SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 1
ระบบจํานวน ( )
จํานวน แบงออกเปน 2 กลุม
กลุมที่ 1 จํานวนไมจริง ( Unreal numbers) เชน
√−1 , √−2 , √−3 , √−4 , … √−1.1 , √−1.2 , √−1.3 , …
กลุมที่ 2 จํานวนจริง( Real numbers) ซึ่งยังแบงเปน 2 กลุมคือ
1) จํานวนอตรรกยะ ( Irrational Numbers ) ไดแก
จํานวนที่ทําเปนเศษสวนไมได หรือ จํานวนที่หาคาแนนอนไมได
จะมีคาแคเพียงคาประมาณ เชน π , ε , √2, √3, √5, √6, … .
2) จํานวนอตรรกยะ ( Rational Numbers ) ไดแก
จํานวนที่ทําเปนเศษสวนได หรือ จํานวนที่มีคาแนนอน ไดแก
จํานวนเศษสวน ทศนิยมประเภท รูจบ เชน 3.45
ทศนิยมประเภทไมรูจบแบบซ้ํา
เชน 4.66666 … . , 6.474747 … ,
จํานวนเต็ม( )
นิยามที่เกี่ยวของ
นิยาม เซตของเศษสวน(Fraction)
เซตของเศษสวน = x | x =
a
b
, a ∈ I, b ∈ I, b ≠ 0
นิยาม เซตของจํานวนเต็ม
I = { … , −3, −2, −1 , 0 , 1 , 2 , 3 , … }
นิยาม เซตของจํานวนเต็มบวก
I = { 1 , 2 , 3 , … }
นิยาม เซตของจํานวนเต็มลบ
I = {−1 , −2 , −3 , … }
นิยาม เซตของจํานวนเต็มศูนย
I = {0 }
นิยาม การหารลงตัว หมายถึง การหารที่มีผลลัพธเปนจํานวนเต็ม
นิยาม เซตของจํานวน คู หมายถึง จํานวนเต็มที่หารดวย 2 ลงตัว
เซตจํานวนคู = {… , −6, −4, −2 , 0 , 2 , 4 , 6 , … }
นิยาม จํานวน คี่ หมายถึง จํานวนเต็มที่หารดวย 2 ไมลงตัว
เซตจํานวนคี่ = {… , −5, −3, −1 , 1 , 3 , 5 , 7 , … }
นิยามของจํานวนเฉพาะ ( Prime Numbers)
P = { / ∈ I, > 1, ไมมีจํานวนเต็มใดหาร ไดลงตัวยกเวน
± กับ ± 1 }
P = { 2 , 3 , 5 , 7 , 11 , . . . }
ไบนารีโอเปอเรชัน (Binary operation )
เปน เครื่องหมายแทนการกระทํา ของ จํานวน 2 จํานวน ที่
อยูระหวางเครื่องหมายนั้น ดวย กฎเกณฑของเครื่องหมายนั้น
เครื่องหมาย + − × ÷ เปน ไบนารีโอเปอเรชันทั่วไป
แตเครื่องหมายอื่นๆ จะตองกําหนดกฎเกณฑการกระทํามาใหอยางชัดเจน
สมบัติของจํานวนจริง
สมบัติของจํานวนจริงมี 3 ประการคือ
1) สมบัติดานพีชคณิต ( )
นั่นคือสามารถนําจํานวนจริงไป บวก ลบ คูณและหารกันได
2) สมบัติดานการมีอันดับ ( )
นั่นคือนําจํานวนมาเปรียบเทียบกันไดวา มากกวา นอยกวาหรือเทากัน
กลาวคือ ถา , เปนจํานวนจริงสองจํานวนแลวจะพบวา จะมีสมบัติ
เพียง อยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้ = หรือ > หรือ <
เราเรียกสมบัตินี้วา ไตรวิภาค ( ℎ )
3)สมบัติดานความบริบูรณ ( )
หรือมีชื่อเรียกอีกอยางวา สัจจพจนการมีขอบเขตบน
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 2
ตัวอยางที่ 1 ถา a, b ∈ R และ a ∗ b = a + b − 8
จงหา วา (3 ∗ 4) ∗ 5 มีคาเทาไร
, และ ∗ = + − 8 จงหาคาของ (3 ∗ 4) ∗ 5
วิธีทํา จาก ∗ = + − 8
∴ (3 ∗ 4) + 5 = (3 + 4 − 8) ∗ 5
= (−1) ∗ 5 = (−1) + 5 − 8 = −4 .
ตัวอยางที่ 2 ถา , ∈ และ ∗ = 2 + 3 − 5
จงหาคาของ (3 ∗ 4) ∗ 5
วิธีทํา จาก ∗ = 2 + 3 − 5
∴ (3 ∗ 4) ∗ 5 = [2(3) + 3(4) − 5] ∗ 5
= 13 ∗ 5 = 2(13) + 3(5) − 5 = 36 .
ตัวอยางที่ 3 ถา , และ ∗ =
2 −
3
− 1
จงหาคาของ (2 ∗ 3) ∗ 4
วิธีทํา (2 ∗ 3) ∗ 4 =
2(2) − 3
3
− 1 ∗ 4
=
1
3
− 1 ∗ 4
=
2 −
2
3
− 4
3
− 1 =
−16
3
− 1 = −
19
3
.
ตัวอยางที่ 4 ถา , , , ∈
และกําหนดกฎเกณฑในการกระทําของเครื่องหมาย ∗ ใหดังนี้
จงหาคาของ ( ∗ ) ∗ ( ∗ )
วิธีทํา จากตารางจะไดวา
( ∗ ) ∗ ( ∗ ) = ( ) ∗ ( ) = .
แบบทดสอบความเขาใจ ชุดที่ 1
1) ถา a, b ∈ R และ a ∗ b = a − b + 7
จงหา วา (5 ∗ 3) ∗ 2 มีคาเทาไร
วิธีทํา
2) ถา , และ ∗ = 3 − 2 + 5
จงหาคาของ (5 ∗ 2) ∗ 3
วิธีทํา
3) ถา , และ ∗ = − 3
จงหาคาของ (2 ∗ 4) ∗ 5
วิธีทํา
.
4. ถา , , , ∈
และกําหนดกฎเกณฑในการกระทําของเครื่องหมาย ∗ ใหดังนี้
จงหาคาของ [ ∗ ( ∗ )] ∗
∗
∗
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 3
สมบัติดานพีชคณิต ( )
1) สมบัติปด
, ∈ แลว จะมีสมบัติปดสําหรับเครื่องหมาย ∗ ก็ตอเมื่อ
∗ ∈ , ∗ ∈ , ∗ ∈
A จะมีสมบัติปด สําหรับการกระทําดวยเครื่องหมาย ∗ ก็ตอเมื่อ
ทุก a , b ที่เปนสมาชิกของ A มี a ∗ b = c โดยที่ c ∈ A เสมอ
A จะมีคุณสมบัติปด สําหรับการบวก(+)ก็ตอเมื่อ ทุกสมาชิกของ A
กระทํากันดวยการบวกแลวผลลัพธที่ไดยังคงเปนสมาชิกของเซต A เสมอ
A จะมีคุณสมบัติปด สําหรับการคูณ( ×) ก็ตอเมื่อ
ทุกสมาชิกของ A ที่กระทํากันดวยเครื่องหมาย ×
แลวผลลัพธที่ไดยังคงเปนสมาชิกของเซต A เสมอ
A จะมีคุณสมบัติปด สําหรับการหาร(%) ก็ตอเมื่อ
ทุกสมาชิกของ A ที่กระทํากันดวยเครื่องหมาย %
แลวผลลัพธที่ไดยังคงเปนสมาชิกของเซต A เสมอ
2) สมบัติการสลับที่
ทุก a , b ∈ A จะมีสมบัติการสลับที่ก็ตอเมื่อ a ∗ b = ∗
3) สมบัติการจัดหมู
ทุก a , b, c ∈ A จะมีสมบัติการจัดหมูก็ตอเมื่อ
( a ∗ b) ∗ c = ∗ ( ∗ )
4)สมบัติการกระจาย
ทุก a , b, c ∈ A จะมีสมบัติการกระจายก็ตอเมื่อ
× ( ± ) = ( × ) ± ( × )
5) สมบัติการมีเอกลักษณ
ทุก a , b, e ∈ A จะมีสมบัติการมีเอกลักษณสําหรับเครื่องหมาย ∗
ก็ตอเมื่อ ∗ = ∗ = , b ∗ e = e ∗ b = e, และ
∗ = เรียก วาเอกลักษณสําหรับเครื่องหมาย ∗ ใน
6) สมบัติการมีอินเวอรส
ทุก a , b, d, e ∈ A และ เปนเอกลักษณสําหรับเครื่องหมาย ∗
ถา ∗ = ∗ = , แลวเรียก วาเปนอินเวอรสของ
และ แลวเรียก วาเปนอินเวอรสของ
แบบทดสอบความเขาใจ ชุดที่ 2
กําหนดให = เซตของจํานวนจริง
= เซตของจํานวนตรรกยะ
′ = เซตของจํานวนอตรรกยะ
จงพิจารณาวาขอความตอไปนี้เปนจริงหรือเท็จ
… … .1) ถา ∈ แลว ≥ 0
… … .2) ถา ∈ แลว √ ∈
… … .3) ถา ∈ และ ∈ แลว ( + ) ∈
… … .4) ถา ∈ และ ∈ แลว ( + ) ∈
… … .5) ถา ∈ ′ และ ∈ ′ แลว ( + ) ∈ ′
… … .6) ถา ∈ ′ และ ∈ ′ แลว ( ∙ ) ∈ ′
… … .7) ถา ∈ และ ∈ ′ แลว ( + ) ∈ ′
… … .8) ถา ∈ และ ∈ แลว ∈
… … .9) ถา = √−4 แลว ∈ ′
… … .10) ( √2 + √3) ∈ ′
… … .11) ( 5 + √5) ∈ ′
… … .12) ( √5 − √5) ∈ ′
… … .13) ( √2 )(√5) ∈ ′
… … .14) ( √2 )(√2) ∈
… … .15) 0. 9̇ = 1
… … .16) 0.7543̇1̇ =
75431 − 754
99000
=
74677
99000
… … .17) ถา ∈ และ = แลว =
… … .18) ถา ∈ และ = แลว =
… … .19) ถา = แลว =
… … .20) ถา = แลว =
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 4
ทฤษฏีบทที่ 1 การตัดออกสําหรับการบวก
, , ∈ และ + = + แลว =
ทฤษฏีบทที่ 2 การตัดออกสําหรับการคูณ
, , ∈ และ × = × แลว = โดยที่ ≠ 0
ทฤษฏีบทที่ 3 ถา เปนจํานวนจริงใดๆแลว × 0 = 0 เสมอ
ทฤษฏีบทที่ 4 ถา เปนจํานวนจริงใดๆแลว (−1) ∙ = − เสมอ
ทฤษฏีบทที่ 5 ถา , เปนจํานวนจริงใดๆและ ∙ = 0
แลว = 0 หรือ = 0 เสมอ
ทฤษฏีบทที่ 6 ถา , เปนจํานวนจริงใดๆแลวจะไดวา
∙ (− ) = − ∙ , (− ) ∙ = − ∙ ,
(− ) ∙ (− ) = ∙ เสมอ
สมบัติดานการมีอันดับ ( )
หรือสมบัติไตรวิภาค ( ℎ )
คือการมีสมบัติอยางใดอยางหนึ่งใน 3 อยางตอไปนี้
เทากัน มากกวา หรือ นอยกวา
ถา , เปนจํานวนจริงใดๆแลวจะไดวา
= หรือ > หรือ < อยางใดอยางหนึ่งเทานั้น
1 ) สมบัติการเทากันของจํานวนจริง ถา , , เปนจํานวนจริงใดๆ
แลวจะไดวา , , จะมีสมบัติตอไปนี้
1.1 สมบัติการสะทอน =
1.2 สมบัติการสมมาตร ถา = แลว =
1.3 สมบัติการถายทอด
ถา = และ = แลว =
1.4 สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน
ถา = แลว + = +
1.5 สมบัติการคูณดวยจํานวนที่เทากัน
ถา = แลว ∙ = ∙
… … .21) ถา , ∈ , > แลว >
… … .22) ถา , ∈ , > แลว
1
<
1
… … .23) ถา 0 < < แลว
1
<
1
… … .24) ถา > และ ∈ แลว + > +
… … .25) ถา > และ ∈ แลว − > −
… … .26) ถา > และ ∈ แลว >
… … .27) ถา > และ ∈ แลว >
… … .28) ถา > และ ∈ แลว >
… … .29) ถา > และ > แลว >
… … .30) ถา > และ > แลว >
… … .31) ถา √ < 5 แลว < 25
… … .32) ถา < 4 แลว < 2
… … .33) ถา = แลว ≥ 0
… … .34) 0 เปนจํานวนเต็มที่ไมใชเลขคู
… … .35) 8.4 หารดวย 2 ไดผลลัพธเทากับ 4.2
ดังนั้น 8.4 เปนเลขคู
… … .36) R มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก
… … .37) R มีคุณสมบัติปดสําหรับการหาร
… … .38) มีคุณสมบัติปดสําหรับการหาร
… … .39) มีคุณสมบัติปดสําหรับการลบ
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 5
1.5 สมบัติการตัดออกดวยจํานวนที่เทากัน
ถา + = + แลว =
และ ∙ = ∙ แลว = โดยที่ ≠ 0
2 ) สมบัติการไมเทากันของจํานวนจริง
ถา , , , เปนจํานวนจริงใดๆแลวจะไดวา
, , , จะมีสมบัติตอไปนี้
2.1 สมบัติการถายทอด
ถา > และ > แลว >
และ ถา < และ < แลว <
2.2 สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน
ถา > แลว + > +
และ ถา < แลว + < +
2.3 สมบัติการคูณดวยจํานวนที่เทากัน
ถา > แลว ∙ > ∙ โดยที่ > 0
และ ถา > แลว ∙ < ∙ โดยที่ < 0
2.4 สมบัติการตัดออกดวยจํานวนที่เทากัน
1) ถา + > + แลว >
2) ถา + < + แลว <
3) ∙ > ∙ และ > 0 แลว >
4) ∙ > ∙ และ < 0 แลว <
5) ∙ < ∙ และ > 0 แลว <
6) ∙ < ∙ และ < 0 แลว >
2.5 สมบัติการไมเทากับจํานวนลบ
1) ∈ แลว ≥ 0 เสมอ
2) √ ∈ แลว a ≥ 0 เสมอ
3) ∈ แลว | | ≥ 0 เสมอ
… … .40) เซตเลขคู มีคุณสมบัติปดสําหรับการลบ
… … .41) เซตเลขคู มีคุณสมบัติปดสําหรับการคูณ
… … .42) เซตเลขคู มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก
… … .43) เซตเลขคี่ มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก
… … .44) เซตเลขคี่ มีคุณสมบัติปดสําหรับการคูณ
… … .45) จํานวนเฉพาะ มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก
… … .46) ตรรกยะ มีคุณสมบัติปดสําหรับการหาร
… … .47) อตรรกยะ มีคุณสมบัติปดสําหรับการหาร
… … .48) อตรรกยะ มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก
… … .49) อตรรกยะ มีคุณสมบัติปดสําหรับการคูณ
… … .50) {0,1} มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก
… … .51) {0,1} มีคุณสมบัติปดสําหรับการคูณ
… … .52) {1} มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก
… … .53) {1} มีคุณสมบัติปดสําหรับการคูณ
… … .54) {0} มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก
… … .55) {−1} มีคุณสมบัติปดสําหรับการลบ
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 6
พหุนามดีกรี
( ) = + + + ⋯ + +
โดยที่ , −1, −2, … , 0 ∈ และ ∈ +
ถา ≠ 0 แลวจะเรียก ( )วาพหุนามดีกรี
ทฤษฏีเศษเหลือ ( ℎ )
( )
( − )
จะมีเศษเหลือ = ( )
ทฤษฏีตัวประกอบ ( ℎ )
ถา ( ) = 0 แสดงวา ( )หารดวย( − )ลงตัว
ดังนั้นสรุปไดวา ( − )เปนตัวประกอบตัวหนึ่งของ ( )
1 ถา ( ) = + − + 2 − + 1
หารดวย ( + 1) จะเหลือเศษเทาไร
วิธีทํา จาก ( )หารดวย( + 1)จะเหลือเศษ = (−1)
∴ (−1) = (−1) + (−1) − (−1) + 2(−1) − (−1) + 1
∴ (−1) = −1 + 1 + 1 + 2 + 1 + 1 = 5 Ans.
2 ถา ( ) = − − 2 + 5 + 2
หารดวย ( + 2) เหลือเศษ 8 แลว มีคาเทาไร
วิธีทํา จาก ( )หารดวย( + 2)จะเหลือเศษ = (−2) = 8
∴ P(2) = (−2) − (−2) − 2(−2) + 5(−2) + 2k
∴ 8 = 16 + 8 − 8 − 10 + 2 ∴ k = 1 Ans.
แบบทดสอบความเขาใจ ชุดที่ 3
1.1 ถา ( ) = + − 2 + 3 − − 5
หารดวย ( + 2) จะเหลือเศษเทาไร
1.2 ถา ( ) = 3 − 5 + + 1
หารดวย ( − 3) จะเหลือเศษเทาไร
2.1 ถา ( ) = 2 − 3 + − +
หารดวย ( − 3) เหลือเศษ 5 แลว มีคาเทาไร
2.2 ถา ( ) = 3 − 2 + + − 5
หารดวย ( + 1) เหลือเศษ − 10 แลว มีคาเทาไร
*
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 7
