SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
บทที่ 3
การประยุกตเกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละ (16 ชั่วโมง)
3.1 อัตราสวน (4 ชั่วโมง)
3.2 รอยละ (5 ชั่วโมง)
3.3 การประยุกตเกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละ (7 ชั่วโมง)
นักเรียนมีพื้นฐานความรูเกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละมาแลวจากบทที่ 1 ในหนังสือเรียน
สาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เนื้อหาในตอนตนเปนการทบทวน
ความรูเดิมที่เกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละ แลวจึงขยายใหเห็นการนําอัตราสวนและรอยละไปใชแกโจทย
ปญหาที่ซับซอนขึ้น พรอมทั้งใหเห็นประโยชนที่นําไปใชในสวนของการประยุกต
รูปแบบการนําเสนอเนื้อหาสาระในบทนี้มีทั้งที่เปนเนื้อหาโดยตรงและเปนกิจกรรม ลักษณะของ
กิจกรรมจะเนนทักษะการคิดคํานวณและทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ครูควรใหนักเรียนไดปฏิบัติ
จริงและมีการอภิปรายรวมกันภายในกลุมเพื่อใหนักเรียนไดหาขอสรุปรวมกัน
เนื้อหาสาระในหัวขอ 3.1 และหัวขอ 3.2 สวนใหญเปนเนื้อหาที่ซับซอน ครูควรเลือกสอนให
เหมาะสมกับพื้นฐานความรูและความพรอมของนักเรียน ควรจัดเวลาสําหรับนักเรียนทําแบบฝกหัดให
เหมาะสม สําหรับเนื้อหาสาระในหัวขอ 3.3 ครูควรจัดใหนักเรียนทุกคนไดเรียน เพื่อใหเห็นประโยชนที่
นําความรูเกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละไปใชในงานตาง ๆ
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. ใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน และรอยละแกปญหาหรือสถานการณตาง ๆ ได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
40
แนวทางในการจัดการเรียนรู
3.1 อัตราสวน (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับอัตราสวนได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูอาจใชการถามตอบเพื่อทบทวนเกี่ยวกับอัตราสวน เชน ความหมายและสัญลักษณ แลวให
นักเรียนยกตัวอยางอัตราสวนที่ใชในชีวิตประจําวัน
2. สําหรับกิจกรรม “คิดอยางไร” ครูควรใหนักเรียนทําในชั้นเรียน เพื่อทบทวนเกี่ยวกับ
อัตราสวน โดยใหนักเรียนใชความรูสึกเชิงจํานวนมาวิเคราะหสถานการณตาง ๆ ครูอาจยกสถานการณ
เพิ่มเติม หรืออาจใหนักเรียนยกสถานการณแลวอภิปรายรวมกัน
3. สําหรับตัวอยางที่ 2 และตัวอยางที่ 3 ครูควรย้ําใหนักเรียนสังเกตเกี่ยวกับลําดับของจํานวน
ในสัดสวน เพื่อใหแนใจวาเปนอัตราที่เทากัน
4. สําหรับแบบฝกหัด 3.1 ก มีเจตนาใหนักเรียนไดทบทวนการหาคาของตัวแปรในสัดสวน
และแกโจทยปญหาโดยใชสัดสวนตามความรูเดิม เพื่อใหนักเรียนมีความพรอมและมีพื้นฐานเพียงพอ
กอนทําโจทยปญหาที่ซับซอนขึ้น
5. สาระในหนังสือเรียนหนา 83 เปนสาระสําคัญที่นักเรียนทุกคนจะตองเขาใจเพื่อมีความคิด
รวบยอดที่ถูกตองเกี่ยวกับอัตราสวน ครูควรอธิบายใหนักเรียนมีความเขาใจในเรื่องนี้กอน และอาจ
ยกตัวอยางเพิ่มเติมอีก
สําหรับตัวอยางที่ 4 ตัวอยางที่ 5 และแบบฝกหัด 3.1 ข ครูอาจเลือกปฏิบัติดังนี้
1) ถาครูเห็นวานักเรียนไมมีความพรอมที่จะเรียน อาจไมตองสอนและไมตองทํา
แบบฝกหัด 3.1 ข
2) ถาครูเห็นวานักเรียนมีความพรอมเพียงพอ หลังจากใหนักเรียนทําความเขาใจ
ตัวอยางในหนังสือเรียนแลว ครูอาจเลือกแบบฝกหัด 3.1 ข บางขอใหนักเรียนชวยกันคิดเปนกลุมและนํา
เสนอแนวคิดรวมกันในชั้นเรียน
6. สําหรับกิจกรรม “ผิดตรงไหน” เสนอไวเปนตัวอยางของปญหาที่ตองการใหนักเรียน
ระมัดระวังในการนําสัดสวนมาแกโจทยปญหา ครูควรอธิบายใหนักเรียนเขาใจวาโจทยปญหานี้ไมสามารถ
นํา 42
x และ 28
36 มาเขียนเปนสัดสวนได เพราะวาอัตราสวนทั้งสองไมใชอัตราสวนที่เทากัน เนื่องจาก
ผิดจากความเปนจริง คือ ถามีจํานวนคนงานกินขาวเพิ่มขึ้นจํานวนวันที่กินขาวนั้นจะนอยลง แตอัตราสวน
41
ที่จุกเขียนมานั้นมีความหมายวา ถามีจํานวนคนงานกินขาวเพิ่มขึ้นจํานวนวันที่กินขาวนั้นจะเพิ่มขึ้นดวย จาก
กิจกรรมนี้ครูจึงพึงระมัดระวังในการใหโจทยปญหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสัดสวน ที่ในการหาคําตอบ จะตอง
ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ
3.2 รอยละ (5 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับรอยละได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูอาจนําเขาสูบทเรียนดวยการสนทนาใหเห็นความสําคัญของรอยละตามที่เสนอไวใน
หนังสือเรียนหนา 89 โดยอาจยกตัวอยางเพิ่มเติมดวยก็ได และเพื่อใหนักเรียนเห็นประโยชนของการใช
รอยละในชีวิตประจําวัน ครูอาจนํากลองหรือขวดบรรจุภัณฑอาหารสําเร็จรูปตาง ๆ ใหนักเรียนศึกษา
และอภิปรายรวมกันวารอยละในขอมูลโภชนาการเกี่ยวกับอาหารเหลานั้น ใหขอมูลที่เปนประโยชนตอ
ผูบริโภคอยางใดบาง เชน อาหารบางชนิดมีรอยละของแคลเซียมสูงในหนึ่งหนวยบริโภค จึงเหมาะสําหรับ
เด็กที่อยูในวัยเจริญเติบโตซึ่งควรรับประทานอาหารที่มีปริมาณของแคลเซียมมากเปนพิเศษ หรืออาจให
นักเรียนพิจารณาวาอาหารที่มีรอยละของไขมันสูงในหนึ่งหนวยบริโภคนั้น เหมาะสมกับนักเรียนที่จะเลือก
รับประทานหรือไม
ครูอาจนําบทความซึ่งเกี่ยวของกับรอยละที่ปรากฏในสื่อตาง ๆ มาใหนักเรียนพิจารณาวาเปน
รอยละของจํานวนใด การแกปญหาที่เกี่ยวของกับรอยละนั้นตองใชการคํานวณในลักษณะใด เชน
ในปริมาณอาหาร 200 มิลลิกรัมมีขอมูลบงวามีไขมัน 10% จากขอมูลนี้นักเรียนมีความเขาใจวาอยางไร
2. สําหรับกิจกรรม “ยังตอบไดหรือไม” มีเจตนาเพื่อทบทวนการนําสัดสวนมาคํานวณเกี่ยวกับ
รอยละในทั้งสามลักษณะใหเขาใจอยางถองแท ตามที่เสนอไวในหนังสือเรียนหนา 91 กอนที่จะสอนเรื่อง
รอยละที่มีความซับซอนขึ้นตอไป
3. สําหรับโจทยปญหาเกี่ยวกับของผสม ครูอาจเลือกปฏิบัติดังนี้
