViewer/5c54b93a458515a4c75031a0
American Lung Association. (2019). Particle Pollution. Retrieved May 10, 2019. From https://
www.lung.org/our-initiatives/healthy-air/outdoor/air-pollution/particle-pollution.html
Bing Nguyen. (2019). PM2.5 low-cost sensors and calibration data for SDS011 and PMS7003.
Retrieved May 24, 2019. From https://www.researchgate.net/profile/Binh_Nguyen91/pu
blication/333891464/inline/jsViewer/5d0ae42292851cfcc6251e2c
Mighty Mechanical. Forecasting Fundamentals. Retrieved May 24, 2019. From https://mec
h.at.ua/Forecasting.pdf
เอกสารอLางอิง
Triwahju Hardianto. (2017). Design of Real Time Anemometer Based on Wind Speed-
Direction and Temperature. Retrieved May 24, 2019. From https://www.researchga
te.net/publication/322346192_Design_of_Real_Time_Anemometer_Based_on_Wind_Sp
eed-Direction_and_Temperature/inline/jsViewer/5a556fc045851547b1bd6991
ภาคผนวก
ภาพ แสดงการบัดกรีเซนเซอร์ BMP280
ที่มา: นายณัฐทพงศ) รัตนโชคสิริกูล
ภาพ แสดงการทดลองการทํางานของเซ็นเซอร์
ที่มา: นายณัฐทพงศ) รัตนโชคสิริกูล
ภาพ แสดงการทดลองอ่านค่าที,ได้จากเซ็นเซอร์เทียบ
กับเครื,องมือมาตรฐาน
ที่มา: นายณัฐทพงศ) รัตนโชคสิริกูล
ภาคผนวก
ภาพ แสดงการต่อวงจรเซ็นเซอร์ ภาพ แสดงเครื,องมือที,สร้างขึNนจากเซ็นเซอร์ต่างๆ
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
ภาคผนวก
ภาพ แสดงการใช้เครื,องมือวัดค่า
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
ภาพ แสดงค่าที,วัดได้จากเครื,องมือ
ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
Thank you for listening
Pptgst uprojectsmall62

More Related Content

What's hot

กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ nareudol niramarn
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์0636830815
 
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
Pptgst uprojectplastic62
Pptgst uprojectplastic62Pptgst uprojectplastic62
Pptgst uprojectplastic62
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
M6 144 60_4
M6 144 60_4M6 144 60_4
M6 144 60_4
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
 
Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
การเพาะเห็ดขอนขาว
การเพาะเห็ดขอนขาวการเพาะเห็ดขอนขาว
การเพาะเห็ดขอนขาว
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 

Similar to Pptgst uprojectsmall62

จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...dnavaroj
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้pooh_monkichi
 
วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1nakaenoi
 
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัยใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัยKobwit Piriyawat
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Pises Tantimala
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งTaweesak Poochai
 
Academic history
Academic historyAcademic history
Academic historyplamypla
 

Similar to Pptgst uprojectsmall62 (20)

จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
 
จุดเน้นที่ 9
จุดเน้นที่ 9จุดเน้นที่ 9
จุดเน้นที่ 9
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
 
วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
V 285
V 285V 285
V 285
 
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัยใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1
 
Newsletter vol 9 5 may 55
Newsletter vol 9 5 may 55Newsletter vol 9 5 may 55
Newsletter vol 9 5 may 55
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
แบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์แบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์
 
Academic history
Academic historyAcademic history
Academic history
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 
Practicsproject gstu62
Practicsproject gstu62Practicsproject gstu62
Practicsproject gstu62
 