3 จงแยกตัวประกอบของ ( )
ถา ( ) = − 5 + 5 + 5 − 6
วิธีทํา ∴ P(1) = 1 − 5 + 5 + 5 − 6 = 0
∴ แสดงวา ( − 1) เปนตัวประกอบตัวหนึ่งของ ( )
∴ P(2) = 16 − 40 + 20 + 10 − 6 = 0
∴ แสดงวา ( − 2) เปนตัวประกอบตัวหนึ่งของ ( )
หาสวนที่เหลือโดยการตั้งหารยาวดังนี้
∴ P(x) = ( − 1)( − 2)( − 2 − 3)
∴ P(x) = ( − 1)( − 2)( + 1)( − 3) .
4 จงหาคา จากสมการ − 7 − 6 = 0
วิธีทํา ให P(x) = 3
− 7 − 6
∴ P(−1) = −1 + 7 − 6 = 0
∴ แสดงวา ( + 1) เปนตัวประกอบตัวหนึ่งของ ( )
หาสวนที่เหลือโดยการ หารสังเคราะห ดังนี้
∴ P(x) = ( + 1)( − − 6)
∴ P(x) = ( + 1)( + 2)( − 3)
จากโจทย 3
− 7 − 6 = 0
∴ ( + 1)( + 2)( − 3) = 0
∴ = −1, −2,3 .
3. จงแยกตัวประกอบของ ( )
ถา ( ) = − 2 − 7 + 8 + 12
4. จงหาคา จากสมการ − 4 + + 6 = 0
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 8
10. การแยกตัวประกอบและแกสมการ
10.1 พหุนาม ในที่นี้ , แทนจํานวน เราเรียกวา ตัวแปร
1,2,3, … เราเรียกวาคาคงที่ หรือคาคงตัว
ลักษณะของ 3 , 2 − 5, 2
− x + 5 ฯลฯ เราเรียกวา นิพจน
ลักษณะของ 5 ,
3
2
x , 2
, 5
, … เราเรียกวา เอกนาม
ลักษณะของ 5 + 3 , 1 − 2
, 2x + 5
เราเรียกวา พหุนาม
10.2 ดีกรีของพหุนาม หมายถึงดีกรีที่มีคาสูงสุดของพหุนามนั้น
เชน 100 เปนเอกนาม ดีกรี 0 ,
5 + 3 เปนพหุนามดีกรี 1
5 + 3 + เปนพหุนามดีกรี 6
5 + 3 + เปนพหุนามดีกรี 7
10.3. การกระจายวงเล็บและการแยกตัวประกอบ
Ex1 จงกระจายวงเล็บ ( − 3 − 5)(2 )
วิธีทํา ( − 3 2
− 5)(2 2
)
= (2 ) − 3 (2 ) − 5(2 )
= 2 − 6 − 10 .
Ex2 จงกระจายวงเล็บ ( − 5 − 3)(2 + 3 )
วิธีทํา ( 2
− 5 − 3)(2 + 3 )
= (2 + 3 ) − 5 (2 + 3 ) − 3(2 + 3 )
= 2 + 3 − 10 − 15 − 6 − 9 .
3 จงกระจายวงเล็บ(2 − 3)(3 − 1)( + 2)
วิธีทํา (2 − 3)(3 − 1)( + 2)
= (2 − 3)[3 ( + 2) − 1( + 2)]
= (2 − 3)[3 + 6 − − 2]
= (2 − 3)( 3 + 5 − 2)
= 2 (3 + 5 − 2) − 3( 3 + 5 − 2)
= 6 + 10 − 4 − 9 − 15 + 6
= 6 + − 19 + 6 .
แบบทดสอบความเขาใจ ชุดที่ 4
1. จงกระจายวงเล็บ (2 − 3 + 1)(3 )
2. จงกระจายวงเล็บ (2 − 3 − 1)(3 − )
3. จงกระจายวงเล็บ (3 − 1)(2 − 3)( − 2)
สูตรการกระจายวงเล็บที่ควรจดจําคือ
( + ) = + 2 +
( − ) = − 2 +
( + ) = + 3 + 3 +
( − ) = − 3 + 3 −
( + ) = + 4 + 6 + 4 +
( − ) = − 4 + 6 − 4 +
สูตรการแยกตัวประกอบที่ควรจดจําคือ
− = ( − )( + )
− = ( − )( + + )
− = ( − )( + + + )
− = ( − )( + + + + )
+ = ( + )( − + )
+ = ( + )( − + − + )
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 9
10.4. ใชสูตรการกระจายวงเล็บที่ยกกําลัง 2 และกําลัง 3
4 จงกระจายวงเล็บ ( 3 + 2)
วิธีทํา ใชสูตร ( + )2
= 2
+ 2 + 2
( 3 + 2) = (3 ) + 2(3 )(2) + 2
= 9 + 12 + 4 .
5 จงกระจายวงเล็บ ( 2 − 3)
วิธีทํา ใชสูตร ( − )2
= 2
− 2 + 2
( 2 − 3) = (2 ) − 2(2 )(3) + 3
= 4 − 12 + 9 .
6 จงกระจายวงเล็บ ( 2 − + 3)
วิธีทํา ใชสูตร ( + )2
= 2
+ 2 + 2
และสูตร ( − )2
= 2
− 2 + 2
(2 − + 3)
= [(2 − ) + 3]
= (2 − ) + 2(2 − )(3) + 3
= (2 − ) + 12 − 6 + 9
= [(2 ) − 2(2 ) + ] + 12 − 6 + 9
= [4 − 4 + ] + 12 − 6 + 9
= 4 − 4 + + 12 − 6 + 9 .
7 จงกระจายวงเล็บ ( 3 − 2)
วิธีทํา ใชสูตร ( − )3
= 3
− 3 2
+ 3 2
− 3
∴ (3 − 2)
= (3 ) − 3(3 ) (2) + 3(3 )(2) − 2
= 27 − 6(9 ) + 12(3 ) − 8
= 27 − 54 + 36 − 8 .
4 . จงกระจายวงเล็บ ( 2 + 3 )
5 จงกระจายวงเล็บ ( 3 − 2 )
6. จงกระจายวงเล็บ ( 3 − 2 + 1)
7. จงกระจายวงเล็บ ( 2 − 3)
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 10
10.5. การดึงตัวรวมและแยกตัวประกอบ
8 จงดึงตัวรวมของนิพจนตอไปนี้
1) 15 − 10 − 5
2) 6 − 15 + 9
3) (2 − ) − 5(2 − ) + (2 − )
4) 2 ( − ) − ( − ) + 3( − )
5) 3 ( − ) − 2 ( − ) − 3( − )
วิธีทํา
1) 15 − 10 − 5 = 5 (3 − 2 − 1) .
2) 6 − 15 + 9
= 3 (2 − 5 + 3 ) .
3) (2 − ) − 5(2 − ) + (2 − )
= (2 − )( − 5 + ) .
4) 2 ( − ) − ( − ) + 3( − )
= 2 ( − ) + ( − ) − 3( − )
= (2 + − 3)( − ) .
5) 3 ( − ) − 2 ( − ) − 3( − )
= 3 ( − ) − 2 ( − ) − 3( − )
= (3 − 2 − 3)( − ) .
9 จงแยกตัวประกอบแบบจับคูดึงตัวรวมของนิพจนตอไปนี้
1) 15 − 9 − 10 + 6
2) 6 + 15 − 4 − 10
3) 2 + 2 − − − 2
วิธีทํา 1) 15 − 9 − 10 + 6
= (15 − 9 ) − (10 − 6)
= 3 (5 − 3) − 2(5 − 3)
= (3 − 2)(5 − 3) .
2) 6 + 15 − 4 − 10
= (6 + 15 ) − (4 + 10)
= 3 (2 + 5) − 2(2 + 5)
= (3 − 2)(2 + 5) .
3) 2 + 2 − − − 2
= (2 + 2 ) − ( + ) − ( + )
= 2( + ) − ( + ) − ( + )
= ( + )(2 − − ) .
8. จงดึงตัวรวมของนิพจนตอไปนี้
8.1 ) 6 − 4 = … … … … … … …… … . . … … … ….
8.2 ) 3 − 12 = … … … … … … … …… . . … . … ….
8.3 ) 10 − 15 = … … … … … …… … . . …….
8.4 ) 10 − 2 − 4 = … … … … … … … … ….
8.5 ) 6 ( − ) − 15( − )
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
8.6 ) 18( − ) − 15( − )
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
8.7) 6( − ) − 8( − )
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
8.8) ( − ) − 3( − )
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
9. จงแยกตัวประกอบแบบจับคูดึงตัวรวมของนิพจนตอไปนี้
9.1) + + +
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
9.2) 2 + 2 − −
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
9.3) + + +
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
9.4) 2 − + 4 − 2
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
9. ) + − + − −
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
= … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 11
14 จงแยกเปน2วงเล็บกรณีหนาเทอมกําลังสองมีสปส. เปน1
1) + 8 + 15
2) − 8 + 15
3) − 2 − 15
4) + 2 − 15
วิธีทํา
1) + 8 + 15 = ( + 3)( + 5)
2) − 8 + 15 = ( − 3)( − 5)
3) − 2 − 15 = ( + 3)( − 5)
4) + 2 − 15 = ( − 3)( + 5)
14.1) + 7 + 10
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
14.2) − 7 + 10
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
14.3) − 3 − 10
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
14.4) + 3 − 10
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
14.5) − 4 − 21
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
14.6) + 5 − 6
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
14.7) − 11 + 18
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
14.8) + 9 + 18
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
14.9) − 9 + 20
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
14.10) + 7 + 6
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
14.11) + 6 − 7
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
14.12) − 9 + 8
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
14.13) + 6 − 27
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
14.14) + 11 + 10
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
14.15) − 10 + 24
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 12
15 จงแยกเปน2วงเล็บกรณีหนาเทอมกําลังสองมีสปส. ไมเปน1
1) 6 + 19 + 15
2) 6 − 19 + 15
3) 6 − − 15
4) 6 + − 15
วิธีทํา
1) 6 + 19 + 15 = (2 + 3)(3 + 5)
2) 6 − 19 + 15 = (2 − 3)(3 − 5)
3) 6 − − 15 = (2 + 3)(3 − 5)
4) 6 + − 15 = (2 − 3)(3 + 5)
15. จงแยกเปน2วงเล็บ
15.1) 6 + 11 + 3
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
15.2) 10 − 11 − 6
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
15.3) 8 − 2 − 1
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
15.4) 6 − − 1
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
15.5) 3 − 8 + 5
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
15.6) 6 − 11 + 3
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
15.7) 15 + 13 + 2
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
15.8) 5 − 17 + 6
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
15.9) 3 + 5 − 2
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
15.10) 5 − 19 − 4
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
15.11) 6 − − 12
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
15.12) 15 − 8 + 1
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
15.13) 6 − 17 + 12
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
15.14) 30 + − 1
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
15.15) 14 + 3 − 2
= … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 13
6. การแกสมการกําลัง 1
16 จงหาคา จากสมการ4(3 − 5) − 3( − 1) = 1
วิธีทํา 4(3 − 5) − 3( − 1) = 1
12 − 20 − 3 + 3 = 1
9 − 17 = 1 , 9 = 18
∴ = 2 .
17 จงหาคา จากสมการ
2
3
(3 − 1) −
3( + 1)
5
=
2
15
วิธีทํา
2
3
(3 − 1) −
3( + 1)
5
=
2
15
หาครน. ของสวนทุกตัวมาคูณตลอดเพื่อใหสวนหมดไป
ครน. ของ 3,5,15 คือ15 เอา15 คูณทุกพจนดังนี้
15
2
3
(3 − 1) − 15
3( + 1)
5
= 15
2
15
10(3 − 1) − 9( + 1) = 2
30 − 10 − 9 − 9 = 2
21 − 19 = 2 ∴ 21 = 21 ∴ = 1 .
7. การแกสมการ 2ชั้น หรือ 2 ตัวแปร
18 จงหาคา ( , ) จากสมการ
6 − 5 = 7 … … (1) , 4 + 3 = 11 … …(2)
วิธีทํา ตองคิดกอนวาจะกําจัดตัวแปรใดหรือหมดไป
ในที่นี้กําจัด ตองหาครน. ของสปส. ของ คือ 6,4 มีครน. = 12
นั่นคือเราตองทําสปส. ของ ทั้งสองสมการใหเทากับ 12 นั่นคือ
(1) × 2, นั่นคือสมการที่2 คูณดวย 2 ตลอดจะได
(1) × 2, 12 − 10 = 14… … … . (3)
(2) × 3, 12 + 9 = 33 … … …. (4)
แลวเอาสมการ ซาย − ซาย = ขวา − ขวา มักเอาคามากตั้งนะ
(4) − (3) , (12 + 9 ) − (12 − 10 ) = 33 − 14
∴ 12 + 9 − 12 + 10 = 19
∴ 19 = 19 ∴ = 1 แลวเอาคา = 1 ไปแทนคาใน (1)
∴ 6 − 5(1) = 7 ∴ 6 = 12 ∴ = 2
∴ ( , ) = (2,1) .
16. จงหาคา จากสมการ 3(2 − 3) − 5( − 4) = 13
17. จงหาคา จากสมการ
10
3
( − 2) −
3( − 1)
2
=
1
3
18. จงหาคา ( , ) จากสมการ
8 − 3 = 2 … … (1) , 6 + 5 = 16 … …(2)
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 14
8. การแกสมการกําลังสอง
ถา 2
+ + = 0 แลวจะไดวา =
− ± √ 2
− 4
2
ขอควรจํา 1) ∈ ก็ตอเมื่อ 2
− 4 ≥ 0
2) = หรือรากสมการมีคาเดียวเมื่อ − 4 = 0
19 จงหาคา จากสมการ 2 + 3 − 3 = 0
วิธีทํา จาก =
− ± √ 2
− 4
2
จาก 2 2
+ 3 − 3 = 0 จะไดวา = 2, = 3, = −3
∴ =
−3 ± 3 − 4(2)(−3)
2(2)
=
−3 ± √9 + 24
4
∴ =
−3 ± √33
4
=
−3 + √33
4
,
−3 − √33
4
.
9. การทําเปนกําลังสัมบูรณ
20 จงแกสมการ 2 − 6 + 1 = 0
โดยใชวิธีแบบกําลังสองสัมบูรณ
วิธีทํา จาก 2 2
− 6 + 1 = 0
2 − 6 = −1
เพื่อทําใหสปส. ของ 2
เปน 1 ∗∗∗∗∗
∴ − 3 = −
1
2
∴ −
2
2
(3 ) = −
1
2
∗∗ ใส
2
2
ที่สปส.
∗ เอา2 ไปหาร ส. ป. ส. ของ แลวยกกําลังสอง + เขาทั้งสองขาง ∗∗
− 2
3
2
+
3
2
= −
1
2
+
3
2
∗∗∗ ใชสูตร − 2 + = ( − ) ∗∗∗