1) สําหรับนักเรียนที่ยังไมพรอมจะเรียน ครูควรใหนักเรียนฝกทักษะการคิดคํานวณ
โจทยรอยละในสามลักษณะเพิ่มเติม และไมตองทําแบบฝกหัด 3.2
2) สําหรับนักเรียนที่มีความพรอม ครูควรบอกความหมายและยกตัวอยางของผสม
กอนที่ครูจะใหตัวอยางการใชรอยละแกโจทยปญหาเกี่ยวกับของผสม
สําหรับตัวอยางที่ 1 หนา 93 นําเสนอไว ไดเลือกใชสัดสวนที่สะดวกและรวดเร็วในการ
คิดคํานวณ ครูอาจเขียนสัดสวนในตัวอยางนี้เปนอยางอื่นได เชน 100
28 = 600x700
700
+
ครูควรให
42
นักเรียนพิจารณาเปรียบเทียบกับสัดสวนที่แสดงไวในตัวอยางวา การคํานวณหาคาของตัวแปรในสัดสวนนี้
มีความยุงยากมากกวาหรือไม อยางไร ตอจากนั้นครูควรแนะนํานักเรียนวา ในการทําโจทยใหพยายาม
เขียนสัดสวนที่งายและสะดวกในการคํานวณ
ในตัวอยางที่ 1 ถึงตัวอยางที่ 3 ไดเขียนสัดสวนหรือสมการโดยใชตัวแปรหนึ่งตัว แต
ตัวอยางที่ 4 ไดเขียนสัดสวนโดยใชตัวแปรสองตัว ทั้งนี้มีเจตนาใหนักเรียนเห็นวาเราสามารถหาอัตราสวน
ที่แสดงการเปรียบเทียบตัวแปรทั้งสองไดโดยไมตองทราบคาที่แทจริงของตัวแปรทั้งสองนั้น การหา x : y
โดยวิธีที่แสดงไวนาจะเปนไปตามหลักการของอัตราสวนมากกวาการหาโดยใชตัวแปรเพียงหนึ่งตัว
4. สําหรับกิจกรรม “หาไดไหม” มีเจตนาใหเห็นการเชื่อมโยงความรูเรื่องอัตราสวนและรอยละ
ที่นําไปใชในทางเรขาคณิต นักเรียนควรสังเกตเห็นวาอัตราสวนของพื้นที่ของ ∆ AEF ตอพื้นที่ของ
∆ ABC ไมเทากับ 1 ตอ 2 เชนเดียวกับอัตราสวนของความยาวของดาน แตจะมีอัตราสวน เปน 1 ตอ 4
5. กิจกรรม “เทแลวเติม – เติมแลวเท” มีแบบรูปของปริมาณน้ําหวาน เปนแบบรูปในทํานอง
เดียวกันกับแบบรูปของปริมาณยาในรางกายตามกิจกรรม “นารู” ในเรื่องสมบัติของเลขยกกําลัง หนา 12
ครูควรสังเกตไดวากิจกรรมที่มีแบบรูปในการคิดแกปญหาแบบเดียวกัน อาจสรางโจทยปญหาดวย
สถานการณตาง ๆ กัน ครูอาจหาโจทยทํานองนี้เพิ่มเติมเพื่อใหนักเรียนเห็นความหลากหลายในการนําไปใช
6. สําหรับกิจกรรม “เปนอัตราสวนเทาใด” มีเจตนาใหเห็นโจทยปญหาระคนของเรื่องอัตราสวน
และรอยละที่ตองแกปญหาดวยการแจงนับตามกรณี และตองการใหเห็นวาคําตอบของปญหานี้มีไดหลาย
คําตอบ
3.3 การประยุกตของอัตราสวนและรอยละ (7 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. ใชอัตราสวนและรอยละแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. กิจกรรม “เปลี่ยนหนวยอุณหภูมิ” เปนตัวอยางหนึ่งที่ตองการแสดงใหนักเรียนเห็นการนํา
สัดสวนมาใชเพื่อหาความสัมพันธระหวางอุณหภูมิในระบบองศาเซลเซียสกับระบบองศาฟาเรนไฮต
ครูอาจนําสนทนาเกี่ยวกับการพยากรณอากาศและรายงานภูมิอากาศในตางประเทศ ซึ่งบาง
ประเทศจะรายงานอุณหภูมิในระบบอาศาฟาเรนไฮต เชน สหรัฐอเมริกา
ครูอาจนําเทอรโมมิเตอรที่บอกอุณหภูมิทั้งสองระบบใหนักเรียนดู และใหอานอุณหภูมิ ณ
เวลานั้นในทั้งสองระบบ เพื่อเปนขอมูลสําหรับการตรวจสอบการคํานวณโดยใชสูตรที่จะเรียนตอไป
43
ครูอาจใชการถามตอบประกอบคําอธิบายเพื่อใหนักเรียนไดขอสรุปวา อัตราสวนของจํานวน
ชองในระบบองศาเซลเซียสตอจํานวนชองในระบบองศาฟาเรนไฮตเทากับ 100 : 180 จนกระทั่งได
ความสัมพันธเปน 5
C = 9
32F−
ซึ่งเปนสูตรที่ใชไดไมวา C หรือ F จะแทนอุณหภูมิที่เปนบวกหรือลบ
ก็ตาม
2. กิจกรรม “อัตราทดของเกียร” เปนอีกตัวอยางหนึ่งที่แสดงใหนักเรียนเห็นการนําอัตราสวน
มาใชในการบอกลักษณะเฉพาะและคิดคํานวณเกี่ยวกับจักรกล
ครูอาจนําสนทนาเกี่ยวกับระบบเกียรของรถจักรยานยนตหรือรถยนต หรืออาจใหนักเรียนไป
ศึกษาเรียนรูที่แหลงการเรียนรูในทองถิ่น เชน อูซอมรถใกลโรงเรียน ถาไมสะดวกครูอาจนํารูปเกียรของรถ
ประเภทตาง ๆ ใหนักเรียนดูประกอบคําอธิบาย
3. สําหรับกิจกรรม “มาตราสวน” ในสวนที่ใชในเครื่องถายเอกสารหรือคอมพิวเตอร ครูควร
ใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับขนาดสําเนา 100% วา หมายถึง การทําใหความยาวของทุกสวนในสําเนาเทากับ
ความยาวของสวนที่สมนัยกันของรูปตนแบบ หรืออาจกลาวไดวารูปที่ไดในสําเนากับรูปตนแบบนั้น
เทากันทุกประการ
ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 เพื่อเสริมทักษะการคิดคํานวณเกี่ยวกับมาตราสวนใหกับ
นักเรียน
4. สําหรับกิจกรรม “ยอมุมและขยายมุม” ถามีเครื่องถายเอกสารครูอาจใหนักเรียนเขียน
สวนของเสนตรง มุม และรูปเหลี่ยมตาง ๆ พรอมทั้งกําหนดรอยละของการยอหรือการขยาย แลวให
นักเรียนปฏิบัติจริงเพื่อตรวจสอบวามีผลเปนไปตามบทเรียนหนา 108 – 110
5. สําหรับกิจกรรม “ไมบรรทัดมาตราสวน” มีเจตนาใหนักเรียนเห็นเครื่องมือที่อํานวยความสะดวก
ในการใชมาตราสวนกับงานชาง ครูอาจนําสนทนาเกี่ยวกับอุปกรณหรือเครื่องมือที่ชางเขียนแบบ ชางไมหรือ
ชางกอสรางใชในการเขียนแบบ วามีเครื่องมืออะไรที่นักเรียนทราบพรอมใหยกตัวอยาง และครูอาจนําภาพ
อุปกรณเหลานี้มาใหนักเรียนดูประกอบการสนทนา
สําหรับไมบรรทัดมาตราสวนครูควรนําของจริงมาใหนักเรียนดู ถาไมมีไมบรรทัดมาตรา
สวนครูควรสรางไมบรรทัดมาตราสวน เชน
ไมบรรทัดมาตราสวน 1 : 20 ที่นักเรียนสามารถคิดตามไดโดยงาย เมื่อครูใชประกอบ
คําอธิบายและสาธิตการใชในการอานแบบหรือเขียนแบบ
ไมบรรทัดมาตราสวน 1 : 75 หรือ 1 : 125 เพื่อใหนักเรียนเห็นประโยชนของการใช
ไมบรรทัดมาตราสวนในการอานแบบและเขียนแบบซึ่งสามารถอานความยาวไดทันที โดยไมตองคํานวณ
ใหยุงยาก
ครูอาจนําแผนผังของบานหรือแผนผังของหองสมุดมาประกอบการสอน ซึ่งครูอาจใชการ
สาธิต การถามตอบประกอบคําอธิบาย แลวใหนักเรียนชวยกันทําแบบฝกหัดกิจกรรม “ทําไดหรือไม”
44
6. สําหรับกิจกรรม “แบบจําลอง” เจตนาใหนักเรียนเห็นประโยชนของมาตราสวนยอและ
มาตราสวนขยายที่ชวยใหผูสรางแบบสามารถประดิษฐชิ้นงานจําลองไดเหมือนของจริงแตขนาดเล็กหรือ
ใหญกวา
ครูอาจนํานักเรียนไปศึกษาการจําลองสิ่งตาง ๆ ตามแหลงการเรียนรูใกลโรงเรียน เชน ศึกษา