Pptgst uprojectsmall62

  • 1. โครงงานการประดิษฐ.เครื่องมือเพื่อสำรวจปริมาณฝุ<นละอองในอากาศบริเวณศาลาปABนหทัย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและสรLางสมการคาดการณ.ปริมาณฝุ<นละอองในพื้นที่เปNาหมาย คณะผูLจัดทำ นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาป@ที่ 5 หDอง 651 อาจารย.ที่ปรึกษาพิเศษ ดร.อภิรักษ) หุKนหลKอ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล โครงงานนี้เปOนสKวนหนึ่งของโครงการพัฒนาศักยภาพพิเศษทางวิทยาศาสตร)สาขาโครงงานวิทยาศาสตร) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ป@การศึกษา 2562 อาจารย.ที่ปรึกษา นางทิพย)อาภา ศรีวรางกูล นายวิชัย ลิขิตพรรักษ) กลุKมสาระวิทยาศาสตร) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. บทที่ 1 บทนำ 1.1 ที่มาและความสำคัญ ปTจจุบันองค)การอนามัยโลก พบวKาปTญหามลพิษทางอากาศเปOนปTญหาที่สรDางความเสียหายสูงสุดจากปTญหา มลพิษทั้งหมด เนื่องจากปTญหามลพิษทางอากาศถือเปOนสาเหตุสำคัญสาเหตุหนึ่งที่ทำใหDอัตราผูDเสียชีวิตกKอนวัยสูงขึ้นถึง 4.2 ลDานคนทั่วโลก ประเทศไทยของเราก็เปOนประเทศหนึ่งที่ไดDรับผลกระทบจากปTญหานี้เปOนอยKางมาก โดยเฉพาะชKวง เดือนมกราคมของป@ พ.ศ. 2562 กรุงเทพมหานครมีคKาปริมาณฝุ`นละอองสูงถึง 90 ไมโครกรัมตKอลูกบาศก)เมตร ซึ่งมี สาเหตุหลักมาจากฝุ`น PM 2.5 ซึ่งฝุ`นชนิดนี้เปOนฝุ`นละอองขนาดเล็กที่สKงผลกระทบตKอสุขภาพเปOนอยKางมาก โดยฝุ`นนี้เมื่อ เขDาไปในรKางกายก็จะสรDางความเสี่ยงตKอการเกิดโรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ และบางครั้งก็อาจจะเลยเขDาไปใน กระแสเลือดและไหลเวียนทั่วรKางกายเรา ซึ่งก็เปOนสาเหตุของโรคหัวใจวาย หลอดเลือดในสมองตีบ ในการวัดคKาปริมาณฝุ`นละออง กรมอุตุนิยมวิทยาจะทำการวัดจากเครื่องมือวัดชนิดตKางๆเชKน เครื่องวัดระบบ Beta Ray, เครื่องวัดระบบ Tapered Element Oscillating Microbalance, และ เครื่องวัดระบบ Dichotomous โดยในการเฝ€าระวังปริมาณฝุ`นละอองในปTจจุบันยังไมKมีหลักการที่แนKชัด มีเพียงการเฝ€าระวังผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจาก ฝุ`นละออง ซึ่งทำใหDเราไมKสามารถเตรียมพรDอมรับมือกับภาวะปริมาณฝุ`นละอองเกินคKามาตรฐานไดDอยKางทันทKวงที
  • 3. บทที่ 1 บทนำ 1.1 ที่มาและความสำคัญ (ตUอ) ทั้งนี้บริเวณอาคารในสถานศึกษาขนาดหลายไรKนั้นอาจทำใหDมีคKาฝุ`นละอองในแตKละจุดไมKเทKากันการติดตั้ง เครื่องตรวจฝุ`นนั้นก็มีคKาใชDจKายที่ไมKสามารถทำใหDติดไดDทุกตึกคณะ ทางผูDจัดทำโครงงานจึงมีความสนใจที่จะสำรวจ ปริมาณฝุ`นละอองภายในอากาศในบริเวณกวDางรวมถึงการสรDางสมการเพื่อคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมาย จากปTจจัยทางสภาพแวดลDอมตKางๆภายในพื้นที่โดยรอบพื้นที่เป€าหมายเพื่อเปOนประโยชน)ในการหาแนวทางเตือนภัยและ ป€องกันมลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้นและหวังวKาโครงงานนี้จะสามารถนำไปใชDไดDกับองค)กรที่มีพื้นที่กวDางขวางและอยูKใน บริเวณที่มีปTญหาฝุ`นละออง ภาพที่ 1 ฝุ`นละอองในกรุงเทพมหานคร ที่มา : https://hilight.kapook.com/view/181721
  • 4. บทที่ 1 บทนำ 1.1 ที่มาและความสำคัญ (ตUอ) ภาพที่ 2 ปริมาณฝุ`น PM 10 คKาเฉลี่ยรายป@ และคKาเฉลี่ยรายพื้นที่ พ.ศ. 2551 - 2560 ที่มา : http://www.onep.go.th/env_data/2016/01_39/
  • 5. บทที่ 1 บทนำ 1.2 วัตถุประสงค.ของโครงงาน 1. สรDางเครื่องมือตรวจวัดปริมาณฝุ`นละอองเพื่อเก็บขDอมูลในโรงเรียน ดDวยเซนเซอร) PMS7003 สำหรับ ตรวจวัดปริมาณฝุ`นละออง, เซนเซอร) DHT22 Arduino สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้น, เซนเซอร) BMP280 สำหรับตรวจวัดความดันอากาศ และเซนเซอร)วัดความเร็วลม 2. สำรวจปริมาณฝุ`นละอองในอากาศภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาดDวยเครื่องมือที่สรDางขึ้น ชKวงระหวKาง เดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม พ.ศ. 2562 ในพื้นที่เป€าหมายและพื้นที่โดยรอบพื้นที่เป€าหมาย 4 ตำแหนKง 3. สรDางสมการความสัมพันธ)ของปริมาณฝุ`นละอองจากพื้นที่เป€าหมายกับพื้นที่โดยรอบพื้นที่เป€าหมาย ทั้ง 4 ตำแหนKงที่เก็บคKาไดD ในชKวงระหวKางเดือนพฤศจิกายน– ธันวาคม พ.ศ. 2562 4. คาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมายโดยใชDขDอมูลพื้นที่เป€าหมายกับพื้นที่โดยรอบพื้นที่เป€าหมาย ทั้ง 4 ตำแหนKงที่เก็บคKาไดD ในชKวงระหวKางเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม พ.ศ. 2562
  • 6. บทที่ 1 บทนำ 1.4 ขอบเขตการศึกษา สถานที่ศึกษา : ศาลาป‘’นหทัยที่ตั้งอยูKภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล ปTจจัยที่ตDองการศึกษา : ขDอมูลของคKาปริมาณฝุ`นละออง, ความชื้น ,อุณหภูมิ, ความดันอากาศ และ กระแสลม ที่เก็บคKาไดDในชKวงเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม พ.ศ. 2562 ชKวงเวลาที่ทำโครงงาน : เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2562 ถึง มกราคม พ.ศ. 2563 1.3 สมมติฐานของการศึกษาคLนควLา ถDาสมการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมายจากขDอมูลที่วัดคKาไดDในบริเวณ โดยรอบพื้นที่เป€าหมายภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาสอดคลDองกับคKาที่วัดไดDจากเครื่องมือตรวจวัด ที่สรDางขึ้น แสดงวKาคKาปริมาณฝุ`นละออง, ความชื้น, อุณหภูมิ, ความดันอากาศ และกระแสลม ภายใน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาที่ไดDจากเครื่องมือตรวจวัดที่สรDางขึ้นผKานโปรแกรม Arduino สามารถใชD คาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมายไดD
  • 7. บทที่ 1 บทนำ 1.5 นิยามเชิงปฏิบัติการ / นิยามศัพท.เฉพาะ 1. ปริมาณฝุ`นละออง หมายถึง ปริมาณฝุ`น PM 10 ในอากาศที่ศาลาป‘’นหทัยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 2. สมการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมาย หมายถึง สมการคาดการณ)ที่ไดDจากความสัมพันธ)ของ อุณหภูมิ ความชื้น กระแสลม และ ความดันอากาศ กับปริมาณฝุ`นละอองในอากาศ ในพื้นที่รอบๆพื้นที่ เป€าหมายกับพื้นที่เป€าหมาย โดยใชDขDอมูลที่เก็บคKาไดDในชKวงเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม พ.ศ. 2562 3. เครื่องมือตรวจวัดปริมาณมลพิษทางอากาศ หมายถึง เครื่องมือที่สรDางขึ้นจากเซนเซอร) PMS7003 สำหรับ ตรวจวัดปริมาณฝุ`น, เซนเซอร) DHT22 Arduino สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้น, เซนเซอร) BMP280 สำหรับตรวจวัดความดันอากาศ และเซนเซอร)วัดความเร็วลม โดยใชDโปรแกรม Arduino 4. เซนเซอร)ตรวจวัดปริมาณฝุ`น หมายถึง เซนเซอร)ชนิดตKางๆที่ตรวจวัดปริมาณฝุ`นรวมถึงเซนเซอร)ที่วัดปTจจัยที่ เกี่ยวขDองกับปริมาณฝุ`น ไดDแกK เซนเซอร) PMS7003 สำหรับตรวจวัดปริมาณฝุ`น, เซนเซอร) DHT22 Arduino สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้น, เซนเซอร) BMP280 สำหรับตรวจวัดความดันอากาศ และเซนเซอร)วัด ความเร็วลม
  • 8. บทที่ 1 บทนำ 1.5 นิยามเชิงปฏิบัติการ / นิยามศัพท.เฉพาะ 5. พื้นที่เป€าหมาย หมายถึง พื้นที่บริเวณศาลาป‘’นหทัยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 6. พื้นที่รอบๆพื้นที่เป€าหมาย หมายถึง ตำแหนKงโดยรอบของศาลาป‘’นหทัย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยตำแหนKงที่ทำการวัดคKา จะกำหนดเปOนสี่เหลี่ยมจัตุรัสโดยใหDพื้นที่เป€าหมายอยูKจุดกึ่งกลางของ สี่เหลี่ยมจัตุรัสและวัดเสDนทะแยงมุมจากจุดกึ่งกลางไปยังมุมของสี่เหลี่ยมจัตุรัสเปOนระยะ 40 เมตร ตึก % ตึกศิลปะ ศาลาปิ,นหทัย โรงอาหาร ลานหม่อมหลวงปิ,นฯ ภาพที่ 3 แผนที่บริเวณศาลาป‘’นหทัย ที่มา google map 7. การดำเนินงานเบื้องตDน หมายถึง การทดลองการใชDงานเครื่องมือและ การทดลองเก็บคKาเบื้องตDนที่บDานของคณะผูDจัดทำโครงงาน ที่ตำแหนKง (13.734556, 100.699639) ภาพที่ 4 แผนที่บริเวณบDานของคณะผูDจัดทำโครงงาน ที่มา google map
  • 9. บทที่ 1 บทนำ 1.6 ตัวแปรที่เกี่ยวขLอง ตัวแปรตDน : ปัจจัยของสภาพแวดล้อมที,มีผลต่อปริมาณฝุ่นละออง ซึ,งได้แก่ อุณหภูมิ, ความชืNน, กระแสลม และ ความดันอากาศ ตัวแปรตาม : สมการคาดการณ์ปริมาณฝุ่นละอองในพืNนที,เป้าหมาย ตัวแปรควบคุม : เครื,องมือตรวจวัดปริมาณฝุ่นละออง ช่วงเวลาในการตรวจวัด สถานที,ที,ทําการตรวจวัด ตําแหน่งที,ทําการตรวจวัด ระยะเวลาในการตรวจวัด 1. สมการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมายที่สามารถนำไปใชDในการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองไดD 2. เครื่องมือสำหรับวัดและเก็บขDอมูลฝุ`นละอองในอากาศที่สรDางขึ้นเพื่อวัดปริมาณฝุ`นละอองและปTจจัยสิ่งแวดลDอมอื่นๆ 3. สามารถลดคKาใชDจKายในการติดตั้งเครื่องมือวัดปริมาณฝุ`นละออง 1.7 ประโยชน.ที่คาดวUาจะไดLรับ
  • 10. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง ฝุ`นละอองในบรรยากาศ คือ อนุภาคของแข็งขนาดเล็กที่ลKองลอยอยูKในอากาศ ซึ่งเกิดจากวัตถุที่ถูกทุบ ตี บด กระแทก จนแตกออกเปOนชิ้นสKวนเล็ก ๆ เมื่อถูกกระแสลมพัดก็จะปลิวกระจายตัวอยูKในอากาศ และตกลงสูKพื้น ซึ่งเวลา ในการตกจะชDาหรือเร็วขึ้นอยูKกับน้ำหนักของอนุภาคฝุ`น แหลKงกำเนิดของฝุ`นจะแสดงถึงคุณสมบัติความเปOนพิษของฝุ`น ดDวย เชKน ตะกั่ว ไฮโดรคาร)บอน กัมมันตรังสี ฝุ`นแบKงตามขนาดไดDเปOน 2 ชนิด คือ ฝุ`นขนาดใหญK และฝุ`นขนาดเล็ก ซึ่งเรียกวKา PM10 หรือก็คือฝุ`นที่มีขนาด เล็กกวKา 10 ไมครอน 2.1 ฝุ<น ภาพที่ 4 ฝุ`นละอองภายในกรุงเทพฯ ที่มา : https://www.khaosod.co.th/bbc-thai/news_1986432
  • 11. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง 2.2.1 ตUอสภาพบรรยากาศทั่วไป ฝุ`นละอองจะลดความสามารถในการมองเห็น ทำใหDทัศนวิสัยไมKดี เนื่องจากฝุ`น ละอองในบรรยากาศเปOนอนุภาคของแข็งที่ดูดซับและหักเหแสงไดD ทั้งนี้ขึ้นอยูKกับขนาดและความหนาแนKน และองค)ประกอบ ของฝุ`นละออง 2.2.2 ตUอวัตถุและสิ่งกUอสรLางฝุ<นละอองที่ตกลงมา ทำใหDเกิดความสกปรกแกKบDานเรือน อาคาร สิ่งกKอสรDางแลDว รวมถึงอาจเกิดการทำลายและกัดกรKอนผิวหนDาของโลหะ หินอKอน หรือวัตถุอื่น ๆ เชKน รั้วเหล็ก หลังคาสังกะสี รูปปT—น 2.2.3 ตUอสุขภาพอนามัย ฝุ`นละอองจะทำใหDเกิดอาการระคายเคืองตาแลDว รวมถึงทำอันตรายตKอระบบหายใจ เมื่อเราสูดเอาอากาศที่มีฝุ`นละอองเขDาไป โดยอาการระคายเคืองนั้นจะเกิดขึ้นตามสKวนตKาง ๆ ของระบบทางเดินหายใจขึ้นอยูK กับขนาดของฝุ`นละออง โดยฝุ`นที่มีขนาดใหญKรKางกายจะดักไวDไดDที่ขนจมูก สKวนฝุ`นที่มีขนาดเล็กนั้นสามารถเล็ดลอดเขDาไปใน ระบบหายใจ ทำใหDระคายเคือง แสบจมูก ไอ จาม มีเสมหะ หรือมีการสะสมของฝุ`นในถุงลมปอด ทำใหDการทำงานของปอด เสื่อมลง 2.2 ผลกระทบของฝุ<น