∴ −
3
2
= −
1
2
+
9
4
∴ −
3
2
=
7
4
∴ −
3
2
= ±
7
4
∗ ถอดรากกําลังสองตองไดคา ± เสมอ ∗
∴ =
3
2
±
√7
2
=
3 + √7
2
,
3 − √7
2
.
19. จงหาคา จากสมการ 2 − 3 − 1 = 0
20. จงแกสมการ 3 − 8 − 2 = 0
โดยใชวิธีแบบกําลังสองสัมบูรณ
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 15
21 จงจัด 4 − 9 − 24 − 36 − 36 = 0
ใหอยูในรูปแบบ
( − ℎ)2
2
−
( − )2
2 = 1
และจงหาคาของ (ℎ, ) + ( , )
วิธีทํา จาก 4 2
− 9 2
− 24 − 36 − 36 = 0
จัดกลุมตัวแปรใหม
( 4 − 24 ) − (9 + 36 ) − 36 = 0
∗ ระวังหนาวงเล็บเปน − ตองเปลี่ยนเครื่องหมายในวงเล็บเปนตรงขาม ∗
∗ ดึง ส. ป. ส. ของ , ออก ∗
4( − 6 ) − 9( + 4 ) − 36 = 0
4( − 6 + 3 − 3 ) − 9( + 4 + 2 − 2 ) − 36 = 0
4( − 6 + 3 ) − 4(3 ) − 9( + 4 + 2 ) + 9(2 ) − 36 = 0
4( − 6 + 3 ) − 36 − 9( + 4 + 2 ) + 36 − 36 = 0
4( − 6 + 3 ) − 9( + 4 + 2 ) = 36
4
36
( − 6 + 3 ) −
9
36
( + 4 + 2 ) =
36
36
1
9
( − 6 + 3 ) −
1
4
( + 4 + 2 ) = 1
( − 6 + 3 )
9
−
( + 4 + 2 )
4
= 1
( − 3)
3
−
( + 2)
2
= 1
( − 3)
3
−
( + 2)
2
= 1
เทียบกับ
( − ℎ)
−
( − )
= 1
(ℎ, ) = (3, −2) และ ( , ) = (3,2)
(ℎ, ) + ( , ) = (3, −2) + (3,2) = (6,0) .
21. จงจัด 4 − 9 + 16 + 18 − 29 = 0
ใหอยูในรูปแบบ
( − ℎ)2
2
−
( − )2
2 = 1
และจงหาคาของ (ℎ, ) + ( , )
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 16
22 จงจัด + − 4 + 6 − 12 = 0
ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2
+ ( − )2
= 2
และจงหาคาของ ℎ + +
วิธีทํา จาก 2
+ 2
− 4 + 6 − 12 = 0
จัดกลุมตัวแปรใหม ( 2
− 4 ) + ( 2
+ 6 ) = 12
− 4 +
4
2
+ + 6 +
6
2
= 12 +
4
2
+
6
2
( − 4 + 2 ) + ( + 6 + 3 ) = 12 + 2 + 3
( − 2) + ( + 3) = 25
( − ℎ) + ( − ) = เทียบกับ ( − 2) + ( + 3) = 5
∴ ℎ = 2 , = −3 , = 5
∴ ℎ + + = 2 + (−3) + 5 = 4 .
23 จงจัด − 8 + 4 + 24 = 0
ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2
= 4( )( − )
และจงหาคาของ ℎ + +
วิธีทํา จาก 2
− 8 + 4 + 24 = 0
จัดกลุมตัวแปรใหม 2
− 8 = −4 − 24
− 8 +
8
2
= −4 − 24 +
8
2
( − 8 + 4 ) = −4 − 24 + 16
( − 4) = −4 − 8
( − 4) = −4( + 2)
( − 4) = 4(−1)( + 2)
( − 4) = 4(−1)( + 2) เทียบกับ ( − ℎ)
= 4( )( − )
∴ ℎ = 4 , = −2 , = −1
∴ ℎ + + = 4 + (−2) + (−1) = 1 .
22. จงจัด + − 4 + 6 − 12 = 0
ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2
+ ( − )2
= 2
และจงหาคาของ ℎ + +
23. จงจัด + 8 + 10 + 1 = 0
ใหอยูในรูปแบบ ( − )2
= 4( )( − ℎ)
และจงหาคาของ ℎ + +
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 17
24. จงจัด − 6 + 8 + 1 = 0
ใหอยูในรูปแบบ ( − )2
= 4( )( − ℎ)
และจงหาคาของ ℎ + + (แสดงวิธีทํา )
25. จงจัด + 2 − 12 + 25 = 0
ใหอยูในรูปแบบ ( − )2
= 4( )( − ℎ)
และจงหาคาของ ℎ + + (แสดงวิธีทํา )
26. จงจัด + 12 − 4 + 16 = 0
ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2
= 4( )( − )
และจงหาคาของ ℎ + + (แสดงวิธีทํา )
27. จงจัด + 8 + 6 − 7 = 0
ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2
= 4( )( − )
และจงหาคาของ ℎ + + (แสดงวิธีทํา )
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 18
28. จงจัด + − 4 + 6 + 4 = 0
ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2
+ ( − )2
= 2
และจงหาคาของ ℎ + + (แสดงวิธีทํา )
29. จงจัด + − 4 + 6 + 9 = 0
ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2
+ ( − )2
= 2
และจงหาคาของ ℎ + + (แสดงวิธีทํา )
30. จงจัด 9 − 4 − 16 − 18 − 43 = 0
ใหอยูในรูปแบบ
( − ℎ)2
2
−
( − )2
2 = 1
และจงหาคาของ ( + ) − ( ℎ + ) (แสดงวิธีทํา )
31. จงจัด 16 − 9 − 18 − 64 − 89 = 0
ใหอยูในรูปแบบ
( − )2
2
−
( − ℎ)2
2 = 1
และจงหาคาของ ( + ) − ( ℎ + ) (แสดงวิธีทํา )
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 19
32. จงจัด 4 + 9 − 8 + 36 + 4 = 0
ใหอยูในรูปแบบ
( − )2
2
+
( − ℎ)2
2 = 1
และจงหาคาของ ( + ) − ( ℎ + ) (แสดงวิธีทํา )
33. จงจัด 9 + 4 + 36 − 24 + 36 = 0
ใหอยูในรูปแบบ
( − )2
2
+
( − ℎ)2
2 = 1
และจงหาคาของ ( + ) − ( ℎ + ) (แสดงวิธีทํา )
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 20
10. ชวง
โดยกําหนดให a, b ∈ R และ < มีรูปแบบการเขียนดังนี้
1. [ , ] = { ∕ ≤ ≤ }
[ , ] อานวาชวงปด , หรือ ชวง ปด ปด
สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้
2. [ , ) = { ⁄ ≤ < }
[ , ) อานวาชวงครึ่งปด , หรือ ชวง ปด เปด
สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้
3. ( , ] = { ⁄ < ≤ }
( , ] อานวาชวงครึ่งเปด , หรือ ชวง เปด ปด
สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้
4. ( , ) = { ⁄ < < }
( , )อานวาชวงเปด , หรือ ชวง เปด เปด
สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้
5. [ , ∝) = { ⁄ ≥ }
สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้
6. ( , ∝) = { ⁄ > }
สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้
7. (∝, ] = { ⁄ ≤ }
สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้
8. (∝, ] = { ⁄ < }
สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้
9. (∝, ∝) = { ⁄ ∈ }
สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้
แบบทดสอบความเขาใจ ชุดที่ 5
1. จงเขียนชวงตอไปนี้ในรูปแบบของเซต
1) [−2, 10] = … …… … … … … … … … … … … … …
2) [−5,3) = … … … … …… … … … … … … … … … ….
3) (1,7] = … … … … … … … … … … … … … … …… …
4) (−3,11) = … … … …… … … … … … … … … … … ..
5) (4,∝) = …… … … … … … … … … … … … … …… ..
6) (−∝ ,8) = … … … … … … … … … … … … … …… ..
7) [−6, −1) = …… … … … … … … … … … … … … …
8) [5,21] = … … … … … … …… … … … … … … … …
9) (−2,8] = … … … … …… … … … … … … … … … ..
10) (−6, −2) = … … … … … … … … … … … … … ….
2. จงเขียนเซตตอไปนี้ในรูปแบบของชวง
1) { −5⁄ ≤ ≤ 4} = … … … … … … … …… … … …
2) { −6⁄ < ≤ 5} = … … … … … … … …… … … …
3) { −3⁄ ≤ < 1} = … … … … … … … …… … … …
4) { −2⁄ < < 6} = … … … … … … … …… … … …
5) { ⁄ ≤ 4} = … … …… … … … … … … … … … …
6) { ⁄ ≥ −7} = … … … … … … …… … … … … … …
7) { ⁄ < 10} = … … … … … … … … …… … … … …
8) { ⁄ > −1} = … … … … … … …… … … … … … …
9) { ⁄ ≠ 4} = … … …… … … … … … … … … … …
10) { ⁄ ≠ ±6} = … …… … … … … … … … … … …
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 21
Ex3. จากสิ่งที่กําหนดให
= [−10,5], = [−2,7] จงหา
1) − 2) − 3) ∪ 4) ∩
วิธีทํา 1) − = [−10,5] − [−2,7] = [−10, −2) .
2) − = [−2,7] − [−10,5] = (5,7] .
3) ∪ = [−10,5] ∪ [−2,7] = [−10,7] .
4) ∩ = [−10,5] ∩ [−2,7] = [−2,5] .
Ex4. จากสิ่งที่กําหนดให
= [−9,2], = (−5,8) จงหา
1) − 2) − 3) ∪ 4) ∩
วิธีทํา 1) − = [−9,2] − (−5,8) = [−10, −2) .
2) − = (−5,8) − [−9,2] = (2,8) .
3) ∪ = [−9,2] ∪ (−5,8) = [−9,8) .
4) ∩ = [−9,2] ∩ (−5,8) = (−5,2] .
Ex5. จากสิ่งที่กําหนดให
= [−9,2], = (−5,8), = [−3, 9) จงหา
1) (A ∪ ) ∩ 2) ( − ) − 3) − ( − )
4) A − (B ∪ )
วิธีทํา
1) (A ∪ ) ∩ = [−9,2] ∪ (−5,8) ∩ [−3, 9)
= [−9,8) ∩ [−3, 9) = [−3,8) .
2) (A − ) − = [−9,2] − (−5,8) − [−3, 9)
= [−9, −5] − [−3, 9) = [−9, −3) .
3) − ( − ) = [−9,2] − (−5,8) − [−3, 9)
= [−9,2] − (−5, −3) = [−9, −5] .
4) − ( − ) = [−9,2] − (−5,8) ∪ [−3, 9) ′
= [−9,2] − (−5,9) = [−9,2] ∩ (−5,9)
= (−5,2] .
3. ให = [−6,6], = [−3,9] จงหา
1) A − B = … … … … … … …… … … … … … …
2) B − A = ………… …………… ………… …
3) ∩ = …… …………… ………… ………
4) ∪ = …… …………… ………… ………
4. ให = [−10,6], = (−5,9] จงหา
1) A − B = … … … … … … …… … … … … … …
2) B − A = ………… …………… ………… …
3) ∩ = …… …………… ………… ………
4) ∪ = …… …………… ………… ………
5. ให = (−7,6], = (−3,9] จงหา
1) A − B = … … … … … … …… … … … … … …
2) B − A = ………… …………… ………… …
3) ∩ = …… …………… ………… ………
4) ∪ = …… …………… ………… ………
5.1 ให = (−8,6), = (−5,9) จงหา
1) A − B = … … … … … … …… … … … … … …
2) B − A = ………… …………… ………… …
3) ∩ = …… …………… ………… ………
4) ∪ = …… …………… ………… ………
5.2 ให = (−8,6), = (−6,7], = (−3,9] จงหา
1) ( ∪ ) ∪ = … … … … … … … …… … … …
2) ( ∪ ) ∩ = … ………… ………… ……………
3) ( ∪ ) − = ………… ………… ………… ……
4) ( − ) − = ……… ………… ………… ………
5) A − (B − ) = ………… ………… ………… ……
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 22
Ex6. จากสิ่งที่กําหนดให
a ∈ [−10,5], b ∈ (−2,10)
จงหาวา คาตอไปนี้เปนสมาชิกในชวงใด
1) a + b 2) a − b 3) b − a 4) ab
วิธีทํา
1) a + b ∈ (−12,15)
2) − ∈ (−20,7)
3) b − a ∈ (−7,20)
4) ab ∈ (−100,50)
Ex7. จากสิ่งที่กําหนดให
a ∈ [−8,4), b ∈ [−5,9)
จงหาวา คาตอไปนี้เปนสมาชิกในชวงใด
1) 2a + 3b 2) 3a − b 3) ab 4) a 5) | | + | |
วิธีทํา
1) 2a + 3b ∈ [−31,35)
2) 3 − ∈ (−33,17)
3) ab ∈ (−72,40)
4) ∈ [0,64]
5) | | + | | ∈ [0,17)
6. จากสิ่งที่กําหนดให
a ∈ [−5,6], b ∈ (−3,7)
จงหาวา คาตอไปนี้เปนสมาชิกในชวงใด
1) a + b 2) a − b 3) b − a 4) ab
7. จากสิ่งที่กําหนดให
a ∈ [−3,8), b ∈ [−4,1)
จงหาวา คาตอไปนี้เปนสมาชิกในชวงใด
1) 2a + 3b 2) 3a − b 3) ab 4) a 5) | | + | |
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 23
. การแกอสมการในรูปแบบตางๆ
11.1 อสมการกําลัง 1
1 จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
2 − 11 ≥ 5 + 4
วิธีทํา 2 − 5 ≥ 4 + 11
−3 ≥ 15 ∴ ≤ −5 .
Ex2 จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
2 − 3(5 − 1) ≥ − 4
วิธีทํา 2 − 15 + 3 ≥ − 4
−13 + 3 ≥ − 4
−13 − ≥ −4 − 3
−14 ≥ −7
∴ ≤ 0.5 .
3 จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
3 − 5
5
−
3 + 1
2
+
1
3
≥ + 4
วิธีทํา
6(3 − 5) − 15(3 + 1) + 10
30
≥ + 4
6(3 − 5) − 15(3 + 1) + 10 ≥ 30( + 4)
(18 − 30) − (45 + 15) + 10 ≥ (30 + 120)
18 − 30 − 45 − 15 + 10 ≥ 30 + 120
−27 − 35 ≥ 30 + 120
−27 − 30 ≥ 120 + 35
−57 ≥ 155 ∴ ≤ −
155
57
.
4 จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
−2 ≤
3 − 1
2
≤ 4
วิธีทํา − 2 ≤
3 − 1
2
≤ 4
−4 ≤ 3 − 1 ≤ 8
−4 + 1 ≤ 3 ≤ 8 + 1
−3 ≤ 3 ≤ 9
∴ −1 ≤ ≤ 3 .
แบบทดสอบความเขาใจ ชุดที่ 6
1) จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
5 + 11 ≥ 7 + 5
2) จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
3 − 2(4 − 1) ≥ 10 − 28
3) จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
5 − 3
3
−
3 − 1
2
+
1
5
≥ 2 − 3
4) จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
−5 ≤
2 − 3
3
≤ 2
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 24
5 จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้ √3 − 5 ≤ 4 เปนจริง
วิธีทํา √3 − 5 ≤ 4
0 ≤ √3 − 5 ≤ 4 เพราะ ถา √ ∈ แลว √ ≥ 0 เสมอ