เจดีย รูปปนบุคคลสําคัญ ศิลปวัตถุตาง ๆ เพื่อใหนักเรียนหาขนาดจริงและเมื่อกําหนดมาตราสวนยอให
สามารถคํานวณหาขนาดของรูปจําลองที่ตองการทําได ครูอาจนําวัตถุหรือสิ่งของจําลองที่มีขายตามทอง
ตลาดซึ่งสวนใหญจะเปนของเด็กเลนที่บรรจุในกลองและบอกมาตราสวนยอกํากับไวที่กลอง แลวให
นักเรียนคํานวณหาขนาดสวนสัดของจริง ในการศึกษาการจําลองทั้งสองลักษณะนี้ครูควรใชการถามตอบ
ประกอบคําอธิบายไปพรอม ๆ กัน ตามสาระที่เสนอไวในกิจกรรมนี้ เพื่อใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ
ชัดเจนขึ้น
สําหรับสาระที่กลาวถึงเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส ครูอาจเชื่อมโยงความรูกับวิชาภาษาไทย
โดยหาบทกาพยเหเรือฉบับเต็มบทมาใหนักเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับขบวนเรือในพระราชพิธีเสด็จทางชลมารค
ครูอาจเชื่อมโยงความรูเกี่ยวกับการจําลองตาง ๆ ซึ่งเปนผลิตภัณฑในทองถิ่น เชน ตุกตา
จําลองอาชีพหรือการละเลนพื้นบาน พรอมทั้งแนะนําใหนักเรียนนําความรูนี้ไปเผยแพรตอชุมชนเพื่อ
ปรับปรุงผลิตภัณฑของทองถิ่นใหไดมาตรฐานและมีสวนสัดเหมือนจริง
7. สําหรับกิจกรรม “อัตราสวนทอง” มีเจตนาขยายความรูเพิ่มเติมจากที่นักเรียนเคยทราบมา
บางแลว ครูควรทบทวนเกี่ยวกับอัตราสวนทองและรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทอง หลังจากนั้นใหนักเรียนศึกษาถึง
การสรางรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทองตามที่เสนอไวในกิจกรรมนี้ และตอเนื่องไปถึงกิจกรรม “อัตราสวนทองกับ
ลําดับฟโบนักชี” และกิจกรรม “ลองทําดู” ซึ่งเปนกิจกรรมที่ตองการแสดงใหเห็นการประมาณอัตราสวน
ทองโดยใชจํานวนในลําดับฟโบนักชี ตลอดจนการนําไปใชในงานชางตาง ๆ
8. สําหรับกิจกรรม “รูปสามเหลี่ยมทอง” เสนอไวเพื่อเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับอัตราสวนทองใน
รูปอื่น ๆ นอกจากรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทอง
9. สําหรับกรอบความรู “เรื่องของ π” เสนอไวเปนความรูแกนักเรียนใหทราบวา π เปน
อัตราสวนที่รูจักกับแพรหลายมากที่สุดในทางคณิตศาสตร เปนจํานวนที่มีเสนห เปนที่สนใจของ
นักคณิตศาสตรมาหลายยุคหลายสมัย และมีประโยชนในการคํานวณทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ครูควรใหนักเรียนไดศึกษากรอบความรูนี้ดวยตนเอง และอาจแนะนําใหศึกษาคนควาเพิ่มเติม
จากแหลงความรูอื่น ๆ ในรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติของ π และเทคนิคการคํานวณหาคาของ π เปนตน
45
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบกิจกรรม “คิดอยางไร”
สถานการณที่ 1 ครอบครัวนิติถึงบานพักกอน
สถานการณที่ 2 กวยเตี๋ยวของแพรจะออกรสเค็มมากกวา
สถานการณที่ 3 1) สีเขียว B
2) สีเขียว C
3) สีสม B
คําตอบแบบฝกหัด 3.1 ก
1.
1) 18 2) 5
3) 72 4)
8
45
5) 13.44 6) 2
2. ประมาณ 67 วัน
3. ขาวสาร 12 กระปองและลูกเดือย
2
14 กระปอง
4. พนักงานชาย 240 คน และพนักงานหญิง 96 คน
5. 150 บาท
6. โรงเรียนกาวหนาศึกษามีนักเรียนมาสมัคร 714 คน และโรงเรียนคณิตวิทยามีนักเรียนมาสมัคร
770 คน
7. น้ําตาลแดง 3 กิโลกรัมและน้ําตาลทรายแดง 2 กิโลกรัม
คําตอบแบบฝกหัด 3.1 ข
1.
1)
5
36 2) 5
3) 2 4) 9
2. พิษณุมียอดเงินฝาก 4,200 บาท และภูวนัยมียอดเงินฝาก 3,500 บาท
3. พริกปน 30 กรัม เกลือ 120 กรัม และน้ําตาล 240 กรัม
46
4. สมโชกุน 60 กิโลกรัมและลิ้นจี่ 75 กิโลกรัม
5.
1) มะกรูด 210 ผล และมะนาว 280 ผล
2) 7 : 8
6. เงินฝากของพิมพ 5,750 บาท และเงินฝากของพลอย 8,050 บาท
7. 4 : 7 : 6
8. ไมเปนอัตราสวนเดิม แตเปนอัตราสวน 7 : 3 : 15
คําตอบปญหา “ผิดตรงไหน”
ผิดตรงที่นํามาเขียนเปนสัดสวน
42
x =
28
36 ทั้งที่
42
x ≠
28
36
ปญหานี้คํานวณไดโดยใชสัดสวนตามแนวคิดตอไปนี้
แนวคิด เนื่องจากคนงาน 28 คน กินขาวจํานวนหนึ่งไดนาน 36 วัน
ดังนั้น คนงาน 1 คน กินขาวจํานวนนั้นไดนาน 28 × 36 วัน
ถาใหคนงาน 42 คน กินขาวจํานวนนั้นไดนาน x วัน
ดังนั้นคนงาน 1 คน กินขาวจํานวนนั้นไดนาน 42 × x วัน
เขียนสัดสวนไดดังนี้ 1 : (28 × 36) = 1 : (42 × x)
จะได 1 × (42 × x) = (28 × 36) ×1
x = 42
3628×
ดังนั้น x = 24
นั่นคือ คนงาน 42 คน กินขาวไดนาน 24 วัน
คําตอบปญหา “ยังตอบไดหรือไม”
1. 323 บาท
2. 4,815 บาท
3. รอยละ 45
4. 12%
5. 26,000 บาท
6. 50,000 บาท
47
คําตอบแบบฝกหัด 3.2
1. 19.5 กรัม
2. 35%
3. ใชอัลลอยดชนิดแรก 3
2166 กิโลกรัม และชนิดที่สอง 3
183 กิโลกรัม
4. 48 ลิตร
5. 26 ขอ
6. 7
473 %
7. 32 คะแนน
8. 40 ลิตร
9.
1) ราคาตนทุนของเสื้อ 400 บาท และราคาตนทุนของกางเกง 300 บาท
2) กําไรเฉลี่ย 7
535 %
10. อัตราสวนของจํานวนลูกกวาดเคลือบช็อคโกแลตตอจํานวนลูกกวาดเคลือบน้ําตาลโดยน้ําหนัก
เปน 2 : 1
คําตอบกิจกรรม “หาไดไหม”
พื้นที่ของ ∆ AEF คิดเปนรอยละ 25 ของพื้นที่ของ ∆ ABC
แนวคิด
อัตราสวนของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากสองรูปมีความสัมพันธกับอัตราสวน
ของความยาวของฐานและความสูงที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากสองรูปนั้น
พื้นที่ของ ∆ AEF = 2
1 × AE × EF
พื้นที่ของ ∆ ABC = 2
1 × AB × BC
ดังนั้น
ABCพื้นที่ของ
AEFพื้นที่ของ
∆
∆
=
BCAB2
1
EFAE2
1
××
××
= BCAB
EFAE
×
×
48
คําตอบกิจกรรม “หาไดไหม” (ตอ)
= AB
AE ×
BC
EF
= 2
1 ×
2
1
= 4
1
ดังนั้น
ABCพื้นที่ของ
AEFพื้นที่ของ
∆
∆
= 100
25
นั่นคือ พื้นที่ของ ∆ AEF คิดเปนรอยละ 25 ของพื้นที่ของ ∆ ABC
คําตอบกิจกรรม “เทแลวเติม – เติมแลวเท”
สวนผสมในครั้งที่ 4 เปนน้ําหวานเจือจาง 4
16 %
แนวคิด
ในครั้งที่ 4 จะมีปริมาณน้ําหวาน 2
2
1
1-4
×