  • 12. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง 2.3 วิธีการตรวจวัดปริมาณฝุ<น 2.3.1 เครื่องวัดระบบ Beta Ray ที่ใชDหลักการฉายรังสีเบตDา ไปยังฝุ`นละอองบนแผKนกรองซึ่งดูดผKานหัวคัด ขนาดสำหรับฝุ`นละออง ขนาดไมKเกิน 10 ไมครอน และวัดความสามารถในการดูดซับรังสีเบตDาเพื่อนำมาแปลงเปOนคKาเฉลี่ย ของฝ`ุนละอองในบรรยากาศ 2.3.2 เครื่องวัดระบบ Tapered Element Oscillating Microbalance ที่ใชDหลักการดูดอากาศ ผKานหัวคัด ขนาดสำหรับฝ`ุนละอองไมKเกิน 10 ไมครอน เพื่อใหDฝ`ุนละอองตกสะสมบนแผKนกรองในขณะสั่นสะเทือนและแปลงคKา ความสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นเปOนคKาเฉลี่ยของฝ`ุนละอองในบรรยากาศ 2.3.3 เครื่องวัดระบบ Dichotomous ที่ใชDหลักการดูดอากาศผKานหัวคัดขนาดสำหรับฝ`ุนละอองขนาดไมKเกิน 10 ไมครอน ใหDตกกระทบกับอุปกรณ)คัดแยกฝ`ุนละอองที่แนKนอน (Virtual Impactor) เพื่อแยกฝ`ุนละอองออกเปOนสอง ขนาดคือขนาดไมKเกิน 2.5 ไมครอน และขนาดตั้ง แตK 2.5 ไมครอน แตKไมKเกิน 10 ไมครอน แลDวนำแผKนกรองทั้งสองแผKน มาชั่งหาน้ำหนักรวมของฝ`ุนละอองทั้งหมด
  • 13. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง ภาพที่ 5 เครื่องวัดระบบ Beta Ray ที่มา http://infofile.pcd.go.th/air/200257_1 .pdf?CFID=1631396&CFTOKEN=75718311 ภาพที่ 6 เครื่องวัดระบบ Tapered Element Oscillating Microbalance ที่มา http://infofile.pcd.go.th/air/200257_1 .pdf?CFID=1631396&CFTOKEN=75718311 ภาพที่ 7 เครื่องวัดระบบ Dichotomous ที่มา http://infofile.pcd.go.th/air/200257_1 .pdf?CFID=1631396&CFTOKEN=75718311
  • 14. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง 2.4 การหาสมการแนวโนLมของปริมาณฝุ<นละอองโดยใชLอนุกรมเวลา เปOนการพยากรณ)โดยใชDขDอมูลในอดีต ซึ่งลักษณะของขDอมูลในอดีตอาจแยกสKวนประกอบไดDเปOน 4 สKวน ไดDแกK 1. แนวโนDม (Trend) แยกไดDเปOนแนวโนDมขาขึ้นและแนวโนDมขาลง 2. ฤดูกาล (Seasonality) การเคลื่อนไหวของขDอมูลจะขึ้นลงตามแตKละฤดูกาล 3. วัฏจักร (Cyclical) การเคลื่อนไหวขDอมูลสำหรับระยะเวลานานซึ่งจะมีลักษณะเหมือนคลื่นวงจร 4. เหตุการณ)ผิดปกติ (Random or Irregular) ลักษณะความสัมพันธ)ของขDอมูลอาจเขียนไดD 2 ลักษณะคือ กฎผลบวกและกฎผลคูณ ซึ่งสKวนมากนิยมใชDกฏผลคูณ มากกวKากฏผลบวก
  • 15. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง 2.4.2 การหาแนวโนLมแบบเสLนตรงโดยวิธียกกำลังสองนLอยที่สุด เปOนการหาแนวโนDมเสDนตรงที่จะทำใหDผลรวม ของคKาเบี่ยงเบนจากเสDนแนวโนDมที่ยกกำลังสองรวมกันแลDวต่ำสุด ซึ่งสามารถแสดงเปOนสมการไดDดังนี้ y = ab + x เมื่อ y = คKาที่ตDองการพยากรณ) หรือตัวแปรตาม a = คKาคงที่ ที่ตัดแกน y b = คKาความชันของเสDนตรง x = คKาตัวแปรอิสระ
  • 16. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง 2.4 โปรแกรม Arduino เปOนบอร)ดไมโครคอนโทรเลอร)ตระกูล AVR ที่มีการพัฒนาแบบ Open Source คือมีการเป‘ดเผยขDอมูลทั้ง ดDาน Hardware และ Software ตัว บอร)ด Arduino ถูกออกแบบมาใหDใชDงานไดDงKาย ดังนั้นจึงเหมาะสำหรับผูDเริ่มตDน ศึกษา ทั้งนี้ผูDใชDงานยังสามารถดัดแปลง เพิ่มเติม พัฒนาตKอยอดทั้งตัวบอร)ด หรือโปรแกรมตKอไดDอีกดDวย โดย Arduino แบKงไดDเปOน 2 สKวนไดDแกK 1. สKวนที่เปOน Hardware คือ บอร)ดอิเล็กทรอนิกส)ขนาดเล็กสำหรับนำมาตKอกับอุปกรณ)อิเล็กทรอนิกส)อื่นๆ 2. สKวนที่เปOน Software คือ ภาษา Arduino (ภาษา C/C++) และ Arduino IDE สำหรับเขียนและอัพโหลดโปรแกรม ลงบอร)ด
  • 17. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง 2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวขLอง 2.5.1 การศึกษาปริมาณฝุ<นละอองรวมและฝุ<นละอองขนาดเล็กกวUา 10 ไมครอนในบรรยากาศภายใน มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ผลการศึกษาพบวKา ปริมาณฝุ`นละอองรวมในอากาศของจุดเก็บตัวอยKางของพื้นที่การจราจร มีคKาอยูK ในชKวง 0.208–0.417mg/m3 โดยมีคKาเฉลี่ยเทKากับ 0.316mg/m3และพบวKามี2จุดที่มีคKา เกินเกณฑ)มาตรฐานที่ กำหนดไวDที่ 0.33 mg/m3 ที่เวลา 24 ชั่วโมง คือ บริเวณคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร)และการสื่อสาร และ บริเวณหอพักอาจารย)มหาวิทยาลัยนเรศวร ซึ่งมีคKา 0.347 และ 0.417 ตามลำดับ สำหรับจุดเก็บตัวอยKางในพื้นที่ การกKอสรDางพบวKามีคKาอยูKในชKวง 0.556 – 1.528 mg/m3 โดยมีคKาเฉลี่ยเทKากับ 1.042 mg/m3 และพบวKามี 2 จุด ที่มีคKาเกินเกณฑ)มาตรฐานที่กำหนดไวD ที่ 0.33 mg/m3 ที่เวลา 24 ชั่วโมง คือ การกKอสรDางบริเวณหอสมุด และ การกKอสรDางบริเวณระบบ บำบัดน้ำเสีย ซึ่งมีคKา 0.556 และ 1.528 ตามลำดับ รวิวรรณ ลิ้มพิบูลย). (2558). การศึกษาปริมาณฝุ<นละอองรวมและฝุ<นละอองขนาดเล็กกวUา 10 ไมครอนใน บรรยากาศภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก. Retrieved May 24, 2019. From http://www.agi.nu.ac.th/nred/Document/is-PDF/2558/nre_2558_04_FullPaper.pdf