0 ≤ √3 − 5 ≤ 4
0 ≤ 3 − 5 ≤ 16
0 + 5 ≤ 3 − 5 + 5 ≤ 16 + 5
5 ≤ 3 ≤ 21
5
3
≤ ≤ 7 .
11.2 อสมการกําลัง 2
6 จงหาชวงของ ที่ทําใหอมการ (2 − 1) ≤ 9 เปนจริง
วิธีทํา จาก (2 − 1)2
≤ 9
จะไดวา − √9 ≤ (2 − 1) ≤ √9
−3 ≤ 2 − 1 ≤ 3
−2 ≤ 2 ≤ 4
−1 ≤ ≤ 2 .
7 จงหาชวงของ ที่ทําใหอมการ (2 − 3) ≥ 12 เปนจริง
วิธีทํา จาก (2 − 3)2
≥ 12
จะไดวา (2 − 3) ≥ √12 หรือ (2 − 3) ≤ −√12
∴ (2 − 3) ≥ 2√3 หรือ (2 − 3) ≤ −2√3
∴ 2 ≥ 3 + 2√3 หรือ 2 ≤ 3 − 2√3
∴ ≥
3 + 2√3
2
∨ ≤
3 − 2√3
2
Ans.
5) จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้ √2 − 3 ≤ 25 เปนจริง
6) จงหาชวงของ ที่ทําใหอมการ (2 + 3) ≤ 64 เปนจริง
7 จงหาชวงของ ที่ทําใหอมการ (3 − 5) ≥ 32 เปนจริง
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 25
Ex8 จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
2 − 3x − 1 ≤ 0
วิธีทํา ถา 2
+ b + c = 0 ∴ =
−b ± √ 2
− 4
2
∴ =
−(−3) ± (−3)2
− 4(2)(−1)
2(2)
∴ =
3 ± √9 + 8
4
=
3 ± √17
4
จาก + bx + c ≤ 0
สามารถหาคา ที่เปนจริง ไดอยูในชวง
−b − √ − 4
2
≤ ≤
−b + √ − 4
2
ดังนี้ 2 − 3x − 1 ≤ 0 แลวจะหาคา ไดในชวง
∴
3 − √17
4
≤ ≤
3 + √17
4
.
9 จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
3 − 2 − 1 ≥ 0
วิธีทํา ถา 2
+ b + c = 0 ∴ =
−b ± √ 2
− 4
2
∴ =
−(−2) ± (−2) − 4(3)(−1)
2(3)
∴ =
2 ± √4 + 12
6
=
2 + 4
6
,
2 − 4
6
= 1, −
1
3
ถา 2
+ b + c ≥ 0
สามารถหาคา ที่เปนจริง ไดอยูในชวง
≤
−b − √ − 4
2
หรือ ≥
−b + √ − 4
2
∴ ≤ −
1
3
หรือ ≥ 1 Ans.
8) จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
4 − 2x − 3 ≤ 0
9) จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
2 − 5x − 4 ≥ 0
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 26
11.3 การแกอสมการโดยวิธีแบงชวง บวก ลบ
เปนกรณีที่โจทยอยูในรูปแบบการคูณและหารของวงเล็บ
ที่เครื่องหมายหนา เปน + เสมอ
10 จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
( − 1)( + 3)( − 3)
( + 5)
≥ 0
วิธีทํา เนื่องจากเศษสวนตองมีสวนที่ไมเปน 0 ∴ ≠ −5
ถา
( − 1)( + 3)( − 3)
( + 5)
= 0 ∴ = −3,1,3
∴ จุดแบ่งช่วง + − คือ
ชวง
จากโจทย์ต้องการช่วงที ≥ 0 ดังนั้นจึงเลือกชวงบวกเปนคําตอบ
( ≤ −3) ∨ (1 ≤ ≤ 3) ∨ (x > 5) Ans.
11 จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
( + 3)(4 − )
( − 2)( + 5)
≥ 0
วิธีทํา เนื่องจากเศษสวนตองมีสวนที่ไมเปน 0 ∴ ≠ −5,2
โจทยขอนี้ยังใชระบบการเช็คชวงไมไดเพราะมีวงเล็บที่หนา เปน ลบ
จึงตองทําหนา ทุกวงเล็บเปนบวกเสียกอนดังนี้
( + 3)(−1)(−4 + )
( − 2)( + 5)
≥ 0
( + 3) ( − 4 )
( − 2)( + 5)
≤ 0
เอา(−1)คูณตลอดเครื่อง ≥ เปลี่ยนเปน ≤
หาจุดแบงชวง โดยใหแตละวงเล็บ = 0 จะได x = −5, −3,2,4
ใหชวงขวามือสุดเปนชวงบวกเสมอแลวสลับชวงลบบวกตอๆกันไป
จากโจทยตองการชวงที่ เปนคําตอบคือชวง ≤ 0
∴ (−5 < x ≤ −3) ∨ (2 < x ≤ 4) Ans.
10. จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
( − 1)( + 3)( − 3)
( + 5)( − 5)
≥ 0
11. จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
(1 − )( + 3)(4 − )
(2 − )( + 5)
≥ 0
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 27
12 จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
( + 3) (4 − ) ( + 3)
( − 2)( + 5)| + 3|(1 − )
≥ 0
วิธีทํา เนื่องจากเศษสวนตองมีสวนที่ไมเปน 0 ∴ ≠ 2, −5, −3,1
จัดรูปแบบอสมการใหมดังนี้
( + 3) (4 − )(4 − ) ( + 6)
( − 2)( + 5)| + 3|(4 − )(1 − )
≥ 0
ถ้า
( + 3)112
(4 − )(4 − )22
( + 6)4
( − 2)( + 5)| + 3|(4 − )(1 − )110
= 0
จะได = −3,4, −6 และ ≠ 2, −5, −3,1
วงเล็บที่ยกกําลังคูมีคา ≥ 0
∴
( + 3) (4 − )(4 − ) ( + 6)
( − 2)( + 5)| + 3|(4 − )(1 − )
≥ 0
∴ ตัดพจนที่เปนบวกเสมอทิ้งจะได
(4 − )
( + 5) (1 − )
≥ 0
โจทยขอนี้ยังใชระบบการเช็คชวงไมไดเพราะมีวงเล็บที่หนา เปน ลบ
จึงตองทําหนา ทุกวงเล็บเปนบวกเสียกอนดังนี้
(−1)( − 4)
( + 5) (−1)( − 1)
≥ 0
( − 4)
( + 5) ( − 1)
≥ 0
หาจุดแบงชวง โดยใหแตละวงเล็บ = 0 จะได x = 4, −5,1
ใหชวงขวามือสุดเปนชวงบวกเสมอแลวสลับชวงลบบวกตอๆกันไป
จากโจทยตองการชวงที่ เปนคําตอบคือชวง ≤ 0
∴ (−5 < x < 1) ∨ ( x ≥ 4) ∨ x = −6 Ans.
12. จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง
( − 3) (1 − ) ( + 2)
( − 6)( − 5)| − 4|(1 + )
≥ 0
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 28
12. คาสัมบูรณ( )
นิยาม ถา ∈ แลว | | =
, ≥ 0
− , < 0
สมบัติของคาสมบูรณ
1) | | ≥ 0 เสมอ
2) ⌈− ⌉ = | |
3) | − | = | − |
4)| | = | || |
5) =
| |
| |
, ≠ 0
6) | | = | | =
7) | + | ≤ | | + | |
8) | − | ≥ | | − | |
9) | | > | | แลว >
10) ถา = แลว | | = | | หรือ = ±
11) | | ≥ แลว ≥ หรือ ≤ โดยที่ > 0
12) | | ≤ แลว − ≤ ≤ โดยที่ > 0
การแกสมการและอสมการคาสัมบูรณ
1. จงหาคา จากสมการ |2 − 3| = 5
วิธีทํา จาก |2 − 3| = 5 ∴ 2 − 3 = ±5
ถา 2 − 3 = 5 ∴ = 4 .
ถา 2 − 3 = − 5 ∴ = −1 .
2. จงหาคา จากสมการ |2 − 3| = |3 − 2|
วิธีทํา จาก |2 − 3| = |3 − 2|
∴ 2 − 3 = ± (3 − 2)
ถา 2 − 3 = (3 − 2) ∴ = −1 .
ถา 2 − 3 = − (3 − 2) ∴ = 1 .
แบบทดสอบความเขาใจ ชุดที่ 7
1.1. จงหาคา จากสมการ |2 − 3| = 5
1.2. จงหาคา จากสมการ |5 − 3| = 7
2.1. จงหาคา จากสมการ |4 − 5| = |5 − 7|
2.2. จงหาคา จากสมการ |3 − 7| = |5 − 13|
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 29
3 จงหาคา จากอสมการ |3 − 1| ≤ 5
วิธีทํา จาก |3 − 1| ≤ 5
∴ −5 ≤ 2 − 3 ≤ 5
∴ −2 ≤ 2 ≤ 8 ∴ −1 ≤ ≤ 4 .
4. จงหาคา จากอสมการ |2 − 3| ≥ 7
วิธีทํา จาก |2 − 3| ≥ 7
∴ 2 − 3 ≥ 7 หรือ ∴ 2 − 3 ≤ −7
∴ ≥ 5 หรือ ≤ −2 .
การแกสมการหรืออสมการคาสัมบูรณโดยใชวิธีแบงชวงการคิด
3.1 จงหาคา จากอสมการ |5 + 2| ≤ 12
3.2 จงหาคา จากอสมการ |3 − 4 | ≤ 11
4.1 จงหาคา จากอสมการ |4 − 2| ≥ 6
4.3 จงหาคา จากอสมการ |2 − 5| ≥ 20
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 30
จงหาคา จากสมการ |2 − 4 | + | + 2| = 5
วิธีทํา ใชระบบการแบงชวง โดยหาจุดแบงดังนี้
ใหคาภายในเครื่องหมายคาสัมบูรณเทากับ 0 จะได = 2, −2
ดังนั้นชวงที่เราจะใชพิจารณาแบงเปน 3 ชวงดังรูป
∴ 2 − 3 ≥ 7 หรือ ∴ 2 − 3 ≤ −7
ในการคํานวณคาที่จะเปนคําตอบตองอยูในชวงที่กําลังใชอยูเทานั้น
พิจารณาเปลี่ยน |2 − 4 | + | + 2| = 5 ใหเปนวงเล็บ
ใหคา ในชวงคาใด
คาหนึ่งในชวงที่กําลังใชคํานวณ ไปแทนคาดูวาคาภายในเครื่องหมาย
คาสัมบูรณไดคา + หรือ −
ถาไดคา + ใหเปลี่ยนเครื่องหมายคาสัมบูรณเปนวงเล็บ +
ถาไดคา − ใหเปลี่ยนเครื่องหมายคาสัมบูรณเปนวงเล็บ −
ชวงที่ 1 < −2 ตรวจสอบคาสัมบูรณโดยแทนดวย = −4
ในสมการ |2 − 4 | + | + 2| = 5
จะได − (2 − 4) − ( + 2) = 5
∴ −2 + 4 − − 2 = 5 ∴ = −1
= −1 ไมอยูในชวงที่ 1 จึงไมไมใชคําตอบ
ชวงที่ 2 − 2 < < 2
ตรวจสอบคาสัมบูรณโดยแทนดวย = 0
ในสมการ |2 − 4 | + | + 2| = 5
จะได − (2 − 4) + ( + 2) = 5
∴ −2 + 4 + + 2 = 5 ∴ = 1
= 1 อยูในชวงที่ 2 จึงเปนคําตอบที่ใชได
ชวงที่ 3 > 2
ตรวจสอบคาสัมบูรณโดยแทนดวย = 5
ในสมการ |2 − 4 | + | + 2| = 5
จะได (2 − 4) + ( + 2) = 5
∴ 2 − 4 + + 2 = 5 ∴ =
7
3
=
7
3
อยูในชวงที่ 3 จึงเปนคําตอบที่ใชได
∴ สมการ |2 − 4 | + | + 2| = 5
มีคําตอบคือ = 1,
7
3
.
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 31
5 จงหาคา จากสมการ |3 − 1 | + |2 + 3| = 5
วิธีทํา ใชระบบการแบงชวง โดยหาจุดแบงดังนี้ x =
1
3
, −
3
2
ชวงที่ 1 < −
3
2
ตรวจสอบดวย = −4 จะได
−(3 − 1) − (2 + 3) = 5
−3 + 1 − 2 − 3 = 5
−5 − 2 = 5 ∴ = −
7
5
ไมอยูในชวงที่ 1
ชวงที่ 2 −
3
2
< <
1
3
ตรวจสอบดวย = 0 จะได
−(3 − 1) + (2 + 3) = 5
−3 + 1 + 2 + 3 = 5
− + 4 = 5 ∴ = −1 อยูในชวงที่ 2 จึงเปนคําตอบ
ชวงที่ 3 >
1
3
ตรวจสอบดวย = 2 จะได
(3 − 1) + (2 + 3) = 5
3 − 1 + 2 + 3 = 5
5 + 2 = 5 ∴ =
3
5
อยูในชวงที่ − จึง เปนคําตอบ
สมการ |3 − 1 | + |2 + 3| = 5
มีคําตอบ คือ = −1,
3
5
,
5. จงหาคา จากสมการ |5 − 3 | + |2 + 1| = 9
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 32
6 จงหาคา จากสมการ |2 − 1 | − | + 1| ≤ 1
วิธีทํา ใชระบบการแบงชวง โดยหาจุดแบงดังนี้ x =
1
2
, −1
ชวงที่ 1 < −1 ตรวจสอบดวย = −3 ในอสมการ
|2 − 1 | − | + 1| ≤ 1 จะได
−(2 − 1) + ( + 1) ≤ 1
−2 + 1 + + 1 ≤ 1
− ≤ −1 ∴ ≥ 1 ไมอยูในชวงที่ 1 จึงไมใชคําตอบ
ชวงที่ 2 − 1 < <
1
2
ตรวจสอบดวย = 0 จะได
−(2 − 1) − ( + 1) ≤ 1
−2 + 1 − − 1 ≤ 1
−3 ≤ 1 ∴ ≥ −
1
3
อยูในชวงที่ 2 จึงเปนคําตอบ
ชวงที่ 3 >
1
2
ตรวจสอบดวย = 5 จะได
(2 − 1) − ( + 1) ≤ 1
2 − 1 − − 1 ≤ 1
≤ 3 อยูในชวงที่ 3 จึงเปนคําตอบ
อสมการ |2 − 1 | − | + 1| ≤ 1
มีคําตอบ คือ −
1
3
≤ ≤ 3 ,
6. จงหาคา จากสมการ |2 − 1 | − | + 1| ≤ 1
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 33
แบบทดสอบเสริมความเขาใจ
1. + 3| | − 4 = 0
2. | − 3 + 2| = − 3 + 2
3. | + 2 − 3| = 3 − 2x −
4. 4( + 2) − 3| + 2| − 1 = 0
5. | + 3 + 3| = | 2 + 3|
6. | − 4| + | + 4| = 10
7. | − 4| − | − 4| = 8
8. | − 3| + | + 2| − | − 4| = 3
9. | − 1| = | + 3|
10. | 2 − 1| = − 2 − 3
11. | − 3| | + 2| = − 2
12. | − 1| > 4x + 1
13. | − 3| > | − 3|
14. | + 3 | ≤ 8 − − 3
15. | | | − 3| < | − 2|
16.
|2 − 1|
| + 3| − 5
< 1
17.
|3 − 2|
| + 1| − 1
> 5
18. | − − 5| < 4 − 1
19. − | | − 12 < 0
20.
− 4 + 4
− 6 + 9
+
| − 2|
| − 3|
− 12 < 0
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 34
สมบัติความบริบูรณ( )
นิยาม ให ⊂
1) จะเปนคาขอบเขตบนของ
ถา ทุก ที่เปนสมาชิกของ มีคานอยกวาหรือเทากับ
2) จะเปนคาขอบเขตลางของ
ถา ทุก ที่เปนสมาชิกของ มีคามากกวาหรือเทากับ
นิยาม ให ⊂ แลว จะเปนคาขอบเขตบนนอยสุดของ เมื่อ
1) เปนขอบบนของ
2) ถา ทุก ที่เปนสมาชิกของขอบเขตบน จะได ≤
เรียก วา หรือ ของ
เขียนแทนดวย = sup
นิยาม ให ⊂ แลว จะเปนคาขอบเขตลางมากสุดของ เมื่อ
1) เปนขอบลางของ
2) ถา ทุก ที่เปนสมาชิกของขอบเขตลาง จะได ≥
เรียก วา หรือ ของ
เขียนแทนดวย = imf
ให = [−7,9) จงหา ขอบบนของ ขอบลางของ
และ
คําตอบ ขอบบนของ = [9, ∝) ขอบลางของ = (−∝, −7]
= 9 และ = −7 .
แบบทดสอบความเขาใจ
จงหา ขอบบนของ ขอบลางของ และ
เมื่อกําหนด ใหดังนี้
1) = [−4,6]
ขอบบนของ = … … … … … … … … … … … … ….
ขอบลางของ = … … … … … … … … … … … … ….
= … … … … … … …… … … … … … … … …
= …… … … … … … … … … … … … … … …
2) = (12,60)
ขอบบนของ = … … … … … … … … … … … … ….
ขอบลางของ = … … … … … … … … … … … … ….
= … … … … … … …… … … … … … … … …
= …… … … … … … … … … … … … … … …
3) = {−1,6,9,3, −9, −3,2,1}
ขอบบนของ = … … … … … … … … … … … … ….
ขอบลางของ = … … … … … … … … … … … … ….
= … … … … … … …… … … … … … … … …
= …… … … … … … … … … … … … … … …
3) = { / |2 − 5| ≤ 7}
ขอบบนของ = … … … … … … … … … … … … ….
ขอบลางของ = … … … … … … … … … … … … ….
= … … … … … … …… … … … … … … … …