= 2
2
1
3
×





ถวยตวง ในน้ําหวานผสม 4 ถวยตวง
คิดเปนน้ําหวานเจือจาง 100
4
2
2
1
3
×
×





=
4
1
6 %
คําตอบกิจกรรม “เปนอัตราสวนเทาใด”
มีคําตอบไดหลายคําตอบ ตัวอยางคําตอบ
อัตราสวนของจํานวนวุนมะพราวตอจํานวนแปะกวยตอจํานวนลูกพลับแหงโดย
น้ําหนัก เปน 4 : 7 : 9 และ 8 : 9 : 3
แนวคิด หาตนทุนของขนมผสมจํานวน 1 กิโลกรัม
เนื่องจากขายขนมผสมกิโลกรัมละ 120 บาท ไดกําไร 20%
แสดงวาขนมผสม 1 กิโลกรัมมีตนทุน 100 บาท
ใชวิธีแจงนับหาสวนผสมแตละชนิดดังนี้
49
คําตอบกิจกรรม “เปนอัตราสวนเทาใด” (ตอ)
จะไดอัตราสวนของจํานวนวุนมะพราวตอจํานวนแปะกวยตอจํานวนลูกพลับแหง
โดยน้ําหนัก เปน 200 : 350 : 450 = 4 : 7 : 9 และ 400 : 450 : 150 = 8 : 9 : 3
คําตอบกิจกรรม “เปลี่ยนหนวยอุณหภูมิ”
1.
1) 77o
F 2) 239o
F
3) 198.5o
F 4) -26.5o
F
2.
1) 65o
C 2) 135o
C
3) -25o
C 4) -77.5o
C
สวนผสมแบบที่ 1
วุนมะพราว 200 40
1000
200 × = 8
แปะกวย 350 160
1000
350 × = 56
ลูกพลับแหง 450 80
1000
450 × = 36
รวม 1,000 100
ปริมาณ (กรัม) ตนทุน (บาท)
สวนผสมที่แบบ 2
วุนมะพราว 400 40
1000
400 × = 16
แปะกวย 450 160
1000
450 × = 72
ลูกพลับแหง 150 80
1000
150 × = 12
รวม 1,000 100
ปริมาณ (กรัม) ตนทุน (บาท)
50
คําตอบกิจกรรม “เปลี่ยนหนวยอุณหภูมิ” (ตอ)
3. 84.6o
F
4. -36.4o
F
5. ประมาณ -45.5o
C
6. 20o
C
7. 122o
F
คําตอบกิจกรรม “อัตราทดของเกียร”
1. ถาอัตราทดของเกียรเปน 1 แสดงวาเมื่อเฟองขับหมุนไป 1 รอบ เฟองตามจะหมุนไป 1 รอบ เชนกัน
2.
1) 1.458 2) 1.68
3) 0.8 4) 1.5
3.
1) 40 ซี่ 2) 40 ซี่
4.
1) 49 ซี่ 2) 29 ซี่
5. จํานวนฟนของเฟองตาม 36 และจํานวนฟนของเฟองขับ 20
จะไดอัตราทดของเกียรเทากับ 20
36 = 1.8 จริง
จํานวนฟนของเฟองตาม 63 และจํานวนฟนของเฟองขับ 35
จะไดอัตราทดของเกียรเทากับ 35
63 = 1.8 จริง
คําตอบกิจกรรม “มาตราสวน”
1. 7.5 กิโลเมตร
2. 70 เซนติเมตร
3. 8 กิโลเมตร
4. 15.2 เซนติเมตร
5. 25 กิโลเมตร
6. 72 เซนติเมตร
7. 24 เมตร
51
8. 3 เซนติเมตร
คําตอบทายตัวอยางการยอและการขยาย หนา 109
1. 12 เซนติเมตร
2. 15 เซนติเมตร
3. ความยาว 10.8 เซนติเมตรและความกวาง 6 เซนติเมตร
4. ความยาว 7.5 เซนติเมตรและความกวาง 6 เซนติเมตร
5. ดานประกอบมุมยอดยาว 9.6 เซนติเมตรและฐานยาว 6 เซนติเมตร
เมื่อขยายรูปสี่เหลี่ยมผืนผาเปนรูปขยาย 150% แลวพื้นที่ของรูปขยายจะไมเปน 150% ของพื้นที่
ของรูปตนแบบ เพราะการขยายรูปสี่เหลี่ยมผืนผาจะขยายทั้งดานยาวและดานกวางดานละ 150% ทําให
พื้นที่ของรูปขยายมากกวา 150%
คําตอบกิจกรรม “ยอมุมและขยายมุม”
1. ขนาดของมุมในรูป ก รูป ข และรูป ค ไมเปลี่ยนแปลง
2. ไมเปลี่ยนแปลง
3. ไมเปลี่ยนแปลง เพราะวา การยอมุมและขยายมุมของรูปเหลี่ยม จะเปลี่ยนแปลงเฉพาะความยาวของ
แขนของมุมเทานั้น
คําตอบกิจกรรม “ทําไดหรือไม”
1.
1) ประมาณ 0.90 เมตร 2) ประมาณ 2 เมตร
3) ประมาณ 2.10 เมตร 4) ประมาณ 4.20 เมตร
5) 6 เมตร
2.
1)
2)
A B
C D
52
3)
4)
3. คําตอบมีหลายคําตอบตามสภาพหองเรียน
คําตอบแบบฝกหัดทายกิจกรรม “แบบจําลอง”
1. 6 นิ้ว
2. 2.25 เซนติเมตร
3. ความยาว 0.85 เมตร หรือ 85 เซนติเมตร
ความกวาง 0.275 เมตร หรือ 27.5 เซนติเมตร
ความลึก 0.0875 เมตร หรือ 8.75 เซนติเมตร
4. ความยาว 0.15 เมตร หรือ 15 เซนติเมตร
ความกวาง 0.10 เมตร หรือ 10 เซนติเมตร
5. ความกวาง 0.0812 เมตร หรือ 8.12 เซนติเมตร
ความลึก 0.0248 เมตร หรือ 2.48 เซนติเมตร
6. ความยาว 1.4515 เมตร หรือ 145.15 เซนติเมตร
ความลึก 0.0315 เมตร หรือ 3.15 เซนติเมตร
7. ความยาว 3 เมตร
ความกวาง 1.25 เมตร
ความสูง 1.50 เมตร
8. ความกวาง 2.40 เมตร
ความลึก 3.00 เมตร
9. สวนสัดไมเหมือนเรือจริง เพราะวาใชมาตราสวนไมเทากัน ดังนี้
เรือจริงความยาวของ
เรือจําลองความยาวของ = 17.50
1.05 =
1
0.06
เรือจริงองความกวางข
เรือจําลององความกวางข = 2.60
0.20 ≈
1
0.077
เรือจริงความลึกของ
เรือจําลองความลึกของ = 2.60
0.15 =
1
0.06
E F
G H
53
คําตอบกิจกรรม “อัตราสวนทอง”
1.
รูปสี่เหลี่ยมผืนผาทองรูปที่ 1 ไดแก AFHD มี AD = 2 ซม.
รูปสี่เหลี่ยมผืนผาทองรูปที่ 2 ไดแก BFHC มี BC = 5 ซม.
รูปสี่เหลี่ยมผืนผาทองรูปที่ 3 ไดแก AFHD มี AD = 8 ซม.
D C H
FBA
2 ซม.
D C H
FBA
5 ซม.
A B F
HCD
8 ซม.
รูปสี่เหลี่ยมผืนผาทองรูปที่ 4 ไดแก BFHC มี BC = 13 ซม.
D C H
FBA
13 ซม.
55
2.
รูปที่
ความกวาง
(ซม.)
ความยาว
(ซม.)
ความกวาง
ความยาว
ความยาว : 1
1 2 3 2
3 1.5 : 1
2 3 5
3
5 1.67 : 1
3 8 13
8
13 1.625 : 1
4 8 13
8
13 1.625 : 1
3. ใกลเคียง
คําตอบกิจกรรม “ลองทําดู”
1. 55, 89 และ 144
2.
1)
(1) (2) (3)
อัตราสวนที่กําหนด
จากลําดับฟโบนักชี
เขียนเปนอัตราสวน
ที่จํานวนหลังเปน 1
สวนตางของจํานวนแรกของ
อัตราสวนในสดมภที่ (2) กับ 1.618
1 : 1
2 : 1
3 : 2
5 : 3
8 : 5
13 : 8
21 : 13
1.000 : 1
2.000 : 1
[1.500 : 1]
[1.667 : 1]
[1.600 : 1]
[1.625 : 1]
[1.615 : 1]
1.618 – 1 = 0.618
2 – 1.618 = 0.382
[1.618 – 1.50 = 0.118]
[1.667 – 1.618 = 0.049]
[1.618 – 1.600 = 0.018]
[1.625 – 1.618 = 0.007]
[1.618 – 1.615 = 0.003]
2) สวนตางในสดมภที่ (3) ลดลงไปเรื่อย ๆ
3) อัตราสวนที่ไดตอ ๆ ไปนาจะเปนอัตราสวนที่ประมาณเปน 1.618 : 1 ได
56
3.
รูปที่ ความกวาง หนวย ความสูง หนวย
1
2
3
4
5
6
50
[80]
0.8
[1.3]
90
[1.5]
เซนติเมตร
[เซนติเมตร]
เมตร
[เมตร]
เซนติเมตร
เมตร
[80]
130
[1.3]
2.1
[150]
2.5
เซนติเมตร
เซนติเมตร
[เมตร]
เมตร
เซนติเมตร
เมตร
การหาคําตอบของรูปที่ 5 และรูปที่ 6 ใชความรูเกี่ยวกับการหาอัตราสวนที่เทากันกับอัตราสวนที่
กําหนดให ซึ่งในที่นี้เปนการนําจํานวนบวกไปคูณหรือหาร อัตราสวน 5 : 3 ในขอ 2 ขางตน
คําตอบกิจกรรม “รูปสามเหลี่ยมทอง”
จากรูปดาวทองนี้ จะมีรูปสามเหลี่ยมทอง 5 รูป
57
แบบฝกหัดเพิ่มเติมและคําตอบ
58
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3
1.
บริเวณบานชั้นเดียวหลังหนึ่งแสดงเปนแผนผัง
ไดดังรูป จงหาพื้นที่ของบานหลังนี้
โดยประมาณถาราคาคากอสรางเฉลี่ย
ตารางเมตรละ 6,970 บาท คากอสราง
บานหลังนี้ประมาณเทาไร [1,008,000 บาท]
2.
แผนผังของที่ดินแปลงหนึ่งเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู
ดังรูป จงหาพื้นที่ของที่ดินแปลงนี้โดยประมาณ และ
ถาคาถมที่เฉลี่ยตารางวาละ 233 บาท จงหาวาคาถมที่
เปนเงินประมาณเทาไร [111,141 บาท]
3.4 ซม.
1.9 ซม.
1.8 ซม.
มาตราสวน 1 ซม. : 10 วา
6 ซม.
D
E2.95 ซม.F
GH
1.9 ซม.A
1 ซม.
มาตราสวน 1 ซม. : 2 ม.
C 5.1 ซม.
B
1.05 ซม.