  • 18. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง 2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวขLอง 2.5.2 การเปรียบเทียบความสามารถของเซนเซอร. SDS011 และ เซ็นเซอร. PMS7003 สำหรับตรวจ วัดปริมาณฝุ<นละอองขนาดเล็กกวUา 2.5 ไมครอน งานวิจัยนี้มีจุดมุKงหมายในการเปรียบเทียบเซนเซอร)วัดปริมาณฝุ`นละอองสองตัว คือเซนเซอร) SDS011 และ เซนเซอร) PMS7003 ในดDานตKางๆไดDแกK ราคา, ชKวงการวัด, ความคลาดเคลื่อน, ชKวงเวลาการใชDงาน, การรับคKา, ประเภทการใชDงาน, ผลิตภัณฑ)ที่อKานคKาไดD (ชนิดของฝุ`นละออง) และ ซอฟต)แวร)สำหรับใชDงานเซนเซอร) ซึ่งไดDผล ออกมาดังนี้ Bing Nguyen. (2019). PM2.5 low-cost sensors and calibration data for SDS011 and PMS7003. Retrieved May 24, 2019. From https://www.researchgate.net/prof ile/Binh_Nguyen91/publication/333891464/inline/jsViewer/5d0ae42292851cfcc6251e2c
  • 19. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง 2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวขLอง 2.5.3 การตรวจวัดสภาพอากาศแบบตามเวลาจริงผUานโปรแกรมจำลอง LabVIEW ในปTจจุบัน สภาพอากาศนั้นมีความแปรปรวนเปOนอยKางมากซึ่งการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศเชKนนี้จะ สKงผลตKอการเดินทาง, การทำงาน และการทำกิจกรรมตKางๆ คณะผูDจัดทำงานวิจัยนี้จึงเกิความคิดที่จะสรDางระบบ ตรวจวัดสภาพอากาศแบบตามเวลาจริง (Real Time) โดยใชDเซนเซอร)วัดความดันอากาศ BMP280 และเซนเซอร) วัดความชื้นในอากาศ DHT22 ซึ่งจะอKานคKาผKานโปรแกรมจำลองการทำงาน (LabVIEW) ผลการศึกษาพบวKาระบบ ที่สรDางขึ้นสามารถอKานคKาขDอมูลตKางๆ ซึ่งไดDแกKคKาความดันอากาศและคKาความชื้นในอากาศโดยสามารถแสดงผล ตามเวลาจริง ณ ขณะนั้นไดD Abhishek Mungekar. (2018). Real time weather surveillance via lab view interfaced Arduino. Retrieved May 24, 2019. From https://www.researchgate.net/profile/Ab hishek_Mungekar/publication/328774784/inline/jsViewer/5c54b93a458515a4c75031a0
  • 20. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขLอง 2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวขLอง 2.5.4 การสรLางแอนนิโมมิเตอร.แบบเรียลไทม.สำหรับการตรวจวัดความเร็วลม, ทิศทางลม และ อุณหภูมิ งานวิจัยนี้มีจุดมุKงหมายในการสรDางเครื่องมือวัดความเร็วลม, ทิศทางลม และอุณหภูมิแบบตามเวลาจริง หรือก็คือขDอมูลแบบเรียลไทม)เพื่อนำขDอมูลมาวิเคราะห)ถึงความสามารถในการสรDางพลังงานไฟฟ€าจากกระแสลมใน บริเวณหาดพูเกอร) ที่อินโดนีเซีย (Puger beach, Jember, Indonesia) ซึ่งในงานวิจัยนี้เราจะใชDเซนเซอร)วัด ความเร็วลม (wind speed sensor) ในการวัดคKาความเร็วลม, เซนเซอร) CMPS03 ในการวัดทิศทางโดยสั่งการใหD แสดงผลเปOนองศาตั้งแตK 0 องศา ถึง 360 องศา, Real Time Clock (RTC) หรือระบบวัดเวลาตามจริง ในการวัด และบันทึกขDอมูล และ เซนเซอร)วัดอุณหภูมิ DS1621 ในการแสดงคKาอุณหภูมิของสิ่งแวดลDอม Triwahju Hardianto. (2017). Design of Real Time Anemometer Based on Wind Speed-Direction and Temperature. Retrieved May 24, 2019. From https://www.resea rchgate.net/publication/322346192_Design_of_Real_Time_Anemometer_Based_on_Wind_SpeedDirection_and_Temperature/inline/jsViewer/5a556fc045851 547b1bd6991
  • 21. บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน 3.1 วัสดุ – อุปกรณ.ที่ใชLในการทำโครงงาน 1. เครื่องมือตรวจวัดปริมาณมลพิษทางอากาศ - เซนเซอร) PMS7003 (สำหรับตรวจวัดปริมาณฝุ`น) - เซนเซอร) DHT22 Arduino (สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้น) - เซนเซอร) BMP280 (สำหรับตรวจวัดความดันอากาศ) - เซนเซอร)วัดความเร็วลม (Wind speed sensor) - เซนเซอร) DS3231 (สำหรับบอกเวลา) - สายUSB , สายจัมเปอร) - บอร)ด Arduino Uno - Breadboard - รางถKานแบบใสKถKาน 4 กDอน และถKาน AA 1.5 V 2. คอมพิวเตอร) MacBook Air 2018 3. โปรแกรม Arduino IDE 4. เทอร)โมมิเตอร) 5. บารอมิเตอร) 6. เครื่องวัดความชื้น 7. เครื่องวัดความเร็วลม 8. หัวแรDงบัดกรี 9. ลวดตะกั่ว
  • 22. ภาพที่ 9 โปรแกรม Arduino IDE ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน ภาพที่ 8 บอร)ด Arduino Uno ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล ภาพที่ 10 รางถKานและถKานAA 1.5 V 4 กDอน ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
  • 23. บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน ภาพที่ 11 เซนเซอร) PMS7003 ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล ภาพที่ 12 เซนเซอร) DHT22 Arduino ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล ภาพที่ 13 เซนเซอร) BMP280 ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