= …… … … … … … … … … … … … … … …
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 35
แบบทดสอบพื้นฐานระบบจํานวนจริง ชุดที่ 1
1. ขอใดไมถูกตอง
1. 1.1414 เปนจํานวนตรรกยะ
2. ถา  แลว 2
 0
3.
0
เปนจํานวนอตรรกยะ
4. ถา , เปนจํานวนคู แลว + เปนจํานวนคู
2. ขอใดผิด
1. ตรรกยะบวกตรรกยะไดตรรกยะเสมอ
2. ตรรกยะบวกอตรรกยะไดอตรรกยะเสมอ
3. ตรรกยะคูณตรรกยะไดตรรกยะเสมอ
4. ตรรกยะคูณอตรรกยะไดอตรรกยะเสมอ
3. ขอใดเปนจํานวนอตรรกยะ
1. 3√5 + 3√5 − √125
2. √3(√8 − 2√5)
3. 2√2 + 4√2 − 6√2
4. √2 √3 × √3 − √6
4. ขอใดถูกตอง
1. เซตของจํานวนจริง ปดสําหรับการคูณเสมอ
2. เซตของจํานวนจริง ปดสําหรับการหารเสมอ
3. เซตของจํานวนเต็มลบ ปดสําหรับการคูณเสมอ
4. เซตของจํานวนคี่ ปดสําหรับการลบเสมอ
5. ขอใดถูกตอง
1. เซตของจํานวนอตรรกยะ ปดสําหรับการลบเสมอ
2. {1,2} มีสมบัติปดสําหรับการคูณเสมอ
3. {−1,0,1} มีสมบัติปดสําหรับการคูณเสมอ
4. {−1,0,1} มีสมบัติปดสําหรับการบวกเสมอ
6. ขอใดผิด…
1. อินเวอรสการบวกของ
√5 − 1
2√3
คือ
1 − √5
2√3
2. อินเวอรสการบวกของ
√5 − 1
2√3
คือ
√3 √5 + 1
2
3. อินเวอรสการคูณของ − 2 +
17
5
คือ −
5
7
4. อินเวอรสการคูณของ √6 − √5 คือ √6 + √5
7. ให , , เปนจํานวนจริงใดๆ แลว ขอใดถูก…
1.
− 2
1 −
=
2. ถา < แลว 2
< 2
3. ถา < < 0 และ < < 0 แลว >
4. ถา 0 < < 1 แลว 0 < < 2
8. ให , เปนจํานวนจริงใดๆ แลว ขอใดผิด…
1. ถา ∗ = + + 5 และ ∗ 3 = 4 ∗ 10
แลว = 7
2. ถา ∗ = 3 + 2 + 1 และ ∗ 5 = 2 ∗ 3
แลว =
3. ถา ∗ = 2 + 2
+ 1 และ ∗ 3 = 3 ∗ 1
แลว = 1
4. ถา ∗ = − 2 + 3 และ ( ∗ 1) ∗ 2 = 5 ∗ 4
แลว = 0
9. ให ∗ = + − 8 สําหรับทุก , ที่เปนจํานวนเต็ม
แลวขอความใดตอไปนี้ถูกตอง..
1. (2 ∗ 3) ∗ 4 = 2 ∗ (3 ∗ 4)
2. เอกลักษณ ของ ∗ นี้คืด 8
3. อินเวอรสของ สําหรับ ∗ คือ −
4. เครื่องหมา ∗ ไมมีสมบัติการสลับที่
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 36
10. ให , เปนจํานวนจริงใดๆ แลว ขอใดผิด… .
1. ถา ∗ = + + 5
แลว เอกลักษณของเครื่องหมาย ∗ นี้ คือ − 5
2. ถา ∗ = + − 11
แลว เอกลักษณของเครื่องหมาย ∗ นี้ คือ 11
3. ถา ∗ = 2
แลว เอกลักษณของเครื่องหมาย ∗ นี้ คือ
1
2
4. ถา ∗ = + +
แลว เอกลักษณของเครื่องหมาย ∗ นี้ คือ k
แบบทดสอบพื้นฐาน ชุดที่ 2 ทฤษฎีเศษเหลือ
1. − 7 − 6 หารดวยพจนใดตอไปนี้แลวเหลือเศษนอยสุด..
1. ( − 2)
2. ( + 4)
3. ( + 2)
4. ( + 3)
2. ขอใดเปนตัวประกอบของ + 2 − 5x − 6 ..
1. ( − 1)
2. ( − 2)
3. ( − 3)
4. ( − 4)
3. + 6 + 3x − 10
หารดวยพจนใดตอไปนี้แลวเหลือเศษมากสุด …
1. ( − 1)
2. ( + 1)
3. ( − 2)
4. ( + 2)
4. ขอใด นําไปหาร − 6 + 11x − 6
แลวเหลือเศษเทากับการหารดวย ( − 3) …
1. ( + 1)
2. ( + 3)
3. ( − 1)
4. ( − 6)
5. ถา ( ) = 2 − 3 − x + a และ ( )หารดวย( − 1)
แลวเหลือเศษ 3 แลว ( )หารดวย ( − 2)เหลือเศษเทาไร…
1. 5
2. 6
3. 7
4. 8
6. ถา ℎ( ) = + − 5 + 6 หารดวย( + 2)ไดลงตัว
แลว ℎ( )รหารดวย ( + )เหลือเศษเทาไร….
1. − 1
2. − 2
3. − 3
4. − 4
7. ถา ℎ( ) = − 3 + a + b หารดวย( − 1)เหลือเศษ 3
และหารดวย ( − 2)จะเหลือเศษ 3 เชนกัน
แลว ℎ( )รหารดวย ( + + )จะเหลือเศษเทาไร …
1. − 100
2. − 157
3. − 207
4. − 235
8. ถา ℎ( ) = 5 − 11 − 14 − 10
หารดวย( + 1)เหลือเศษ และถาหารดวย( − 1)เหลือเศษ
แลว มีคาเทาไร..
1. − 360
2. 360
3. − 400
4. 400
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 37
9. ให ∈ จงหาผลบวกของ ทั้งหมดที่สอดคลองกับเงื่อนไข
ที่ 3
+ 2 2
− 5 − 2 หารดวย − แลวเหลือเศษ 4..
1. − 6
2. − 2
3. 2
4. 6
10. ให , , เปนคําตอบของสมการ 27 3
− 18 2
− 3 + 2
และ < < แลว − + มีคาเทาไร..
1. −
1
3
2. 0
3.
1
3
4.
2
3
11. กําหนดให 2 − 3 − 17 + 30 = 0 แลว คําตอบของ
สมการที่มีคามากที่สุด มากกวาคําตอบของสมการที่มีคานอย
ที่สุด เทากับขอใดตอไปนี้ …
1. 3
2. 4
3. 5
4. 6
12.กําหนดให , , เปนรากของสมการ
6 + − 4 + 1 = 0 โดยมี < 0, > 0, > 0 และ
< แลว คาของ
4 −
ตรงกับขอใดตอไปนี้ ….
1. 0
2. 1
3. 3
4. 9
แบบทดสอบพื้นฐาน ชุดที่ 3 ชวงและอสมการ
1. ให = ( −2 , 7 ], = ( 3 , 10 ) แลวขอใด ผิด…
1. ∪ = (−2,10)
2. ∩ = (3,7]
3. − = (−2,3)
4. − = (7,10)
2. ให = [−5,6), = (−3 , 10 ) , = [−2,15]
แลวขอใด ผิด….
1. ( ∪ ) ∩ = [−2,10)
2. ( ∩ ) ∪ = (−3,15]
3. ( ∪ ) − = (−5, −2)
4. ( ∪ ) − = [−5, −3)
3. ถา 7(2 − 3) − 5(3 − 1) ≥ 2( + 3) − 19
แลว เปนสมาชิกในชวงใดตอไปนี้.
1. (−∞, −1]
2. (−∞, 3]
3. [−1,∞)
4. (−3,∞)
4. ถา
5 − 1
2
−
10 + 2
3
≤ 2
แลว เปนสมาชิกในชวงใดตอไปนี้…
1. (−∞,
12
5
]
2. (−∞,
19
5
]
3. [−
19
5
, ∞)
4. (−
12
5
, ∞)
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 38
5. ถา − 3 <
2 − 1
3
+
3 − 1
2
< 10
แลว เปนสมาชิกในชวงใดตอไปนี้ .
1. (−1, 5)
2. (−2,4]
3. [−5,3)
4. (−8,2)
6. ถา 3x − 2 < 6 + 10 ≤ + 35
แลว เปนสมาชิกในชวงใดตอไปนี้ .
1. (−4, 5)
2. (−5,4)
3. (−6,3)
4. (−7,2)
7. ถา 2x − 5 < 17 ≤ 3 + 12
แลว เปนสมาชิกในเซตใดตอไปนี้..
1. (−1, 9)
2. [1,11)
3. (1,11]
4. [0,11]
8. ขอใดตอไปนี้เปนเท็จ….
1. ถา ( + 1)(x − 5) ≤ 0 แลวจะได − 1 ≤ ≤ 5
2. ถา ( − 3)(x + 2) < 0 แลวจะได − 2 < < 3
3.ถา (3 − x)(1 + x) ≤ 0 แลวจะได ≤ −1 หรือ ≥ 3
4.ถา (5 − x)(2 + x) > 0 แลวจะได < −2 หรือ > 5
9. ถา
( − 4)( + 1)
( + 3)
≤ 0
แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ .
1. < −3 หรือ − 1 ≤ ≤ 4
2. − 3 < ≤ −1 หรือ ≥ 4
3. − 3 < ≤ 1 หรือ ≥ 4
4. < −1 หรือ 1 ≤ ≤ 4
10. ถา
(5 − )(3 − )
(1 − )
≥ 0
แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ .
1. < −1 หรือ 3 ≤ ≤ 5
2. − 1 < ≤ 3 หรือ ≥ 5
3. − 3 < ≤ −1 หรือ ≥ 5
4. < −3 หรือ − 1 ≤ ≤ 5
11. ถา
( − 3 )
( + 6)(8 − )
≥ 0
แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ .
1. − 6 < ≤ 0 หรือ 3 ≤ < 8
2. < −6 หรือ 0 ≤ ≤ 3 หรือ > 8
3. − 6 < ≤ −3 หรือ > 8
4. < −6 หรือ − 3 ≤ < 8
12. ถา
( − 1 ) ( − 5 )
(4 − )
≥ 0
แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ … .
1. − 1 < ≤ 4 หรือ > 5
2. < −5 หรือ 0 ≤ < 4
3. − 4 < ≤ −1 หรือ ≥ 5
4. 1 ≤ < 4 หรือ = 5
13. ถา
(√ + 5 ) (| | − 4 )
(| | + 2)(| | − 6 )
≤ 0
แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ . .
1. − 6 ≤ ≤ 4
2. − 4 ≤ ≤ 4 หรือ ≠ ±6
3. − 4 ≤ < 6
4. − 6 < < 6
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 39
14. ถา
− 3
< 4
แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ . .
1. − 3 ≤ ≤ 4
2. 3 < ≤ 4
3. − 4 ≤ < 3
4. − 3 < < 3
15. กําหนดให เปนเซตคําตอบของอสมการ
− 1
+ 2
> 2
และ เปนคาขอบบนนอยสุดของ
แลว + 1 มีคาเทากับขอใด. .
1. 2
2. 5
3. 10
4. 26
16. ถา
− 1
+ 2
≥
− 3
+ 1
แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ . .
1. < −5 หรือ − 2 ≤ < 1
2. − 5 ≤ < −2 หรือ > 1
3. − 2 < < 1 หรือ ≥ 5
4. − 5 < < 1 หรือ > 2
17. ถา
− 1
+ 2
≥
− 3
+ 1
แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ …
1. < −1 หรือ − 2 ≤ < 1
2. − 2 ≤ < 1 หรือ > 2
3. − 1 < ≤ 1 หรือ > 2
4. − 2 < < 2
18. ขอใดเปนเซตคําตอบของ
+ 6
<
1
…
1. ( − 6, 3 )
2. ( − 6, − 2 ) ∪ (1, 3 )
3. ( − 6, − 2 ) ∪ ( 0, 3 )
4. ( − , − 6 ) ∪ ( 3, ∞ )
19. ถา เปนเซตคําตอบของอสมการ 3 + 5 + 2 < 0
และ เปนเซตคําตอบของอสมการ
2 + 1
− 3
≥ 0
แลว ( ∪ ) คือขอใด …
1. 
2. [ −1 , 5 ]
3. (−
1
2
,3]
4. ( −∞,−1 ] ∪ [−
2
3
, −
1
2
) ∪ [3,∞)
20. เซตคําตอบของอสมการ 4x ≥ −8x − 3 ตรงกับขอใด.
1. ( − ∞, −
3
2
] ∪ [ −
1
2
, ∞ )
2. − ∞, −
1
2
∪ −
3
2
, ∞
3. [ −
1
2
,
3
2
]
4. [ −
3
2
, −
1
2
]
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 40
21. เซตคําตอบของอสมการ
3
+ 2
− 6
2
− 5 + 6
≥ 0
ตรงกับขอใดตอไปนี้.
1. [ − 3 , 0 ] ∪ ( 3 ,  )
2. [ − 3 , 0 ] ∪ [ 3 ,  )
3. ( − 3 , 0 ) ∪ 2 , 3 ) ∪ ( 3 ,  )
4. [ − 3 , 0 ] ∪ ( 2 , 3 ) ∪ ( 3 ,  )
22. เซตคําตอบของอสมการ
− 1
≥ 3 + คือขอใด..
1) ( 0 , ∞ )
2) ( − ∞ , 0 )
3) ( −∞ , 0 ) ∪ ( 1 , ∞ )
4) ( −∞ , 0 ) ∪ ( 3 , ∞ )
23. ขอใดตอไปนี้เปนเท็จ…
1. ถา (2 − 5) < 9 แลวจะได 1 < < 4
2. ถา (7 − 2 ) ≤ 81 แลวจะได − 1 < < 8
3. ถา (2 − 3) > 25 แลวจะได < −4 หรือ > 4
4. ถา (1 − 2 ) ≥ 49 แลวจะได ≤ −3 หรือ ≥ 4
24. ถา 2 − 8 + 3 ≤ 0
แลว เปนสมาชิกในเซตใดตอไปนี้.
1.
4 − √10
2
,
4 + √10
2
2.
4 − √11
2
,
4 + √11
2
3.
8 − √10
2
,
8 + √10
2
4.
8 − √11
2
,
8 + √11
2
25. ถา (x + 1)(x + 2) ≤ 5
แลว เปนสมาชิกในเซตใดตอไปนี้.
1.
3 − √21
2
,
3 + √21
2
2.
3 − √23
2
,
3 + √23
2
3.
3 − √13
2
,
3 + √13
2
4.
3 − √11
2
,
3 + √11
2
26. ถา √2 + 3 < 7 แลว เปนจริงตามขอใด …
1. < 23
2. 0 ≤ < 23
3. −
3
2
≤ < 23
4. – 2 < < 23
27. ถา √ < x − 1 แลว เปนจริงตามขอใด …
1. <
3 − √5
2
2.
3 − √5
2
< <
3 − √5
2
3. 0 ≤ <
3 − √5
2
4. >
3 − √5
2
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 41
แบบทดสอบพื้นฐาน ชุดที่ 4 คาสัมบูรณ
1. ขอความใดเปนเท็จ .
1. ถา | |  1 แลว = ± 1
2. | | = เสมอ เมื่อ ∈
3. ถา | + 2| = 5 แลว = 3 , − 7
4. – 2
≤ 0 เสมอ เมื่อ ∈
2. ถา − 5 < < 3 และ − 7 < < 2 แลวขอใดผิด..
1. | | < 5
2. | − 3| < 10
3. − 12 < + < 5
4. − 21 < < 35
3. จงหา | | + 1 จากสมการ 3| | − 27 = 0 …
1. 8
2. 9
3. 10
4. 12
4. ขอใดเปนคําตอบของอสมการ | + 1| ≤ | − 2|.
1. (−∝,
1
2
]
2. (−∝,
1
2
)
3. (−
1
2
, ∝)
4. [−
1
2
, ∝)
5. จงหาคา จาก
| | − |−10|
|−3 + 8|
= 1 … .
1. 5 ,−5
2. 5 , −9
3. 13 , − 13
4. 15 , − 15
6. ให เปนเซตคําตอบของอสมการ
| − 4| − | − 3| = 1
จะเทากับเซตใด …
1. (3,4)
2. [3,4]
3. ( −∞ ,3 ]
4. [ 3 ,∞ )
7. จํานวนจริง ที่มากที่สุดที่สอดคลองกับอสมการ
2 2
− 4
3
≥ 2 2
เปนสมาชิกของเซตใด. .
1. [ −1 , 0.5 )
2. [ 0.5 ,1 )
3. [ 1 ,1.5 )
4. [ 1.5 ,2)
8. ถา 4 ≤ ≤ 6 มีความหมายตรงกับขอใด.
1. |− − 5| ≤ 1
2. | − 5 | ≥ 1
3. |5 − | ≥ 1
4. |5 − | ≤ 1
เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 42
9. ถา | − 4| < 12 แลว | | เปนสมาชิกของชวงใด.
1. [ 0, 4 ]
2. [ 0, 4 )
3. [ 0, 16 )
4. ( 0, 16 )
10. กําหนดให และ เปนสมาชิกของเซตคําตอบของ
สมการ |2 − 1| = + 5 ขอความในขอใดถูกตอง ….
1) และ เปนจํานวนเต็ม
2) ถา เปนจํานวนลบ แลว เปนจํานวนลบ
3) ถา เปนจํานวนบวก แลว เปนจํานวนบวก
4) ถา < 0 แลว > 0
11. เซตคําตอบของสมการ |2 − − 3| = 3 + − 2
ตรงกับขอใดตอไปนี้.
1. − 1 ,
3
2
2.
3
2
, 1
3. ( − 1 ,
3
2
)
4.
3
2
, 2
12. ขอใดตอไปนี้ อยูในเซตคําตอบของ |2 − | = 2 …
1. √5
2. − 3
3. − 2
4. 10
13. เซตคําตอบของอสมการ
| − 3|
| + 1|
≥ 3 ตรงกับขอใด..
1. [ − 3 , 0 ]
2. [ − 3 , − 1 ) ∪ ( − 1 , 0 ]
3. ( − ∞ , − 3 ] ∪ ( − 1 , 0 ]
4. ( − ∞ , − 3 ] ∪ ( − 1 , 0 )
14. เซตคําตอบของอสมการ
| − 1| − 2 ∙ | − 1| + 2 < 32
ตรงกับขอใดตอไปนี้ .
1. { | − 5 < < 7}
2. { | − 7 < < 5}
3. { | 1 < < 7}
4. { | 0 ≤ < 7}