More Related Content

What's hot

อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับmathsanook
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201kroojaja
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1guychaipk
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือkrujee
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 

What's hot (19)

อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับ
 
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
 
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
 
Basic algebra
Basic algebraBasic algebra
Basic algebra
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือ
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 

Similar to Add m2-1-chapter3

การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว sawed kodnara
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตpoomarin
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตpoomarin
 

Similar to Add m2-1-chapter3 (20)

Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
Add m1-1-chapter4
Add m1-1-chapter4Add m1-1-chapter4
Add m1-1-chapter4
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Plan 2
Plan 2Plan 2
Plan 2
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิต
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิต
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

Add m2-1-chapter3

  • 1. บทที่ 3 การประยุกตเกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละ (16 ชั่วโมง) 3.1 อัตราสวน (4 ชั่วโมง) 3.2 รอยละ (5 ชั่วโมง) 3.3 การประยุกตเกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละ (7 ชั่วโมง) นักเรียนมีพื้นฐานความรูเกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละมาแลวจากบทที่ 1 ในหนังสือเรียน สาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เนื้อหาในตอนตนเปนการทบทวน ความรูเดิมที่เกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละ แลวจึงขยายใหเห็นการนําอัตราสวนและรอยละไปใชแกโจทย ปญหาที่ซับซอนขึ้น พรอมทั้งใหเห็นประโยชนที่นําไปใชในสวนของการประยุกต รูปแบบการนําเสนอเนื้อหาสาระในบทนี้มีทั้งที่เปนเนื้อหาโดยตรงและเปนกิจกรรม ลักษณะของ กิจกรรมจะเนนทักษะการคิดคํานวณและทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ครูควรใหนักเรียนไดปฏิบัติ จริงและมีการอภิปรายรวมกันภายในกลุมเพื่อใหนักเรียนไดหาขอสรุปรวมกัน เนื้อหาสาระในหัวขอ 3.1 และหัวขอ 3.2 สวนใหญเปนเนื้อหาที่ซับซอน ครูควรเลือกสอนให เหมาะสมกับพื้นฐานความรูและความพรอมของนักเรียน ควรจัดเวลาสําหรับนักเรียนทําแบบฝกหัดให เหมาะสม สําหรับเนื้อหาสาระในหัวขอ 3.3 ครูควรจัดใหนักเรียนทุกคนไดเรียน เพื่อใหเห็นประโยชนที่ นําความรูเกี่ยวกับอัตราสวนและรอยละไปใชในงานตาง ๆ ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. ใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน และรอยละแกปญหาหรือสถานการณตาง ๆ ได 2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
  • 2. 40 แนวทางในการจัดการเรียนรู 3.1 อัตราสวน (4 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับอัตราสวนได 2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูอาจใชการถามตอบเพื่อทบทวนเกี่ยวกับอัตราสวน เชน ความหมายและสัญลักษณ แลวให นักเรียนยกตัวอยางอัตราสวนที่ใชในชีวิตประจําวัน 2. สําหรับกิจกรรม “คิดอยางไร” ครูควรใหนักเรียนทําในชั้นเรียน เพื่อทบทวนเกี่ยวกับ อัตราสวน โดยใหนักเรียนใชความรูสึกเชิงจํานวนมาวิเคราะหสถานการณตาง ๆ ครูอาจยกสถานการณ เพิ่มเติม หรืออาจใหนักเรียนยกสถานการณแลวอภิปรายรวมกัน 3. สําหรับตัวอยางที่ 2 และตัวอยางที่ 3 ครูควรย้ําใหนักเรียนสังเกตเกี่ยวกับลําดับของจํานวน ในสัดสวน เพื่อใหแนใจวาเปนอัตราที่เทากัน 4. สําหรับแบบฝกหัด 3.1 ก มีเจตนาใหนักเรียนไดทบทวนการหาคาของตัวแปรในสัดสวน และแกโจทยปญหาโดยใชสัดสวนตามความรูเดิม เพื่อใหนักเรียนมีความพรอมและมีพื้นฐานเพียงพอ กอนทําโจทยปญหาที่ซับซอนขึ้น 5. สาระในหนังสือเรียนหนา 83 เปนสาระสําคัญที่นักเรียนทุกคนจะตองเขาใจเพื่อมีความคิด รวบยอดที่ถูกตองเกี่ยวกับอัตราสวน ครูควรอธิบายใหนักเรียนมีความเขาใจในเรื่องนี้กอน และอาจ ยกตัวอยางเพิ่มเติมอีก สําหรับตัวอยางที่ 4 ตัวอยางที่ 5 และแบบฝกหัด 3.1 ข ครูอาจเลือกปฏิบัติดังนี้ 1) ถาครูเห็นวานักเรียนไมมีความพรอมที่จะเรียน อาจไมตองสอนและไมตองทํา แบบฝกหัด 3.1 ข 2) ถาครูเห็นวานักเรียนมีความพรอมเพียงพอ หลังจากใหนักเรียนทําความเขาใจ ตัวอยางในหนังสือเรียนแลว ครูอาจเลือกแบบฝกหัด 3.1 ข บางขอใหนักเรียนชวยกันคิดเปนกลุมและนํา เสนอแนวคิดรวมกันในชั้นเรียน 6. สําหรับกิจกรรม “ผิดตรงไหน” เสนอไวเปนตัวอยางของปญหาที่ตองการใหนักเรียน ระมัดระวังในการนําสัดสวนมาแกโจทยปญหา ครูควรอธิบายใหนักเรียนเขาใจวาโจทยปญหานี้ไมสามารถ นํา 42 x และ 28 36 มาเขียนเปนสัดสวนได เพราะวาอัตราสวนทั้งสองไมใชอัตราสวนที่เทากัน เนื่องจาก ผิดจากความเปนจริง คือ ถามีจํานวนคนงานกินขาวเพิ่มขึ้นจํานวนวันที่กินขาวนั้นจะนอยลง แตอัตราสวน