  • 24. บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน ภาพที่ 14 เซนเซอร)วัดความเร็วลม ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล ภาพที่ 16 สาย USB ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล ภาพที่ 17 breadboard ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล ภาพที่ 15 เซนเซอร) DS3231 ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
  • 25. บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน ภาพที่ 18 เทอร)โมมิเตอร) ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล ภาพที่ 19 บารอมิเตอร) ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล ภาพที่ 20 เครื่องวัดความชื้น ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
  • 26. บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน ภาพที่ 21 เครื่องวัดความเร็วลม ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล ภาพที่ 22 สายจัมเปอร) ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล ภาพที่ 23 หัวแรDงบัดกรี ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล ภาพที่ 24 ลวดตะกั่ว ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
  • 27. บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน 3.3 วิธีการศึกษาคLนควLา แบKงเปOน 3 ตอนไดDแกK ตอนที่ 1 สรDางเครื่องมือตรวจวัดปริมาณฝุ`นละอองในอากาศและตรวจสอบทดลองใชDเครื่องมือเบื้องตDน ตอนที่ 2 สรDางสมการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมาย ตอนที่ 3 คาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองภายในพื้นที่เป€าหมาย สรDางเครื่องมือตรวจวัด ปริมาณฝุ`นละอองในอากาศ และทำการตรวจสอบทดลอง ใชDเครื่องมือเบื้องตDน สรDางสมการคาดการณ) ปริมาณฝุ`นละอองในอากาศ ในพื้นที่เป€าหมาย คาดการณ)ปริมาณฝุ`น ละอองภายในพื้นที่ เป€าหมาย
  • 28. บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน ตอนที่ 1 สรDางเครื่องมือตรวจวัดปริมาณฝุ`นละอองในอากาศและทำการตรวจสอบทดลองใชDเครื่องมือเบื้องตDน 1) รKางแบบอุปกรณ)และแบบวงจรสำหรับตKอเซนเซอร) 2) นำเซนเซอร) PMS7003, เซนเซอร) DHT22 Arduino, เซนเซอร) BMP280, เซนเซอร)วัดความเร็วลม, เซนเซอร) DS3231 แตKละตัวแปรมาเขียนโคDดลงโปรแกรม Arduino IDE เพื่อทดสอบการใชDงาน พรDอมทดลองอKานคKาเทียบกับคKาที่ไดDจากเครื่องมือมาตรฐาน 3) ตKอ เซนเซอร) PMS7003, เซนเซอร) DHT22 Arduino, เซนเซอร) BMP280 , เซนเซอร)วัดความเร็วลม , เซนเซอร) DS3231 ที่ผKานการตรวจวัดเปรียบเทียบกับเครื่องมือมาตรฐาน กับ Breadboard และ Arduino Uno ตามที่ไดDทำการรKางแบบวงจรไวD 4) เขียนโคDดใชDงานเซนเซอร)ใหDอKานคKาลงในโปรแกรม Arduino พรDอมตKอสาย USB เชื่อมกับเครื่องมือ ที่ตKอไวD 5) ทดสอบการทำงานของเซนเซอร)ตKางๆหลังตKอวงจรและเขียนโคDดเสร็จ 6) ทดลองตรวจวัดคKาเบื้องตDน และตรวจสอบการทำงานรKวมกันของเซนเซอร)รวมถึงการทำงานโดยรวม ของเครื่องมือ
  • 29. บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน ตอนที่ 2 สรDางสมการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองภายในอากาศในพื้นที่เป€าหมาย 1) เก็บขDอมูลอุณหภูมิ ความชื้น กระแสลม ความดันอากาศ และ ปริมาณฝุ`นละออง ภายใน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาที่พื้นที่เป€าหมายและพื้นที่รอบๆพื้นที่เป€าหมายอีก 4 ตำแหนKง ในชKวง เดือน พฤศจิกายน - ธันวาคม พ.ศ. 2562 จากเครื่องมือวัดปริมาณฝุ`นละอองที่สรDางขึ้น 2) นำขDอมูลที่ไดDมาสรDางสมการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมายกับพื้นที่รอบพื้นที่ เป€าหมายอีก 4 ตำแหนKง โดยวิธีการตKางๆเชKน การหาความสัมพันธ) และนำสมการที่ไดDมาใสK ขDอมูลแบบสุKมเพื่อหาสมการที่มีความคลาดเคลื่อนนDอยที่สุด 3) คัดเลือกสมการที่มีความคลาดเคลื่อนนDอยที่สุดมาใชDในตอนตKอไป
  • 30. บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน ตอนที่ 3 คาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมาย 1) นำเครื่องมือที่ตรวจวัดปริมาณฝุ`นละอองในอากาศที่สรDางขึ้นมาตรวจวัดปริมาณฝุ`นละออง ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา บริเวณพื้นที่เป€าหมายและพื้นที่โดยรอบพื้นที่เป€าหมาย เพื่อตรวจสอบสมการวKาสามารถคาดการณ)ไดDอยKางถูกตDองหรือไมK 2) นำเครื่องมือตรวจวัดปริมาณฝุ`นละอองในอากาศที่สรDางขึ้นมาตรวจวัดปริมาณฝุ`นละออง บริเวณศาลาป‘’นหทัยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ในชKวงเดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม พ.ศ. 2562 3) นำขDอมูลสภาพแวดลDอมที่วัดไดDมาคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองที่เกิดขึ้นในพื้นที่เป€าหมายโดย หาจากสมการคาดการณ)ปริมาณฝุ`นละอองในพื้นที่เป€าหมาย