More Related Content

What's hot (20)

60 matrix-021060
60 matrix-02106060 matrix-021060
60 matrix-021060
 
Pat1 58-03+key
Pat1 58-03+keyPat1 58-03+key
Pat1 58-03+key
 
Pat1 52-07+key
Pat1 52-07+keyPat1 52-07+key
Pat1 52-07+key
 
Pat1 57-11+key
Pat1 57-11+keyPat1 57-11+key
Pat1 57-11+key
 
Pat1 55-03+key
Pat1 55-03+keyPat1 55-03+key
Pat1 55-03+key
 
Pat1 57-03+key
Pat1 57-03+keyPat1 57-03+key
Pat1 57-03+key
 
Pat1 52-10+key
Pat1 52-10+keyPat1 52-10+key
Pat1 52-10+key
 
Pat1 52-03+key
Pat1 52-03+keyPat1 52-03+key
Pat1 52-03+key
 
Pat1 56-03+key
Pat1 56-03+keyPat1 56-03+key
Pat1 56-03+key
 
59 matrix-101059
59 matrix-10105959 matrix-101059
59 matrix-101059
 
สรุปสถิติ
สรุปสถิติสรุปสถิติ
สรุปสถิติ
 
Pat1 54-03+key
Pat1 54-03+keyPat1 54-03+key
Pat1 54-03+key
 
Cal 7
Cal 7Cal 7
Cal 7
 
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blogชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
 
58 statistics
58 statistics 58 statistics
58 statistics
 
59 matrix-171059
59 matrix-17105959 matrix-171059
59 matrix-171059
 
Cal 3
Cal 3Cal 3
Cal 3
 
Cal 8
Cal 8Cal 8
Cal 8
 
Cal 2
Cal 2Cal 2
Cal 2
 
Pat1 53-03+key
Pat1 53-03+keyPat1 53-03+key
Pat1 53-03+key
 

Similar to 60 real

บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionThanuphong Ngoapm
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมPumPui Oranuch
 
ระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็ม17112528
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfrattapoomKruawang2
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 sensehaza
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554Thanawadee Prim
 
gatpat
gatpatgatpat
gatpatNp Vnk
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554Thanawadee Prim
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554peenullt
 

Similar to 60 real (20)

Preliminary number theory
Preliminary number theoryPreliminary number theory
Preliminary number theory
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรม
 
Ctms15912
Ctms15912Ctms15912
Ctms15912
 
ระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็ม
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
 
Cal 9
Cal 9Cal 9
Cal 9
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
 
gatpat
gatpatgatpat
gatpat
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
 
Pat 1
Pat 1Pat 1
Pat 1
 
Pat56March
Pat56MarchPat56March
Pat56March
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
 