  • 3. 41 ที่จุกเขียนมานั้นมีความหมายวา ถามีจํานวนคนงานกินขาวเพิ่มขึ้นจํานวนวันที่กินขาวนั้นจะเพิ่มขึ้นดวย จาก กิจกรรมนี้ครูจึงพึงระมัดระวังในการใหโจทยปญหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสัดสวน ที่ในการหาคําตอบ จะตอง ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ 3.2 รอยละ (5 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับรอยละได 2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูอาจนําเขาสูบทเรียนดวยการสนทนาใหเห็นความสําคัญของรอยละตามที่เสนอไวใน หนังสือเรียนหนา 89 โดยอาจยกตัวอยางเพิ่มเติมดวยก็ได และเพื่อใหนักเรียนเห็นประโยชนของการใช รอยละในชีวิตประจําวัน ครูอาจนํากลองหรือขวดบรรจุภัณฑอาหารสําเร็จรูปตาง ๆ ใหนักเรียนศึกษา และอภิปรายรวมกันวารอยละในขอมูลโภชนาการเกี่ยวกับอาหารเหลานั้น ใหขอมูลที่เปนประโยชนตอ ผูบริโภคอยางใดบาง เชน อาหารบางชนิดมีรอยละของแคลเซียมสูงในหนึ่งหนวยบริโภค จึงเหมาะสําหรับ เด็กที่อยูในวัยเจริญเติบโตซึ่งควรรับประทานอาหารที่มีปริมาณของแคลเซียมมากเปนพิเศษ หรืออาจให นักเรียนพิจารณาวาอาหารที่มีรอยละของไขมันสูงในหนึ่งหนวยบริโภคนั้น เหมาะสมกับนักเรียนที่จะเลือก รับประทานหรือไม ครูอาจนําบทความซึ่งเกี่ยวของกับรอยละที่ปรากฏในสื่อตาง ๆ มาใหนักเรียนพิจารณาวาเปน รอยละของจํานวนใด การแกปญหาที่เกี่ยวของกับรอยละนั้นตองใชการคํานวณในลักษณะใด เชน ในปริมาณอาหาร 200 มิลลิกรัมมีขอมูลบงวามีไขมัน 10% จากขอมูลนี้นักเรียนมีความเขาใจวาอยางไร 2. สําหรับกิจกรรม “ยังตอบไดหรือไม” มีเจตนาเพื่อทบทวนการนําสัดสวนมาคํานวณเกี่ยวกับ รอยละในทั้งสามลักษณะใหเขาใจอยางถองแท ตามที่เสนอไวในหนังสือเรียนหนา 91 กอนที่จะสอนเรื่อง รอยละที่มีความซับซอนขึ้นตอไป 3. สําหรับโจทยปญหาเกี่ยวกับของผสม ครูอาจเลือกปฏิบัติดังนี้ 1) สําหรับนักเรียนที่ยังไมพรอมจะเรียน ครูควรใหนักเรียนฝกทักษะการคิดคํานวณ โจทยรอยละในสามลักษณะเพิ่มเติม และไมตองทําแบบฝกหัด 3.2 2) สําหรับนักเรียนที่มีความพรอม ครูควรบอกความหมายและยกตัวอยางของผสม กอนที่ครูจะใหตัวอยางการใชรอยละแกโจทยปญหาเกี่ยวกับของผสม สําหรับตัวอยางที่ 1 หนา 93 นําเสนอไว ไดเลือกใชสัดสวนที่สะดวกและรวดเร็วในการ คิดคํานวณ ครูอาจเขียนสัดสวนในตัวอยางนี้เปนอยางอื่นได เชน 100 28 = 600x700 700 + ครูควรให
  • 4. 42 นักเรียนพิจารณาเปรียบเทียบกับสัดสวนที่แสดงไวในตัวอยางวา การคํานวณหาคาของตัวแปรในสัดสวนนี้ มีความยุงยากมากกวาหรือไม อยางไร ตอจากนั้นครูควรแนะนํานักเรียนวา ในการทําโจทยใหพยายาม เขียนสัดสวนที่งายและสะดวกในการคํานวณ ในตัวอยางที่ 1 ถึงตัวอยางที่ 3 ไดเขียนสัดสวนหรือสมการโดยใชตัวแปรหนึ่งตัว แต ตัวอยางที่ 4 ไดเขียนสัดสวนโดยใชตัวแปรสองตัว ทั้งนี้มีเจตนาใหนักเรียนเห็นวาเราสามารถหาอัตราสวน ที่แสดงการเปรียบเทียบตัวแปรทั้งสองไดโดยไมตองทราบคาที่แทจริงของตัวแปรทั้งสองนั้น การหา x : y โดยวิธีที่แสดงไวนาจะเปนไปตามหลักการของอัตราสวนมากกวาการหาโดยใชตัวแปรเพียงหนึ่งตัว 4. สําหรับกิจกรรม “หาไดไหม” มีเจตนาใหเห็นการเชื่อมโยงความรูเรื่องอัตราสวนและรอยละ ที่นําไปใชในทางเรขาคณิต นักเรียนควรสังเกตเห็นวาอัตราสวนของพื้นที่ของ ∆ AEF ตอพื้นที่ของ ∆ ABC ไมเทากับ 1 ตอ 2 เชนเดียวกับอัตราสวนของความยาวของดาน แตจะมีอัตราสวน เปน 1 ตอ 4 5. กิจกรรม “เทแลวเติม – เติมแลวเท” มีแบบรูปของปริมาณน้ําหวาน เปนแบบรูปในทํานอง เดียวกันกับแบบรูปของปริมาณยาในรางกายตามกิจกรรม “นารู” ในเรื่องสมบัติของเลขยกกําลัง หนา 12 ครูควรสังเกตไดวากิจกรรมที่มีแบบรูปในการคิดแกปญหาแบบเดียวกัน อาจสรางโจทยปญหาดวย สถานการณตาง ๆ กัน ครูอาจหาโจทยทํานองนี้เพิ่มเติมเพื่อใหนักเรียนเห็นความหลากหลายในการนําไปใช 6. สําหรับกิจกรรม “เปนอัตราสวนเทาใด” มีเจตนาใหเห็นโจทยปญหาระคนของเรื่องอัตราสวน และรอยละที่ตองแกปญหาดวยการแจงนับตามกรณี และตองการใหเห็นวาคําตอบของปญหานี้มีไดหลาย คําตอบ 3.3 การประยุกตของอัตราสวนและรอยละ (7 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. ใชอัตราสวนและรอยละแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ได 2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. กิจกรรม “เปลี่ยนหนวยอุณหภูมิ” เปนตัวอยางหนึ่งที่ตองการแสดงใหนักเรียนเห็นการนํา สัดสวนมาใชเพื่อหาความสัมพันธระหวางอุณหภูมิในระบบองศาเซลเซียสกับระบบองศาฟาเรนไฮต ครูอาจนําสนทนาเกี่ยวกับการพยากรณอากาศและรายงานภูมิอากาศในตางประเทศ ซึ่งบาง ประเทศจะรายงานอุณหภูมิในระบบอาศาฟาเรนไฮต เชน สหรัฐอเมริกา ครูอาจนําเทอรโมมิเตอรที่บอกอุณหภูมิทั้งสองระบบใหนักเรียนดู และใหอานอุณหภูมิ ณ เวลานั้นในทั้งสองระบบ เพื่อเปนขอมูลสําหรับการตรวจสอบการคํานวณโดยใชสูตรที่จะเรียนตอไป
  • 5. 43 ครูอาจใชการถามตอบประกอบคําอธิบายเพื่อใหนักเรียนไดขอสรุปวา อัตราสวนของจํานวน ชองในระบบองศาเซลเซียสตอจํานวนชองในระบบองศาฟาเรนไฮตเทากับ 100 : 180 จนกระทั่งได ความสัมพันธเปน 5 C = 9 32F− ซึ่งเปนสูตรที่ใชไดไมวา C หรือ F จะแทนอุณหภูมิที่เปนบวกหรือลบ ก็ตาม 2. กิจกรรม “อัตราทดของเกียร” เปนอีกตัวอยางหนึ่งที่แสดงใหนักเรียนเห็นการนําอัตราสวน มาใชในการบอกลักษณะเฉพาะและคิดคํานวณเกี่ยวกับจักรกล ครูอาจนําสนทนาเกี่ยวกับระบบเกียรของรถจักรยานยนตหรือรถยนต หรืออาจใหนักเรียนไป ศึกษาเรียนรูที่แหลงการเรียนรูในทองถิ่น เชน อูซอมรถใกลโรงเรียน ถาไมสะดวกครูอาจนํารูปเกียรของรถ ประเภทตาง ๆ ใหนักเรียนดูประกอบคําอธิบาย 3. สําหรับกิจกรรม “มาตราสวน” ในสวนที่ใชในเครื่องถายเอกสารหรือคอมพิวเตอร ครูควร ใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับขนาดสําเนา 100% วา หมายถึง การทําใหความยาวของทุกสวนในสําเนาเทากับ ความยาวของสวนที่สมนัยกันของรูปตนแบบ หรืออาจกลาวไดวารูปที่ไดในสําเนากับรูปตนแบบนั้น เทากันทุกประการ ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 เพื่อเสริมทักษะการคิดคํานวณเกี่ยวกับมาตราสวนใหกับ นักเรียน 4. สําหรับกิจกรรม “ยอมุมและขยายมุม” ถามีเครื่องถายเอกสารครูอาจใหนักเรียนเขียน สวนของเสนตรง มุม และรูปเหลี่ยมตาง ๆ พรอมทั้งกําหนดรอยละของการยอหรือการขยาย แลวให นักเรียนปฏิบัติจริงเพื่อตรวจสอบวามีผลเปนไปตามบทเรียนหนา 108 – 110 5. สําหรับกิจกรรม “ไมบรรทัดมาตราสวน” มีเจตนาใหนักเรียนเห็นเครื่องมือที่อํานวยความสะดวก ในการใชมาตราสวนกับงานชาง ครูอาจนําสนทนาเกี่ยวกับอุปกรณหรือเครื่องมือที่ชางเขียนแบบ ชางไมหรือ ชางกอสรางใชในการเขียนแบบ วามีเครื่องมืออะไรที่นักเรียนทราบพรอมใหยกตัวอยาง และครูอาจนําภาพ อุปกรณเหลานี้มาใหนักเรียนดูประกอบการสนทนา สําหรับไมบรรทัดมาตราสวนครูควรนําของจริงมาใหนักเรียนดู ถาไมมีไมบรรทัดมาตรา สวนครูควรสรางไมบรรทัดมาตราสวน เชน ไมบรรทัดมาตราสวน 1 : 20 ที่นักเรียนสามารถคิดตามไดโดยงาย เมื่อครูใชประกอบ คําอธิบายและสาธิตการใชในการอานแบบหรือเขียนแบบ ไมบรรทัดมาตราสวน 1 : 75 หรือ 1 : 125 เพื่อใหนักเรียนเห็นประโยชนของการใช ไมบรรทัดมาตราสวนในการอานแบบและเขียนแบบซึ่งสามารถอานความยาวไดทันที โดยไมตองคํานวณ ใหยุงยาก ครูอาจนําแผนผังของบานหรือแผนผังของหองสมุดมาประกอบการสอน ซึ่งครูอาจใชการ สาธิต การถามตอบประกอบคําอธิบาย แลวใหนักเรียนชวยกันทําแบบฝกหัดกิจกรรม “ทําไดหรือไม”