  • 31. บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน แผนปฏิบัติงาน ป@ 2562 ป@ 2563 มิ.ย. ก.ค. ส.ค ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 1.เสนอและปรับปรุงเคDาโครงโครงงาน 2.ศึกษาขDอมูลเพิ่มเติม 3.สรDางเครื่องมือตรวจวัดปริมาณฝุ`นละออง 4.ตรวจวัดปริมาณฝุ`นละออง 5.คาดการณ)แนวโนDมจากขDอมูลที่วัดไดD 6.สรุปผลและเขียนนรายงานผล 7.นำเสนอโครงงาน 8.จัดทำรูปเลKมและโปสเตอร) 9.นำเสนอโปสเตอร)
  • 32. บทที่ 4 ผลการดำเนินงานเบื้องตLน ตารางที, % แสดงตัวอย่างค่าที,อ่านได้จากเครื,องมือตัวที, % ตารางที, X แสดงตัวอย่างค่าที,อ่านได้จากเครื,องมือตัวที, Y
  • 33. บทที่ 4 ผลการดำเนินงานเบื้องตLน จากตารางแสดงตัวอยKางคKาความดันอากาศ, ความชื้น, อุณหภูมิ, ความเร็วลม และปริมาณฝุ`นละอองที่อKาน ไดDโดยเครื่องมือที่สรDางขึ้น พบวKาเครื่องมือที่สรDางขึ้นนั้นสามารถใชDวัดคKาไดD แตKคKาที่วัดไดDจากเครื่องมือแตKละตัวนั้นมีคKา ใกลDเคียงกัน อยKางเชKนในเวลา 03:00:00 ของวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2562 คKาความกดอากาศที่วัดไดDจากเครื่องมือ ทั้งสองตัวที่นำมาแสดงเปOนตัวอยKางนั้นอยูKที่ 101187.46 และ 101187.37 พาสคาล ตามลำดับ ซึ่งอาจเกิดจาก การที่เครื่องมือที่ทำการวัดอยูKใกลDเคียงกันมาก จึงทำใหDการหาความสัมพันธ)ของปTจจัยตKางๆที่มีผลตKอปริมาณฝุ`นละออง ณ พื้นที่เป€าหมายเปOนไปไดDยาก และเครื่องมือที่สรDางขึ้นนั้นเกิดความผิดพลาดในการทำงานเปOนบางครั้ง คือ การที่ เครื่องมือหยุดการทำงานจึงทำใหDไมKสามารถอKานคKาในชKวงเวลานั้นไดD อยKางเชKนในสKวนของเครื่องมือตัวที่ 1 ณ เวลา 18:00:00 ของวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2562 และการที่เซนเซอร)วัดความชื้นนั้นวัดคKาไดDสูงจากปกติ เชKนในเวลา 21:00:00 ของวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ที่ทำการวัดคKาไดDสูงถึง 87.40%
  • 34. บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน 4.1 ผลการดำเนินงานเบื้องตLน กราฟที, % แสดงค่าปริมาณฝุ่นละออง, อุณหภูมิ, ความชืNน, ความดันอากาศ และความเร็วลมเฉลี,ยรายวันที,วัดได้จาก เครื,องมือตัวที, % ตัNงแต่วันที, %% - %^ ต.ค. X_`X จากกราฟแสดงคKาปริมาณฝุ`นละออง, อุณหภูมิ, ความชื้น, ความดันอากาศ และความเร็วลมจะเห็นไดD วKาความชื้นนั้นมีความสัมพันธ)กับคKาปริมาณฝุ`นละออง คKอนขDางมาก สังเกตไดDจากการที่เมื่อคKาความชื้นสูงขึ้น คKาปริมาณฝุ`นละอองจะลดต่ำลงอยKางเห็นไดDชัดจาก กราฟ และเมื่อคKาอุณหภูมิต่ำลงจะเห็นไดDวKาปริมาณฝุ`น ละอองจะต่ำลงเชKนเดียวกัน ในสKวนของคKาความดัน อากาศนั้นมีคKาคKอนขDางใกลDเคียงกันมากในทุกๆวันทำ ใหDเห็นความแตกตKางไดDยากเชKนเดียวกับคKาความเร็วลม ความเร็วลม (m/s) ความดันอากาศ (kPa) ความชื:น (%) ปริมาณฝุ่นละออง (µg/m3) อุณหภูมิ (C)
  • 35. บทที่ 4 ผลการดำเนินงานเบื้องตLน อุณหภูมิ (C)ปริมาณฝุ่นละออง (µg/m3) กราฟที, X แสดงค่าปริมาณฝุ่นละอองเฉลี,ยรายวันที,เครื,องมือ วัดค่าทัNง _ ตัววัดได้ตัNงแต่วันที, %% - %^ ต.ค. X_`X กราฟที, h แสดงค่าอุณหภูมิเฉลี,ยรายวันที,เครื,องมือ วัดค่าทัNง _ ตัววัดได้ตัNงแต่วันที, %% - %^ ต.ค. X_`X เครื,องมือตัวที, % เครื,องมือตัวที, X เครื,องมือตัวที, h เครื,องมือตัวที, Y เครื,องมือตัวที, _ เครื,องมือตัวที, % เครื,องมือตัวที, X เครื,องมือตัวที, h เครื,องมือตัวที, Y เครื,องมือตัวที, _
  • 36. บทที่ 4 ผลการดำเนินงานเบื้องตLน ความดันอากาศ (kPa)ความชื:น (%) เครื,องมือตัวที, % เครื,องมือตัวที, X เครื,องมือตัวที, h เครื,องมือตัวที, Y เครื,องมือตัวที, _ เครื,องมือตัวที, % เครื,องมือตัวที, X เครื,องมือตัวที, h เครื,องมือตัวที, Y เครื,องมือตัวที, _ กราฟที, Y แสดงค่าความชืNนเฉลี,ยรายวันที,เครื,องมือวัดค่าทัNง _ ตัว วัดได้ตัNงแต่วันที, %% - %^ ต.ค. X_`X กราฟที, _ แสดงค่าความดันอากาศเฉลี,ยรายวันที,เครื,องมือวัด ค่าทัNง _ ตัววัดได้ตัNงแต่วันที, %% - %^ ต.ค. X_`X
  • 37. บทที่ 4 ผลการดำเนินงานเบื้องตLน เครื,องมือตัวที, % เครื,องมือตัวที, X เครื,องมือตัวที, h เครื,องมือตัวที, Y เครื,องมือตัวที, _ กราฟที, ` แสดงค่าความเร็วลมเฉลี,ยรายวันที,เครื,องมือวัดค่าทัNง _ ตัว วัดได้ตัNงแต่วันที, %% - %^ ต.ค. X_`X ความเร็วลม (m/s) จากกราฟแสดงคKาความเร็วลมจะเห็นไดDวKาปรากฏ เสDนกราฟใหDเห็นแคK 3 เสDน เนื่องจากการที่คKาทับซDอน กันอยูKที่ตำแหนKงความเร็วลมเปOน 0 m/s ซึ่งคาดวKาเกิด จากการที่ตั้งเครื่องมือไวDคKอนขDางต่ำ ทำใหDกระแสลมพัด ผKานนDอยจึงไมKสามารถวัดคKาไดDอยKางชัดเจน
  • 38. บทที่ 5 สรุป อภิปราย และขLอเสนอแนะ สรุปผลการทดลอง 1. เครื่องมือที่สรDางขึ้นจากเซนเซอร) PMS7003 สำหรับตรวจวัดปริมาณฝุ`นละออง, เซนเซอร) DHT22 Arduino สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้น, เซนเซอร) BMP280 สำหรับตรวจวัดความดันอากาศ และเซนเซอร)วัด ความเร็วลม สามารถใชDเก็บวัดคKาและแสดงผลออกมาไดD 2. จากการวัดสำรวจคKาปริมาณฝุ`นละอองดDวยเครื่องมือที่สรDางขึ้นนั้นจะเห็นไดDวKาปริมาณฝุ`นละอองขึ้นอยูKกับ ความชื้นเปOนหลัก โดยในวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2562 มีคKาปริมาณฝุ`นละอองเฉลี่ยที่วัดไดDจากเครื่องมือสูงที่สุด นั่นคือ 30.56 µg/m3 และมีคKาความชื้นเฉลี่ยต่ำสุดคือ 57.56 % เครื,องมือตัวที, % เครื,องมือตัวที, X เครื,องมือตัวที, h เครื,องมือตัวที, Y เครื,องมือตัวที, _ ปริมาณฝุ่นละออง (µg/m3) กราฟที, i แสดงค่าปริมาณฝุ่นละอองเที,เครื,องมืดวัด ค่าทัNง _ ตัววัดได้และตัNงแต่วันที, %% - %^ พ.ย. X_`X