60 real

  • 1. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 1 ระบบจํานวน ( ) จํานวน แบงออกเปน 2 กลุม กลุมที่ 1 จํานวนไมจริง ( Unreal numbers) เชน √−1 , √−2 , √−3 , √−4 , … √−1.1 , √−1.2 , √−1.3 , … กลุมที่ 2 จํานวนจริง( Real numbers) ซึ่งยังแบงเปน 2 กลุมคือ 1) จํานวนอตรรกยะ ( Irrational Numbers ) ไดแก จํานวนที่ทําเปนเศษสวนไมได หรือ จํานวนที่หาคาแนนอนไมได จะมีคาแคเพียงคาประมาณ เชน π , ε , √2, √3, √5, √6, … . 2) จํานวนอตรรกยะ ( Rational Numbers ) ไดแก จํานวนที่ทําเปนเศษสวนได หรือ จํานวนที่มีคาแนนอน ไดแก จํานวนเศษสวน ทศนิยมประเภท รูจบ เชน 3.45 ทศนิยมประเภทไมรูจบแบบซ้ํา เชน 4.66666 … . , 6.474747 … , จํานวนเต็ม( ) นิยามที่เกี่ยวของ นิยาม เซตของเศษสวน(Fraction) เซตของเศษสวน = x | x = a b , a ∈ I, b ∈ I, b ≠ 0 นิยาม เซตของจํานวนเต็ม I = { … , −3, −2, −1 , 0 , 1 , 2 , 3 , … } นิยาม เซตของจํานวนเต็มบวก I = { 1 , 2 , 3 , … } นิยาม เซตของจํานวนเต็มลบ I = {−1 , −2 , −3 , … } นิยาม เซตของจํานวนเต็มศูนย I = {0 } นิยาม การหารลงตัว หมายถึง การหารที่มีผลลัพธเปนจํานวนเต็ม นิยาม เซตของจํานวน คู หมายถึง จํานวนเต็มที่หารดวย 2 ลงตัว เซตจํานวนคู = {… , −6, −4, −2 , 0 , 2 , 4 , 6 , … } นิยาม จํานวน คี่ หมายถึง จํานวนเต็มที่หารดวย 2 ไมลงตัว เซตจํานวนคี่ = {… , −5, −3, −1 , 1 , 3 , 5 , 7 , … } นิยามของจํานวนเฉพาะ ( Prime Numbers) P = { / ∈ I, > 1, ไมมีจํานวนเต็มใดหาร ไดลงตัวยกเวน ± กับ ± 1 } P = { 2 , 3 , 5 , 7 , 11 , . . . } ไบนารีโอเปอเรชัน (Binary operation ) เปน เครื่องหมายแทนการกระทํา ของ จํานวน 2 จํานวน ที่ อยูระหวางเครื่องหมายนั้น ดวย กฎเกณฑของเครื่องหมายนั้น เครื่องหมาย + − × ÷ เปน ไบนารีโอเปอเรชันทั่วไป แตเครื่องหมายอื่นๆ จะตองกําหนดกฎเกณฑการกระทํามาใหอยางชัดเจน สมบัติของจํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริงมี 3 ประการคือ 1) สมบัติดานพีชคณิต ( ) นั่นคือสามารถนําจํานวนจริงไป บวก ลบ คูณและหารกันได 2) สมบัติดานการมีอันดับ ( ) นั่นคือนําจํานวนมาเปรียบเทียบกันไดวา มากกวา นอยกวาหรือเทากัน กลาวคือ ถา , เปนจํานวนจริงสองจํานวนแลวจะพบวา จะมีสมบัติ เพียง อยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้ = หรือ > หรือ < เราเรียกสมบัตินี้วา ไตรวิภาค ( ℎ ) 3)สมบัติดานความบริบูรณ ( ) หรือมีชื่อเรียกอีกอยางวา สัจจพจนการมีขอบเขตบน
  • 2. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 2 ตัวอยางที่ 1 ถา a, b ∈ R และ a ∗ b = a + b − 8 จงหา วา (3 ∗ 4) ∗ 5 มีคาเทาไร , และ ∗ = + − 8 จงหาคาของ (3 ∗ 4) ∗ 5 วิธีทํา จาก ∗ = + − 8 ∴ (3 ∗ 4) + 5 = (3 + 4 − 8) ∗ 5 = (−1) ∗ 5 = (−1) + 5 − 8 = −4 . ตัวอยางที่ 2 ถา , ∈ และ ∗ = 2 + 3 − 5 จงหาคาของ (3 ∗ 4) ∗ 5 วิธีทํา จาก ∗ = 2 + 3 − 5 ∴ (3 ∗ 4) ∗ 5 = [2(3) + 3(4) − 5] ∗ 5 = 13 ∗ 5 = 2(13) + 3(5) − 5 = 36 . ตัวอยางที่ 3 ถา , และ ∗ = 2 − 3 − 1 จงหาคาของ (2 ∗ 3) ∗ 4 วิธีทํา (2 ∗ 3) ∗ 4 = 2(2) − 3 3 − 1 ∗ 4 = 1 3 − 1 ∗ 4 = 2 − 2 3 − 4 3 − 1 = −16 3 − 1 = − 19 3 . ตัวอยางที่ 4 ถา , , , ∈ และกําหนดกฎเกณฑในการกระทําของเครื่องหมาย ∗ ใหดังนี้ จงหาคาของ ( ∗ ) ∗ ( ∗ ) วิธีทํา จากตารางจะไดวา ( ∗ ) ∗ ( ∗ ) = ( ) ∗ ( ) = . แบบทดสอบความเขาใจ ชุดที่ 1 1) ถา a, b ∈ R และ a ∗ b = a − b + 7 จงหา วา (5 ∗ 3) ∗ 2 มีคาเทาไร วิธีทํา 2) ถา , และ ∗ = 3 − 2 + 5 จงหาคาของ (5 ∗ 2) ∗ 3 วิธีทํา 3) ถา , และ ∗ = − 3 จงหาคาของ (2 ∗ 4) ∗ 5 วิธีทํา . 4. ถา , , , ∈ และกําหนดกฎเกณฑในการกระทําของเครื่องหมาย ∗ ใหดังนี้ จงหาคาของ [ ∗ ( ∗ )] ∗ ∗ ∗
  • 3. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 3 สมบัติดานพีชคณิต ( ) 1) สมบัติปด , ∈ แลว จะมีสมบัติปดสําหรับเครื่องหมาย ∗ ก็ตอเมื่อ ∗ ∈ , ∗ ∈ , ∗ ∈ A จะมีสมบัติปด สําหรับการกระทําดวยเครื่องหมาย ∗ ก็ตอเมื่อ ทุก a , b ที่เปนสมาชิกของ A มี a ∗ b = c โดยที่ c ∈ A เสมอ A จะมีคุณสมบัติปด สําหรับการบวก(+)ก็ตอเมื่อ ทุกสมาชิกของ A กระทํากันดวยการบวกแลวผลลัพธที่ไดยังคงเปนสมาชิกของเซต A เสมอ A จะมีคุณสมบัติปด สําหรับการคูณ( ×) ก็ตอเมื่อ ทุกสมาชิกของ A ที่กระทํากันดวยเครื่องหมาย × แลวผลลัพธที่ไดยังคงเปนสมาชิกของเซต A เสมอ A จะมีคุณสมบัติปด สําหรับการหาร(%) ก็ตอเมื่อ ทุกสมาชิกของ A ที่กระทํากันดวยเครื่องหมาย % แลวผลลัพธที่ไดยังคงเปนสมาชิกของเซต A เสมอ 2) สมบัติการสลับที่ ทุก a , b ∈ A จะมีสมบัติการสลับที่ก็ตอเมื่อ a ∗ b = ∗ 3) สมบัติการจัดหมู ทุก a , b, c ∈ A จะมีสมบัติการจัดหมูก็ตอเมื่อ ( a ∗ b) ∗ c = ∗ ( ∗ ) 4)สมบัติการกระจาย ทุก a , b, c ∈ A จะมีสมบัติการกระจายก็ตอเมื่อ × ( ± ) = ( × ) ± ( × ) 5) สมบัติการมีเอกลักษณ ทุก a , b, e ∈ A จะมีสมบัติการมีเอกลักษณสําหรับเครื่องหมาย ∗ ก็ตอเมื่อ ∗ = ∗ = , b ∗ e = e ∗ b = e, และ ∗ = เรียก วาเอกลักษณสําหรับเครื่องหมาย ∗ ใน 6) สมบัติการมีอินเวอรส ทุก a , b, d, e ∈ A และ เปนเอกลักษณสําหรับเครื่องหมาย ∗ ถา ∗ = ∗ = , แลวเรียก วาเปนอินเวอรสของ และ แลวเรียก วาเปนอินเวอรสของ แบบทดสอบความเขาใจ ชุดที่ 2 กําหนดให = เซตของจํานวนจริง = เซตของจํานวนตรรกยะ ′ = เซตของจํานวนอตรรกยะ จงพิจารณาวาขอความตอไปนี้เปนจริงหรือเท็จ … … .1) ถา ∈ แลว ≥ 0 … … .2) ถา ∈ แลว √ ∈ … … .3) ถา ∈ และ ∈ แลว ( + ) ∈ … … .4) ถา ∈ และ ∈ แลว ( + ) ∈ … … .5) ถา ∈ ′ และ ∈ ′ แลว ( + ) ∈ ′ … … .6) ถา ∈ ′ และ ∈ ′ แลว ( ∙ ) ∈ ′ … … .7) ถา ∈ และ ∈ ′ แลว ( + ) ∈ ′ … … .8) ถา ∈ และ ∈ แลว ∈ … … .9) ถา = √−4 แลว ∈ ′ … … .10) ( √2 + √3) ∈ ′ … … .11) ( 5 + √5) ∈ ′ … … .12) ( √5 − √5) ∈ ′ … … .13) ( √2 )(√5) ∈ ′ … … .14) ( √2 )(√2) ∈ … … .15) 0. 9̇ = 1 … … .16) 0.7543̇1̇ = 75431 − 754 99000 = 74677 99000 … … .17) ถา ∈ และ = แลว = … … .18) ถา ∈ และ = แลว = … … .19) ถา = แลว = … … .20) ถา = แลว =
  • 4. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 4 ทฤษฏีบทที่ 1 การตัดออกสําหรับการบวก , , ∈ และ + = + แลว = ทฤษฏีบทที่ 2 การตัดออกสําหรับการคูณ , , ∈ และ × = × แลว = โดยที่ ≠ 0 ทฤษฏีบทที่ 3 ถา เปนจํานวนจริงใดๆแลว × 0 = 0 เสมอ ทฤษฏีบทที่ 4 ถา เปนจํานวนจริงใดๆแลว (−1) ∙ = − เสมอ ทฤษฏีบทที่ 5 ถา , เปนจํานวนจริงใดๆและ ∙ = 0 แลว = 0 หรือ = 0 เสมอ ทฤษฏีบทที่ 6 ถา , เปนจํานวนจริงใดๆแลวจะไดวา ∙ (− ) = − ∙ , (− ) ∙ = − ∙ , (− ) ∙ (− ) = ∙ เสมอ สมบัติดานการมีอันดับ ( ) หรือสมบัติไตรวิภาค ( ℎ ) คือการมีสมบัติอยางใดอยางหนึ่งใน 3 อยางตอไปนี้ เทากัน มากกวา หรือ นอยกวา ถา , เปนจํานวนจริงใดๆแลวจะไดวา = หรือ > หรือ < อยางใดอยางหนึ่งเทานั้น 1 ) สมบัติการเทากันของจํานวนจริง ถา , , เปนจํานวนจริงใดๆ แลวจะไดวา , , จะมีสมบัติตอไปนี้ 1.1 สมบัติการสะทอน = 1.2 สมบัติการสมมาตร ถา = แลว = 1.3 สมบัติการถายทอด ถา = และ = แลว = 1.4 สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน ถา = แลว + = + 1.5 สมบัติการคูณดวยจํานวนที่เทากัน ถา = แลว ∙ = ∙ … … .21) ถา , ∈ , > แลว > … … .22) ถา , ∈ , > แลว 1 < 1 … … .23) ถา 0 < < แลว 1 < 1 … … .24) ถา > และ ∈ แลว + > + … … .25) ถา > และ ∈ แลว − > − … … .26) ถา > และ ∈ แลว > … … .27) ถา > และ ∈ แลว > … … .28) ถา > และ ∈ แลว > … … .29) ถา > และ > แลว > … … .30) ถา > และ > แลว > … … .31) ถา √ < 5 แลว < 25 … … .32) ถา < 4 แลว < 2 … … .33) ถา = แลว ≥ 0 … … .34) 0 เปนจํานวนเต็มที่ไมใชเลขคู … … .35) 8.4 หารดวย 2 ไดผลลัพธเทากับ 4.2 ดังนั้น 8.4 เปนเลขคู … … .36) R มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก … … .37) R มีคุณสมบัติปดสําหรับการหาร … … .38) มีคุณสมบัติปดสําหรับการหาร … … .39) มีคุณสมบัติปดสําหรับการลบ
  • 5. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 5 1.5 สมบัติการตัดออกดวยจํานวนที่เทากัน ถา + = + แลว = และ ∙ = ∙ แลว = โดยที่ ≠ 0 2 ) สมบัติการไมเทากันของจํานวนจริง ถา , , , เปนจํานวนจริงใดๆแลวจะไดวา , , , จะมีสมบัติตอไปนี้ 2.1 สมบัติการถายทอด ถา > และ > แลว > และ ถา < และ < แลว < 2.2 สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน ถา > แลว + > + และ ถา < แลว + < + 2.3 สมบัติการคูณดวยจํานวนที่เทากัน ถา > แลว ∙ > ∙ โดยที่ > 0 และ ถา > แลว ∙ < ∙ โดยที่ < 0 2.4 สมบัติการตัดออกดวยจํานวนที่เทากัน 1) ถา + > + แลว > 2) ถา + < + แลว < 3) ∙ > ∙ และ > 0 แลว > 4) ∙ > ∙ และ < 0 แลว < 5) ∙ < ∙ และ > 0 แลว < 6) ∙ < ∙ และ < 0 แลว > 2.5 สมบัติการไมเทากับจํานวนลบ 1) ∈ แลว ≥ 0 เสมอ 2) √ ∈ แลว a ≥ 0 เสมอ 3) ∈ แลว | | ≥ 0 เสมอ … … .40) เซตเลขคู มีคุณสมบัติปดสําหรับการลบ … … .41) เซตเลขคู มีคุณสมบัติปดสําหรับการคูณ … … .42) เซตเลขคู มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก … … .43) เซตเลขคี่ มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก … … .44) เซตเลขคี่ มีคุณสมบัติปดสําหรับการคูณ … … .45) จํานวนเฉพาะ มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก … … .46) ตรรกยะ มีคุณสมบัติปดสําหรับการหาร … … .47) อตรรกยะ มีคุณสมบัติปดสําหรับการหาร … … .48) อตรรกยะ มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก … … .49) อตรรกยะ มีคุณสมบัติปดสําหรับการคูณ … … .50) {0,1} มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก … … .51) {0,1} มีคุณสมบัติปดสําหรับการคูณ … … .52) {1} มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก … … .53) {1} มีคุณสมบัติปดสําหรับการคูณ … … .54) {0} มีคุณสมบัติปดสําหรับการบวก … … .55) {−1} มีคุณสมบัติปดสําหรับการลบ
  • 6. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 6 พหุนามดีกรี ( ) = + + + ⋯ + + โดยที่ , −1, −2, … , 0 ∈ และ ∈ + ถา ≠ 0 แลวจะเรียก ( )วาพหุนามดีกรี ทฤษฏีเศษเหลือ ( ℎ ) ( ) ( − ) จะมีเศษเหลือ = ( ) ทฤษฏีตัวประกอบ ( ℎ ) ถา ( ) = 0 แสดงวา ( )หารดวย( − )ลงตัว ดังนั้นสรุปไดวา ( − )เปนตัวประกอบตัวหนึ่งของ ( ) 1 ถา ( ) = + − + 2 − + 1 หารดวย ( + 1) จะเหลือเศษเทาไร วิธีทํา จาก ( )หารดวย( + 1)จะเหลือเศษ = (−1) ∴ (−1) = (−1) + (−1) − (−1) + 2(−1) − (−1) + 1 ∴ (−1) = −1 + 1 + 1 + 2 + 1 + 1 = 5 Ans. 2 ถา ( ) = − − 2 + 5 + 2 หารดวย ( + 2) เหลือเศษ 8 แลว มีคาเทาไร วิธีทํา จาก ( )หารดวย( + 2)จะเหลือเศษ = (−2) = 8 ∴ P(2) = (−2) − (−2) − 2(−2) + 5(−2) + 2k ∴ 8 = 16 + 8 − 8 − 10 + 2 ∴ k = 1 Ans. แบบทดสอบความเขาใจ ชุดที่ 3 1.1 ถา ( ) = + − 2 + 3 − − 5 หารดวย ( + 2) จะเหลือเศษเทาไร 1.2 ถา ( ) = 3 − 5 + + 1 หารดวย ( − 3) จะเหลือเศษเทาไร 2.1 ถา ( ) = 2 − 3 + − + หารดวย ( − 3) เหลือเศษ 5 แลว มีคาเทาไร 2.2 ถา ( ) = 3 − 2 + + − 5 หารดวย ( + 1) เหลือเศษ − 10 แลว มีคาเทาไร *
  • 7. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 7 3 จงแยกตัวประกอบของ ( ) ถา ( ) = − 5 + 5 + 5 − 6 วิธีทํา ∴ P(1) = 1 − 5 + 5 + 5 − 6 = 0 ∴ แสดงวา ( − 1) เปนตัวประกอบตัวหนึ่งของ ( ) ∴ P(2) = 16 − 40 + 20 + 10 − 6 = 0 ∴ แสดงวา ( − 2) เปนตัวประกอบตัวหนึ่งของ ( ) หาสวนที่เหลือโดยการตั้งหารยาวดังนี้ ∴ P(x) = ( − 1)( − 2)( − 2 − 3) ∴ P(x) = ( − 1)( − 2)( + 1)( − 3) . 4 จงหาคา จากสมการ − 7 − 6 = 0 วิธีทํา ให P(x) = 3 − 7 − 6 ∴ P(−1) = −1 + 7 − 6 = 0 ∴ แสดงวา ( + 1) เปนตัวประกอบตัวหนึ่งของ ( ) หาสวนที่เหลือโดยการ หารสังเคราะห ดังนี้ ∴ P(x) = ( + 1)( − − 6) ∴ P(x) = ( + 1)( + 2)( − 3) จากโจทย 3 − 7 − 6 = 0 ∴ ( + 1)( + 2)( − 3) = 0 ∴ = −1, −2,3 . 3. จงแยกตัวประกอบของ ( ) ถา ( ) = − 2 − 7 + 8 + 12 4. จงหาคา จากสมการ − 4 + + 6 = 0
  • 8. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 8 10. การแยกตัวประกอบและแกสมการ 10.1 พหุนาม ในที่นี้ , แทนจํานวน เราเรียกวา ตัวแปร 1,2,3, … เราเรียกวาคาคงที่ หรือคาคงตัว ลักษณะของ 3 , 2 − 5, 2 − x + 5 ฯลฯ เราเรียกวา นิพจน ลักษณะของ 5 , 3 2 x , 2 , 5 , … เราเรียกวา เอกนาม ลักษณะของ 5 + 3 , 1 − 2 , 2x + 5 เราเรียกวา พหุนาม 10.2 ดีกรีของพหุนาม หมายถึงดีกรีที่มีคาสูงสุดของพหุนามนั้น เชน 100 เปนเอกนาม ดีกรี 0 , 5 + 3 เปนพหุนามดีกรี 1 5 + 3 + เปนพหุนามดีกรี 6 5 + 3 + เปนพหุนามดีกรี 7 10.3. การกระจายวงเล็บและการแยกตัวประกอบ Ex1 จงกระจายวงเล็บ ( − 3 − 5)(2 ) วิธีทํา ( − 3 2 − 5)(2 2 ) = (2 ) − 3 (2 ) − 5(2 ) = 2 − 6 − 10 . Ex2 จงกระจายวงเล็บ ( − 5 − 3)(2 + 3 ) วิธีทํา ( 2 − 5 − 3)(2 + 3 ) = (2 + 3 ) − 5 (2 + 3 ) − 3(2 + 3 ) = 2 + 3 − 10 − 15 − 6 − 9 . 3 จงกระจายวงเล็บ(2 − 3)(3 − 1)( + 2) วิธีทํา (2 − 3)(3 − 1)( + 2) = (2 − 3)[3 ( + 2) − 1( + 2)] = (2 − 3)[3 + 6 − − 2] = (2 − 3)( 3 + 5 − 2) = 2 (3 + 5 − 2) − 3( 3 + 5 − 2) = 6 + 10 − 4 − 9 − 15 + 6 = 6 + − 19 + 6 . แบบทดสอบความเขาใจ ชุดที่ 4 1. จงกระจายวงเล็บ (2 − 3 + 1)(3 ) 2. จงกระจายวงเล็บ (2 − 3 − 1)(3 − ) 3. จงกระจายวงเล็บ (3 − 1)(2 − 3)( − 2) สูตรการกระจายวงเล็บที่ควรจดจําคือ ( + ) = + 2 + ( − ) = − 2 + ( + ) = + 3 + 3 + ( − ) = − 3 + 3 − ( + ) = + 4 + 6 + 4 + ( − ) = − 4 + 6 − 4 + สูตรการแยกตัวประกอบที่ควรจดจําคือ − = ( − )( + ) − = ( − )( + + ) − = ( − )( + + + ) − = ( − )( + + + + ) + = ( + )( − + ) + = ( + )( − + − + )