  • 6. 44 6. สําหรับกิจกรรม “แบบจําลอง” เจตนาใหนักเรียนเห็นประโยชนของมาตราสวนยอและ มาตราสวนขยายที่ชวยใหผูสรางแบบสามารถประดิษฐชิ้นงานจําลองไดเหมือนของจริงแตขนาดเล็กหรือ ใหญกวา ครูอาจนํานักเรียนไปศึกษาการจําลองสิ่งตาง ๆ ตามแหลงการเรียนรูใกลโรงเรียน เชน ศึกษา เจดีย รูปปนบุคคลสําคัญ ศิลปวัตถุตาง ๆ เพื่อใหนักเรียนหาขนาดจริงและเมื่อกําหนดมาตราสวนยอให สามารถคํานวณหาขนาดของรูปจําลองที่ตองการทําได ครูอาจนําวัตถุหรือสิ่งของจําลองที่มีขายตามทอง ตลาดซึ่งสวนใหญจะเปนของเด็กเลนที่บรรจุในกลองและบอกมาตราสวนยอกํากับไวที่กลอง แลวให นักเรียนคํานวณหาขนาดสวนสัดของจริง ในการศึกษาการจําลองทั้งสองลักษณะนี้ครูควรใชการถามตอบ ประกอบคําอธิบายไปพรอม ๆ กัน ตามสาระที่เสนอไวในกิจกรรมนี้ เพื่อใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ ชัดเจนขึ้น สําหรับสาระที่กลาวถึงเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส ครูอาจเชื่อมโยงความรูกับวิชาภาษาไทย โดยหาบทกาพยเหเรือฉบับเต็มบทมาใหนักเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับขบวนเรือในพระราชพิธีเสด็จทางชลมารค ครูอาจเชื่อมโยงความรูเกี่ยวกับการจําลองตาง ๆ ซึ่งเปนผลิตภัณฑในทองถิ่น เชน ตุกตา จําลองอาชีพหรือการละเลนพื้นบาน พรอมทั้งแนะนําใหนักเรียนนําความรูนี้ไปเผยแพรตอชุมชนเพื่อ ปรับปรุงผลิตภัณฑของทองถิ่นใหไดมาตรฐานและมีสวนสัดเหมือนจริง 7. สําหรับกิจกรรม “อัตราสวนทอง” มีเจตนาขยายความรูเพิ่มเติมจากที่นักเรียนเคยทราบมา บางแลว ครูควรทบทวนเกี่ยวกับอัตราสวนทองและรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทอง หลังจากนั้นใหนักเรียนศึกษาถึง การสรางรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทองตามที่เสนอไวในกิจกรรมนี้ และตอเนื่องไปถึงกิจกรรม “อัตราสวนทองกับ ลําดับฟโบนักชี” และกิจกรรม “ลองทําดู” ซึ่งเปนกิจกรรมที่ตองการแสดงใหเห็นการประมาณอัตราสวน ทองโดยใชจํานวนในลําดับฟโบนักชี ตลอดจนการนําไปใชในงานชางตาง ๆ 8. สําหรับกิจกรรม “รูปสามเหลี่ยมทอง” เสนอไวเพื่อเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับอัตราสวนทองใน รูปอื่น ๆ นอกจากรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทอง 9. สําหรับกรอบความรู “เรื่องของ π” เสนอไวเปนความรูแกนักเรียนใหทราบวา π เปน อัตราสวนที่รูจักกับแพรหลายมากที่สุดในทางคณิตศาสตร เปนจํานวนที่มีเสนห เปนที่สนใจของ นักคณิตศาสตรมาหลายยุคหลายสมัย และมีประโยชนในการคํานวณทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ครูควรใหนักเรียนไดศึกษากรอบความรูนี้ดวยตนเอง และอาจแนะนําใหศึกษาคนควาเพิ่มเติม จากแหลงความรูอื่น ๆ ในรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติของ π และเทคนิคการคํานวณหาคาของ π เปนตน
  • 7. 45 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบกิจกรรม “คิดอยางไร” สถานการณที่ 1 ครอบครัวนิติถึงบานพักกอน สถานการณที่ 2 กวยเตี๋ยวของแพรจะออกรสเค็มมากกวา สถานการณที่ 3 1) สีเขียว B 2) สีเขียว C 3) สีสม B คําตอบแบบฝกหัด 3.1 ก 1. 1) 18 2) 5 3) 72 4) 8 45 5) 13.44 6) 2 2. ประมาณ 67 วัน 3. ขาวสาร 12 กระปองและลูกเดือย 2 14 กระปอง 4. พนักงานชาย 240 คน และพนักงานหญิง 96 คน 5. 150 บาท 6. โรงเรียนกาวหนาศึกษามีนักเรียนมาสมัคร 714 คน และโรงเรียนคณิตวิทยามีนักเรียนมาสมัคร 770 คน 7. น้ําตาลแดง 3 กิโลกรัมและน้ําตาลทรายแดง 2 กิโลกรัม คําตอบแบบฝกหัด 3.1 ข 1. 1) 5 36 2) 5 3) 2 4) 9 2. พิษณุมียอดเงินฝาก 4,200 บาท และภูวนัยมียอดเงินฝาก 3,500 บาท 3. พริกปน 30 กรัม เกลือ 120 กรัม และน้ําตาล 240 กรัม
  • 8. 46 4. สมโชกุน 60 กิโลกรัมและลิ้นจี่ 75 กิโลกรัม 5. 1) มะกรูด 210 ผล และมะนาว 280 ผล 2) 7 : 8 6. เงินฝากของพิมพ 5,750 บาท และเงินฝากของพลอย 8,050 บาท 7. 4 : 7 : 6 8. ไมเปนอัตราสวนเดิม แตเปนอัตราสวน 7 : 3 : 15 คําตอบปญหา “ผิดตรงไหน” ผิดตรงที่นํามาเขียนเปนสัดสวน 42 x = 28 36 ทั้งที่ 42 x ≠ 28 36 ปญหานี้คํานวณไดโดยใชสัดสวนตามแนวคิดตอไปนี้ แนวคิด เนื่องจากคนงาน 28 คน กินขาวจํานวนหนึ่งไดนาน 36 วัน ดังนั้น คนงาน 1 คน กินขาวจํานวนนั้นไดนาน 28 × 36 วัน ถาใหคนงาน 42 คน กินขาวจํานวนนั้นไดนาน x วัน ดังนั้นคนงาน 1 คน กินขาวจํานวนนั้นไดนาน 42 × x วัน เขียนสัดสวนไดดังนี้ 1 : (28 × 36) = 1 : (42 × x) จะได 1 × (42 × x) = (28 × 36) ×1 x = 42 3628× ดังนั้น x = 24 นั่นคือ คนงาน 42 คน กินขาวไดนาน 24 วัน คําตอบปญหา “ยังตอบไดหรือไม” 1. 323 บาท 2. 4,815 บาท 3. รอยละ 45 4. 12% 5. 26,000 บาท 6. 50,000 บาท
  • 9. 47 คําตอบแบบฝกหัด 3.2 1. 19.5 กรัม 2. 35% 3. ใชอัลลอยดชนิดแรก 3 2166 กิโลกรัม และชนิดที่สอง 3 183 กิโลกรัม 4. 48 ลิตร 5. 26 ขอ 6. 7 473 % 7. 32 คะแนน 8. 40 ลิตร 9. 1) ราคาตนทุนของเสื้อ 400 บาท และราคาตนทุนของกางเกง 300 บาท 2) กําไรเฉลี่ย 7 535 % 10. อัตราสวนของจํานวนลูกกวาดเคลือบช็อคโกแลตตอจํานวนลูกกวาดเคลือบน้ําตาลโดยน้ําหนัก เปน 2 : 1 คําตอบกิจกรรม “หาไดไหม” พื้นที่ของ ∆ AEF คิดเปนรอยละ 25 ของพื้นที่ของ ∆ ABC แนวคิด อัตราสวนของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากสองรูปมีความสัมพันธกับอัตราสวน ของความยาวของฐานและความสูงที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากสองรูปนั้น พื้นที่ของ ∆ AEF = 2 1 × AE × EF พื้นที่ของ ∆ ABC = 2 1 × AB × BC ดังนั้น ABCพื้นที่ของ AEFพื้นที่ของ ∆ ∆ = BCAB2 1 EFAE2 1 ×× ×× = BCAB EFAE × ×
  • 10. 48 คําตอบกิจกรรม “หาไดไหม” (ตอ) = AB AE × BC EF = 2 1 × 2 1 = 4 1 ดังนั้น ABCพื้นที่ของ AEFพื้นที่ของ ∆ ∆ = 100 25 นั่นคือ พื้นที่ของ ∆ AEF คิดเปนรอยละ 25 ของพื้นที่ของ ∆ ABC คําตอบกิจกรรม “เทแลวเติม – เติมแลวเท” สวนผสมในครั้งที่ 4 เปนน้ําหวานเจือจาง 4 16 % แนวคิด ในครั้งที่ 4 จะมีปริมาณน้ําหวาน 2 2 1 1-4 ×      = 2 2 1 3 ×      ถวยตวง ในน้ําหวานผสม 4 ถวยตวง คิดเปนน้ําหวานเจือจาง 100 4 2 2 1 3 × ×      = 4 1 6 % คําตอบกิจกรรม “เปนอัตราสวนเทาใด” มีคําตอบไดหลายคําตอบ ตัวอยางคําตอบ อัตราสวนของจํานวนวุนมะพราวตอจํานวนแปะกวยตอจํานวนลูกพลับแหงโดย น้ําหนัก เปน 4 : 7 : 9 และ 8 : 9 : 3 แนวคิด หาตนทุนของขนมผสมจํานวน 1 กิโลกรัม เนื่องจากขายขนมผสมกิโลกรัมละ 120 บาท ไดกําไร 20% แสดงวาขนมผสม 1 กิโลกรัมมีตนทุน 100 บาท ใชวิธีแจงนับหาสวนผสมแตละชนิดดังนี้