  • 39. บทที่ 5 สรุป อภิปราย และขLอเสนอแนะ อภิปรายผล 1. เครื่องมือที่สรDางขึ้นจากเซนเซอร) PMS7003 สำหรับตรวจวัดปริมาณฝุ`นละออง, เซนเซอร) DHT22 Arduino สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้น, เซนเซอร) BMP280 สำหรับตรวจวัดความดันอากาศ และเซนเซอร)วัด ความเร็วลม สามารถใชDเก็บวัดคKาและแสดงผลออกมาไดD ซึ่งสอดคลDองกับโครงงานของคุณ Abhishek Mungekar เรื่อง การตรวจวัดสภาพอากาศแบบตามเวลาจริงผKานโปรแกรมจำลอง LabVIEW, ของคุณ Bing Nguyen เรื่องการเปรียบเทียบความสามารถของเซนเซอร) SDS011 และ เซ็นเซอร) PMS7003 สำหรับตรวจวัด ปริมาณฝุ`นละอองขนาดเล็กกวKา 2.5 ไมครอน และของคุณ Triwahju Hardianto เรื่อง การสรDาง แอนนิโมมิเตอร)แบบเรียลไทม)สำหรับการตรวจวัดความเร็วลม, ทิศทางลม และอุณหภูมิ 2. จากการสำรวจคKาปริมาณฝุ`นละอองและปTจจัยสิ่งแวดลDอมอื่นๆพบวKาปTจจัยที่สKงผลตKอปริมาณฝุ`นละอองมากที่สุด คือความชื้นและอุณหภูมิตามลำดับ ซึ่งสอดคลDองกับงานวิจัยของคุณตระวรรณ หาญกิจรุKง เรื่องอิทธิพลของ ปTจจัยทางอุตุนิยมวิทยาและการจราจรตKอปริมาณฝุ`นละอองขนาดไมKเกิน 10 ไมครอน ของพื้นที่ริมถนนในเขต กรุงเทพมหานคร
  • 40. บทที่ 5 สรุป อภิปราย และขLอเสนอแนะ ขLอเสนอแนะ 1. เวDนระยะหKางของเครื่องมือแตKละตัวใหDมากขึ้นเพื่อที่จะไดDสามารถเห็นความแตกตKางของคKาที่วัดไดD มากขึ้นและสามารถสรDางความสัมพันธ)ของปTจจัยตKางๆไดDชัดเจนขึ้น 2. ติดตั้งเครื่องมือใหDสูงจากพื้นดินเพื่อที่จะไดDสามารถวัดคKาความเร็วลมไดDอยKางชัดเจน 3. ควรเพิ่มระยะเวลาในการวัดคKาตKางๆเพื่อที่จะไดDสามารถสรDางสมการที่มีความแมKนยำขึ้น ตารางที, % แสดงตัวอย่างค่าที,อ่านได้จากเครื,องมือตัวที, %
  • 41. เอกสารอLางอิง กรมควบคุมมลพิษ. (2554). ดัชนีคุณภาพอากาศ. Retrieved May 10, 2019. From http://aqmthai.com /aqi_info.php วิษณุ อรรถวานิช. (2562). ตLนทุนของสังคมไทยจากมลพิษทางอากาศและมาตรการรับมือ. Retrieved May 18, 2019. From https://www.pier.or.th/wp-content/uploads/2019/04/aBRIDGEd_2019_ 007.pdf สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2548). อนุกรมเวลา. Retrieved May 24, 2019. From http://www2.fpo.g o.th/S-I/Source/ECO/ECO24.htm รวิวรรณ ลิ้มพิบูลย). (2558). การศึกษาปริมาณฝุ<นละอองรวมและฝุ<นละอองขนาดเล็กกวUา 10 ไมครอนใน บรรยากาศภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก. Retrieved May 24, 2019. From http://www.agi.nu.ac.th/nred/Document/is-PDF/2558/nre_2558_04_FullPaper.pdf
  • 42. เอกสารอLางอิง Abhishek Mungekar. (2018). Real time weather surveillance via lab view interfaced Arduino. Retrieved May 24, 2019. From https://www.researchgate.net/profile/Abhishek_Mun gekar/publication/328774784/inline/jsViewer/5c54b93a458515a4c75031a0 American Lung Association. (2019). Particle Pollution. Retrieved May 10, 2019. From https:// www.lung.org/our-initiatives/healthy-air/outdoor/air-pollution/particle-pollution.html Bing Nguyen. (2019). PM2.5 low-cost sensors and calibration data for SDS011 and PMS7003. Retrieved May 24, 2019. From https://www.researchgate.net/profile/Binh_Nguyen91/pu blication/333891464/inline/jsViewer/5d0ae42292851cfcc6251e2c Mighty Mechanical. Forecasting Fundamentals. Retrieved May 24, 2019. From https://mec h.at.ua/Forecasting.pdf
  • 43. เอกสารอLางอิง Triwahju Hardianto. (2017). Design of Real Time Anemometer Based on Wind Speed- Direction and Temperature. Retrieved May 24, 2019. From https://www.researchga te.net/publication/322346192_Design_of_Real_Time_Anemometer_Based_on_Wind_Sp eed-Direction_and_Temperature/inline/jsViewer/5a556fc045851547b1bd6991
  • 44. ภาคผนวก ภาพ แสดงการบัดกรีเซนเซอร์ BMP280 ที่มา: นายณัฐทพงศ) รัตนโชคสิริกูล ภาพ แสดงการทดลองการทํางานของเซ็นเซอร์ ที่มา: นายณัฐทพงศ) รัตนโชคสิริกูล ภาพ แสดงการทดลองอ่านค่าที,ได้จากเซ็นเซอร์เทียบ กับเครื,องมือมาตรฐาน ที่มา: นายณัฐทพงศ) รัตนโชคสิริกูล
  • 45. ภาคผนวก ภาพ แสดงการต่อวงจรเซ็นเซอร์ ภาพ แสดงเครื,องมือที,สร้างขึNนจากเซ็นเซอร์ต่างๆ ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
  • 46. ภาคผนวก ภาพ แสดงการใช้เครื,องมือวัดค่า ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล ภาพ แสดงค่าที,วัดได้จากเครื,องมือ ที่มา: นางสาวมนัสนันท) รัตนโชคสิริกูล
  • 47. Thank you for listening