  • 11. 49 คําตอบกิจกรรม “เปนอัตราสวนเทาใด” (ตอ) จะไดอัตราสวนของจํานวนวุนมะพราวตอจํานวนแปะกวยตอจํานวนลูกพลับแหง โดยน้ําหนัก เปน 200 : 350 : 450 = 4 : 7 : 9 และ 400 : 450 : 150 = 8 : 9 : 3 คําตอบกิจกรรม “เปลี่ยนหนวยอุณหภูมิ” 1. 1) 77o F 2) 239o F 3) 198.5o F 4) -26.5o F 2. 1) 65o C 2) 135o C 3) -25o C 4) -77.5o C สวนผสมแบบที่ 1 วุนมะพราว 200 40 1000 200 × = 8 แปะกวย 350 160 1000 350 × = 56 ลูกพลับแหง 450 80 1000 450 × = 36 รวม 1,000 100 ปริมาณ (กรัม) ตนทุน (บาท) สวนผสมที่แบบ 2 วุนมะพราว 400 40 1000 400 × = 16 แปะกวย 450 160 1000 450 × = 72 ลูกพลับแหง 150 80 1000 150 × = 12 รวม 1,000 100 ปริมาณ (กรัม) ตนทุน (บาท)
  • 12. 50 คําตอบกิจกรรม “เปลี่ยนหนวยอุณหภูมิ” (ตอ) 3. 84.6o F 4. -36.4o F 5. ประมาณ -45.5o C 6. 20o C 7. 122o F คําตอบกิจกรรม “อัตราทดของเกียร” 1. ถาอัตราทดของเกียรเปน 1 แสดงวาเมื่อเฟองขับหมุนไป 1 รอบ เฟองตามจะหมุนไป 1 รอบ เชนกัน 2. 1) 1.458 2) 1.68 3) 0.8 4) 1.5 3. 1) 40 ซี่ 2) 40 ซี่ 4. 1) 49 ซี่ 2) 29 ซี่ 5. จํานวนฟนของเฟองตาม 36 และจํานวนฟนของเฟองขับ 20 จะไดอัตราทดของเกียรเทากับ 20 36 = 1.8 จริง จํานวนฟนของเฟองตาม 63 และจํานวนฟนของเฟองขับ 35 จะไดอัตราทดของเกียรเทากับ 35 63 = 1.8 จริง คําตอบกิจกรรม “มาตราสวน” 1. 7.5 กิโลเมตร 2. 70 เซนติเมตร 3. 8 กิโลเมตร 4. 15.2 เซนติเมตร 5. 25 กิโลเมตร 6. 72 เซนติเมตร 7. 24 เมตร
  • 13. 51 8. 3 เซนติเมตร คําตอบทายตัวอยางการยอและการขยาย หนา 109 1. 12 เซนติเมตร 2. 15 เซนติเมตร 3. ความยาว 10.8 เซนติเมตรและความกวาง 6 เซนติเมตร 4. ความยาว 7.5 เซนติเมตรและความกวาง 6 เซนติเมตร 5. ดานประกอบมุมยอดยาว 9.6 เซนติเมตรและฐานยาว 6 เซนติเมตร เมื่อขยายรูปสี่เหลี่ยมผืนผาเปนรูปขยาย 150% แลวพื้นที่ของรูปขยายจะไมเปน 150% ของพื้นที่ ของรูปตนแบบ เพราะการขยายรูปสี่เหลี่ยมผืนผาจะขยายทั้งดานยาวและดานกวางดานละ 150% ทําให พื้นที่ของรูปขยายมากกวา 150% คําตอบกิจกรรม “ยอมุมและขยายมุม” 1. ขนาดของมุมในรูป ก รูป ข และรูป ค ไมเปลี่ยนแปลง 2. ไมเปลี่ยนแปลง 3. ไมเปลี่ยนแปลง เพราะวา การยอมุมและขยายมุมของรูปเหลี่ยม จะเปลี่ยนแปลงเฉพาะความยาวของ แขนของมุมเทานั้น คําตอบกิจกรรม “ทําไดหรือไม” 1. 1) ประมาณ 0.90 เมตร 2) ประมาณ 2 เมตร 3) ประมาณ 2.10 เมตร 4) ประมาณ 4.20 เมตร 5) 6 เมตร 2. 1) 2) A B C D
  • 14. 52 3) 4) 3. คําตอบมีหลายคําตอบตามสภาพหองเรียน คําตอบแบบฝกหัดทายกิจกรรม “แบบจําลอง” 1. 6 นิ้ว 2. 2.25 เซนติเมตร 3. ความยาว 0.85 เมตร หรือ 85 เซนติเมตร ความกวาง 0.275 เมตร หรือ 27.5 เซนติเมตร ความลึก 0.0875 เมตร หรือ 8.75 เซนติเมตร 4. ความยาว 0.15 เมตร หรือ 15 เซนติเมตร ความกวาง 0.10 เมตร หรือ 10 เซนติเมตร 5. ความกวาง 0.0812 เมตร หรือ 8.12 เซนติเมตร ความลึก 0.0248 เมตร หรือ 2.48 เซนติเมตร 6. ความยาว 1.4515 เมตร หรือ 145.15 เซนติเมตร ความลึก 0.0315 เมตร หรือ 3.15 เซนติเมตร 7. ความยาว 3 เมตร ความกวาง 1.25 เมตร ความสูง 1.50 เมตร 8. ความกวาง 2.40 เมตร ความลึก 3.00 เมตร 9. สวนสัดไมเหมือนเรือจริง เพราะวาใชมาตราสวนไมเทากัน ดังนี้ เรือจริงความยาวของ เรือจําลองความยาวของ = 17.50 1.05 = 1 0.06 เรือจริงองความกวางข เรือจําลององความกวางข = 2.60 0.20 ≈ 1 0.077 เรือจริงความลึกของ เรือจําลองความลึกของ = 2.60 0.15 = 1 0.06 E F G H
  • 15. 53 คําตอบกิจกรรม “อัตราสวนทอง” 1. รูปสี่เหลี่ยมผืนผาทองรูปที่ 1 ไดแก AFHD มี AD = 2 ซม. รูปสี่เหลี่ยมผืนผาทองรูปที่ 2 ไดแก BFHC มี BC = 5 ซม. รูปสี่เหลี่ยมผืนผาทองรูปที่ 3 ไดแก AFHD มี AD = 8 ซม. D C H FBA 2 ซม. D C H FBA 5 ซม. A B F HCD 8 ซม.
  • 17. 55 2. รูปที่ ความกวาง (ซม.) ความยาว (ซม.) ความกวาง ความยาว ความยาว : 1 1 2 3 2 3 1.5 : 1 2 3 5 3 5 1.67 : 1 3 8 13 8 13 1.625 : 1 4 8 13 8 13 1.625 : 1 3. ใกลเคียง คําตอบกิจกรรม “ลองทําดู” 1. 55, 89 และ 144 2. 1) (1) (2) (3) อัตราสวนที่กําหนด จากลําดับฟโบนักชี เขียนเปนอัตราสวน ที่จํานวนหลังเปน 1 สวนตางของจํานวนแรกของ อัตราสวนในสดมภที่ (2) กับ 1.618 1 : 1 2 : 1 3 : 2 5 : 3 8 : 5 13 : 8 21 : 13 1.000 : 1 2.000 : 1 [1.500 : 1] [1.667 : 1] [1.600 : 1] [1.625 : 1] [1.615 : 1] 1.618 – 1 = 0.618 2 – 1.618 = 0.382 [1.618 – 1.50 = 0.118] [1.667 – 1.618 = 0.049] [1.618 – 1.600 = 0.018] [1.625 – 1.618 = 0.007] [1.618 – 1.615 = 0.003] 2) สวนตางในสดมภที่ (3) ลดลงไปเรื่อย ๆ 3) อัตราสวนที่ไดตอ ๆ ไปนาจะเปนอัตราสวนที่ประมาณเปน 1.618 : 1 ได
  • 18. 56 3. รูปที่ ความกวาง หนวย ความสูง หนวย 1 2 3 4 5 6 50 [80] 0.8 [1.3] 90 [1.5] เซนติเมตร [เซนติเมตร] เมตร [เมตร] เซนติเมตร เมตร [80] 130 [1.3] 2.1 [150] 2.5 เซนติเมตร เซนติเมตร [เมตร] เมตร เซนติเมตร เมตร การหาคําตอบของรูปที่ 5 และรูปที่ 6 ใชความรูเกี่ยวกับการหาอัตราสวนที่เทากันกับอัตราสวนที่ กําหนดให ซึ่งในที่นี้เปนการนําจํานวนบวกไปคูณหรือหาร อัตราสวน 5 : 3 ในขอ 2 ขางตน คําตอบกิจกรรม “รูปสามเหลี่ยมทอง” จากรูปดาวทองนี้ จะมีรูปสามเหลี่ยมทอง 5 รูป
  • 20. 58 แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 1. บริเวณบานชั้นเดียวหลังหนึ่งแสดงเปนแผนผัง ไดดังรูป จงหาพื้นที่ของบานหลังนี้ โดยประมาณถาราคาคากอสรางเฉลี่ย ตารางเมตรละ 6,970 บาท คากอสราง บานหลังนี้ประมาณเทาไร [1,008,000 บาท] 2. แผนผังของที่ดินแปลงหนึ่งเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ดังรูป จงหาพื้นที่ของที่ดินแปลงนี้โดยประมาณ และ ถาคาถมที่เฉลี่ยตารางวาละ 233 บาท จงหาวาคาถมที่ เปนเงินประมาณเทาไร [111,141 บาท] 3.4 ซม. 1.9 ซม. 1.8 ซม. มาตราสวน 1 ซม. : 10 วา 6 ซม. D E2.95 ซม.F GH 1.9 ซม.A 1 ซม. มาตราสวน 1 ซม. : 2 ม. C 5.1 ซม. B 1.05 ซม.