  • 9. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 9 10.4. ใชสูตรการกระจายวงเล็บที่ยกกําลัง 2 และกําลัง 3 4 จงกระจายวงเล็บ ( 3 + 2) วิธีทํา ใชสูตร ( + )2 = 2 + 2 + 2 ( 3 + 2) = (3 ) + 2(3 )(2) + 2 = 9 + 12 + 4 . 5 จงกระจายวงเล็บ ( 2 − 3) วิธีทํา ใชสูตร ( − )2 = 2 − 2 + 2 ( 2 − 3) = (2 ) − 2(2 )(3) + 3 = 4 − 12 + 9 . 6 จงกระจายวงเล็บ ( 2 − + 3) วิธีทํา ใชสูตร ( + )2 = 2 + 2 + 2 และสูตร ( − )2 = 2 − 2 + 2 (2 − + 3) = [(2 − ) + 3] = (2 − ) + 2(2 − )(3) + 3 = (2 − ) + 12 − 6 + 9 = [(2 ) − 2(2 ) + ] + 12 − 6 + 9 = [4 − 4 + ] + 12 − 6 + 9 = 4 − 4 + + 12 − 6 + 9 . 7 จงกระจายวงเล็บ ( 3 − 2) วิธีทํา ใชสูตร ( − )3 = 3 − 3 2 + 3 2 − 3 ∴ (3 − 2) = (3 ) − 3(3 ) (2) + 3(3 )(2) − 2 = 27 − 6(9 ) + 12(3 ) − 8 = 27 − 54 + 36 − 8 . 4 . จงกระจายวงเล็บ ( 2 + 3 ) 5 จงกระจายวงเล็บ ( 3 − 2 ) 6. จงกระจายวงเล็บ ( 3 − 2 + 1) 7. จงกระจายวงเล็บ ( 2 − 3)
  • 10. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 10 10.5. การดึงตัวรวมและแยกตัวประกอบ 8 จงดึงตัวรวมของนิพจนตอไปนี้ 1) 15 − 10 − 5 2) 6 − 15 + 9 3) (2 − ) − 5(2 − ) + (2 − ) 4) 2 ( − ) − ( − ) + 3( − ) 5) 3 ( − ) − 2 ( − ) − 3( − ) วิธีทํา 1) 15 − 10 − 5 = 5 (3 − 2 − 1) . 2) 6 − 15 + 9 = 3 (2 − 5 + 3 ) . 3) (2 − ) − 5(2 − ) + (2 − ) = (2 − )( − 5 + ) . 4) 2 ( − ) − ( − ) + 3( − ) = 2 ( − ) + ( − ) − 3( − ) = (2 + − 3)( − ) . 5) 3 ( − ) − 2 ( − ) − 3( − ) = 3 ( − ) − 2 ( − ) − 3( − ) = (3 − 2 − 3)( − ) . 9 จงแยกตัวประกอบแบบจับคูดึงตัวรวมของนิพจนตอไปนี้ 1) 15 − 9 − 10 + 6 2) 6 + 15 − 4 − 10 3) 2 + 2 − − − 2 วิธีทํา 1) 15 − 9 − 10 + 6 = (15 − 9 ) − (10 − 6) = 3 (5 − 3) − 2(5 − 3) = (3 − 2)(5 − 3) . 2) 6 + 15 − 4 − 10 = (6 + 15 ) − (4 + 10) = 3 (2 + 5) − 2(2 + 5) = (3 − 2)(2 + 5) . 3) 2 + 2 − − − 2 = (2 + 2 ) − ( + ) − ( + ) = 2( + ) − ( + ) − ( + ) = ( + )(2 − − ) . 8. จงดึงตัวรวมของนิพจนตอไปนี้ 8.1 ) 6 − 4 = … … … … … … …… … . . … … … …. 8.2 ) 3 − 12 = … … … … … … … …… . . … . … …. 8.3 ) 10 − 15 = … … … … … …… … . . ……. 8.4 ) 10 − 2 − 4 = … … … … … … … … …. 8.5 ) 6 ( − ) − 15( − ) = … … … … … … … … … … … … … …. … … … …. 8.6 ) 18( − ) − 15( − ) = … … … … … … … … … … … … … …. … … … …. 8.7) 6( − ) − 8( − ) = … … … … … … … … … … … … … …. … … … …. 8.8) ( − ) − 3( − ) = … … … … … … … … … … … … … …. … … … …. 9. จงแยกตัวประกอบแบบจับคูดึงตัวรวมของนิพจนตอไปนี้ 9.1) + + + = … … … … … … … … … … … … … …. … … … …. = … … … … … … … … … … … … … …. … … … …. 9.2) 2 + 2 − − = … … … … … … … … … … … … … …. … … … …. = … … … … … … … … … … … … … …. … … … …. 9.3) + + + = … … … … … … … … … … … … … …. … … … …. = … … … … … … … … … … … … … …. … … … …. 9.4) 2 − + 4 − 2 = … … … … … … … … … … … … … …. … … … …. = … … … … … … … … … … … … … …. … … … …. 9. ) + − + − − = … … … … … … … … … … … … … …. … … … …. = … … … … … … … … … … … … … …. … … … …. = … … … … … … … … … … … … … …. … … … ….
  • 11. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 11 14 จงแยกเปน2วงเล็บกรณีหนาเทอมกําลังสองมีสปส. เปน1 1) + 8 + 15 2) − 8 + 15 3) − 2 − 15 4) + 2 − 15 วิธีทํา 1) + 8 + 15 = ( + 3)( + 5) 2) − 8 + 15 = ( − 3)( − 5) 3) − 2 − 15 = ( + 3)( − 5) 4) + 2 − 15 = ( − 3)( + 5) 14.1) + 7 + 10 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 14.2) − 7 + 10 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 14.3) − 3 − 10 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 14.4) + 3 − 10 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 14.5) − 4 − 21 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 14.6) + 5 − 6 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 14.7) − 11 + 18 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 14.8) + 9 + 18 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 14.9) − 9 + 20 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 14.10) + 7 + 6 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 14.11) + 6 − 7 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 14.12) − 9 + 8 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 14.13) + 6 − 27 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 14.14) + 11 + 10 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 14.15) − 10 + 24 = … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
  • 12. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 12 15 จงแยกเปน2วงเล็บกรณีหนาเทอมกําลังสองมีสปส. ไมเปน1 1) 6 + 19 + 15 2) 6 − 19 + 15 3) 6 − − 15 4) 6 + − 15 วิธีทํา 1) 6 + 19 + 15 = (2 + 3)(3 + 5) 2) 6 − 19 + 15 = (2 − 3)(3 − 5) 3) 6 − − 15 = (2 + 3)(3 − 5) 4) 6 + − 15 = (2 − 3)(3 + 5) 15. จงแยกเปน2วงเล็บ 15.1) 6 + 11 + 3 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 15.2) 10 − 11 − 6 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 15.3) 8 − 2 − 1 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 15.4) 6 − − 1 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 15.5) 3 − 8 + 5 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 15.6) 6 − 11 + 3 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 15.7) 15 + 13 + 2 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 15.8) 5 − 17 + 6 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 15.9) 3 + 5 − 2 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 15.10) 5 − 19 − 4 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 15.11) 6 − − 12 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 15.12) 15 − 8 + 1 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 15.13) 6 − 17 + 12 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 15.14) 30 + − 1 = … … … … … … … … … … … … … . … … … …. 15.15) 14 + 3 − 2 = … … … … … … … … … … … … … . … … … ….
  • 13. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 13 6. การแกสมการกําลัง 1 16 จงหาคา จากสมการ4(3 − 5) − 3( − 1) = 1 วิธีทํา 4(3 − 5) − 3( − 1) = 1 12 − 20 − 3 + 3 = 1 9 − 17 = 1 , 9 = 18 ∴ = 2 . 17 จงหาคา จากสมการ 2 3 (3 − 1) − 3( + 1) 5 = 2 15 วิธีทํา 2 3 (3 − 1) − 3( + 1) 5 = 2 15 หาครน. ของสวนทุกตัวมาคูณตลอดเพื่อใหสวนหมดไป ครน. ของ 3,5,15 คือ15 เอา15 คูณทุกพจนดังนี้ 15 2 3 (3 − 1) − 15 3( + 1) 5 = 15 2 15 10(3 − 1) − 9( + 1) = 2 30 − 10 − 9 − 9 = 2 21 − 19 = 2 ∴ 21 = 21 ∴ = 1 . 7. การแกสมการ 2ชั้น หรือ 2 ตัวแปร 18 จงหาคา ( , ) จากสมการ 6 − 5 = 7 … … (1) , 4 + 3 = 11 … …(2) วิธีทํา ตองคิดกอนวาจะกําจัดตัวแปรใดหรือหมดไป ในที่นี้กําจัด ตองหาครน. ของสปส. ของ คือ 6,4 มีครน. = 12 นั่นคือเราตองทําสปส. ของ ทั้งสองสมการใหเทากับ 12 นั่นคือ (1) × 2, นั่นคือสมการที่2 คูณดวย 2 ตลอดจะได (1) × 2, 12 − 10 = 14… … … . (3) (2) × 3, 12 + 9 = 33 … … …. (4) แลวเอาสมการ ซาย − ซาย = ขวา − ขวา มักเอาคามากตั้งนะ (4) − (3) , (12 + 9 ) − (12 − 10 ) = 33 − 14 ∴ 12 + 9 − 12 + 10 = 19 ∴ 19 = 19 ∴ = 1 แลวเอาคา = 1 ไปแทนคาใน (1) ∴ 6 − 5(1) = 7 ∴ 6 = 12 ∴ = 2 ∴ ( , ) = (2,1) . 16. จงหาคา จากสมการ 3(2 − 3) − 5( − 4) = 13 17. จงหาคา จากสมการ 10 3 ( − 2) − 3( − 1) 2 = 1 3 18. จงหาคา ( , ) จากสมการ 8 − 3 = 2 … … (1) , 6 + 5 = 16 … …(2)
  • 14. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 14 8. การแกสมการกําลังสอง ถา 2 + + = 0 แลวจะไดวา = − ± √ 2 − 4 2 ขอควรจํา 1) ∈ ก็ตอเมื่อ 2 − 4 ≥ 0 2) = หรือรากสมการมีคาเดียวเมื่อ − 4 = 0 19 จงหาคา จากสมการ 2 + 3 − 3 = 0 วิธีทํา จาก = − ± √ 2 − 4 2 จาก 2 2 + 3 − 3 = 0 จะไดวา = 2, = 3, = −3 ∴ = −3 ± 3 − 4(2)(−3) 2(2) = −3 ± √9 + 24 4 ∴ = −3 ± √33 4 = −3 + √33 4 , −3 − √33 4 . 9. การทําเปนกําลังสัมบูรณ 20 จงแกสมการ 2 − 6 + 1 = 0 โดยใชวิธีแบบกําลังสองสัมบูรณ วิธีทํา จาก 2 2 − 6 + 1 = 0 2 − 6 = −1 เพื่อทําใหสปส. ของ 2 เปน 1 ∗∗∗∗∗ ∴ − 3 = − 1 2 ∴ − 2 2 (3 ) = − 1 2 ∗∗ ใส 2 2 ที่สปส. ∗ เอา2 ไปหาร ส. ป. ส. ของ แลวยกกําลังสอง + เขาทั้งสองขาง ∗∗ − 2 3 2 + 3 2 = − 1 2 + 3 2 ∗∗∗ ใชสูตร − 2 + = ( − ) ∗∗∗ ∴ − 3 2 = − 1 2 + 9 4 ∴ − 3 2 = 7 4 ∴ − 3 2 = ± 7 4 ∗ ถอดรากกําลังสองตองไดคา ± เสมอ ∗ ∴ = 3 2 ± √7 2 = 3 + √7 2 , 3 − √7 2 . 19. จงหาคา จากสมการ 2 − 3 − 1 = 0 20. จงแกสมการ 3 − 8 − 2 = 0 โดยใชวิธีแบบกําลังสองสัมบูรณ
  • 15. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 15 21 จงจัด 4 − 9 − 24 − 36 − 36 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2 2 − ( − )2 2 = 1 และจงหาคาของ (ℎ, ) + ( , ) วิธีทํา จาก 4 2 − 9 2 − 24 − 36 − 36 = 0 จัดกลุมตัวแปรใหม ( 4 − 24 ) − (9 + 36 ) − 36 = 0 ∗ ระวังหนาวงเล็บเปน − ตองเปลี่ยนเครื่องหมายในวงเล็บเปนตรงขาม ∗ ∗ ดึง ส. ป. ส. ของ , ออก ∗ 4( − 6 ) − 9( + 4 ) − 36 = 0 4( − 6 + 3 − 3 ) − 9( + 4 + 2 − 2 ) − 36 = 0 4( − 6 + 3 ) − 4(3 ) − 9( + 4 + 2 ) + 9(2 ) − 36 = 0 4( − 6 + 3 ) − 36 − 9( + 4 + 2 ) + 36 − 36 = 0 4( − 6 + 3 ) − 9( + 4 + 2 ) = 36 4 36 ( − 6 + 3 ) − 9 36 ( + 4 + 2 ) = 36 36 1 9 ( − 6 + 3 ) − 1 4 ( + 4 + 2 ) = 1 ( − 6 + 3 ) 9 − ( + 4 + 2 ) 4 = 1 ( − 3) 3 − ( + 2) 2 = 1 ( − 3) 3 − ( + 2) 2 = 1 เทียบกับ ( − ℎ) − ( − ) = 1 (ℎ, ) = (3, −2) และ ( , ) = (3,2) (ℎ, ) + ( , ) = (3, −2) + (3,2) = (6,0) . 21. จงจัด 4 − 9 + 16 + 18 − 29 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2 2 − ( − )2 2 = 1 และจงหาคาของ (ℎ, ) + ( , )
  • 16. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 16 22 จงจัด + − 4 + 6 − 12 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2 + ( − )2 = 2 และจงหาคาของ ℎ + + วิธีทํา จาก 2 + 2 − 4 + 6 − 12 = 0 จัดกลุมตัวแปรใหม ( 2 − 4 ) + ( 2 + 6 ) = 12 − 4 + 4 2 + + 6 + 6 2 = 12 + 4 2 + 6 2 ( − 4 + 2 ) + ( + 6 + 3 ) = 12 + 2 + 3 ( − 2) + ( + 3) = 25 ( − ℎ) + ( − ) = เทียบกับ ( − 2) + ( + 3) = 5 ∴ ℎ = 2 , = −3 , = 5 ∴ ℎ + + = 2 + (−3) + 5 = 4 . 23 จงจัด − 8 + 4 + 24 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2 = 4( )( − ) และจงหาคาของ ℎ + + วิธีทํา จาก 2 − 8 + 4 + 24 = 0 จัดกลุมตัวแปรใหม 2 − 8 = −4 − 24 − 8 + 8 2 = −4 − 24 + 8 2 ( − 8 + 4 ) = −4 − 24 + 16 ( − 4) = −4 − 8 ( − 4) = −4( + 2) ( − 4) = 4(−1)( + 2) ( − 4) = 4(−1)( + 2) เทียบกับ ( − ℎ) = 4( )( − ) ∴ ℎ = 4 , = −2 , = −1 ∴ ℎ + + = 4 + (−2) + (−1) = 1 . 22. จงจัด + − 4 + 6 − 12 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2 + ( − )2 = 2 และจงหาคาของ ℎ + + 23. จงจัด + 8 + 10 + 1 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − )2 = 4( )( − ℎ) และจงหาคาของ ℎ + +
  • 17. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 17 24. จงจัด − 6 + 8 + 1 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − )2 = 4( )( − ℎ) และจงหาคาของ ℎ + + (แสดงวิธีทํา ) 25. จงจัด + 2 − 12 + 25 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − )2 = 4( )( − ℎ) และจงหาคาของ ℎ + + (แสดงวิธีทํา ) 26. จงจัด + 12 − 4 + 16 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2 = 4( )( − ) และจงหาคาของ ℎ + + (แสดงวิธีทํา ) 27. จงจัด + 8 + 6 − 7 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2 = 4( )( − ) และจงหาคาของ ℎ + + (แสดงวิธีทํา )
  • 18. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 18 28. จงจัด + − 4 + 6 + 4 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2 + ( − )2 = 2 และจงหาคาของ ℎ + + (แสดงวิธีทํา ) 29. จงจัด + − 4 + 6 + 9 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2 + ( − )2 = 2 และจงหาคาของ ℎ + + (แสดงวิธีทํา ) 30. จงจัด 9 − 4 − 16 − 18 − 43 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − ℎ)2 2 − ( − )2 2 = 1 และจงหาคาของ ( + ) − ( ℎ + ) (แสดงวิธีทํา ) 31. จงจัด 16 − 9 − 18 − 64 − 89 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − )2 2 − ( − ℎ)2 2 = 1 และจงหาคาของ ( + ) − ( ℎ + ) (แสดงวิธีทํา )
  • 19. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 19 32. จงจัด 4 + 9 − 8 + 36 + 4 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − )2 2 + ( − ℎ)2 2 = 1 และจงหาคาของ ( + ) − ( ℎ + ) (แสดงวิธีทํา ) 33. จงจัด 9 + 4 + 36 − 24 + 36 = 0 ใหอยูในรูปแบบ ( − )2 2 + ( − ℎ)2 2 = 1 และจงหาคาของ ( + ) − ( ℎ + ) (แสดงวิธีทํา )
  • 20. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 20 10. ชวง โดยกําหนดให a, b ∈ R และ < มีรูปแบบการเขียนดังนี้ 1. [ , ] = { ∕ ≤ ≤ } [ , ] อานวาชวงปด , หรือ ชวง ปด ปด สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้ 2. [ , ) = { ⁄ ≤ < } [ , ) อานวาชวงครึ่งปด , หรือ ชวง ปด เปด สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้ 3. ( , ] = { ⁄ < ≤ } ( , ] อานวาชวงครึ่งเปด , หรือ ชวง เปด ปด สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้ 4. ( , ) = { ⁄ < < } ( , )อานวาชวงเปด , หรือ ชวง เปด เปด สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้ 5. [ , ∝) = { ⁄ ≥ } สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้ 6. ( , ∝) = { ⁄ > } สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้ 7. (∝, ] = { ⁄ ≤ } สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้ 8. (∝, ] = { ⁄ < } สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้ 9. (∝, ∝) = { ⁄ ∈ } สามารถเขียน กราฟบนเสนจํานวนไดดังนี้ แบบทดสอบความเขาใจ ชุดที่ 5 1. จงเขียนชวงตอไปนี้ในรูปแบบของเซต 1) [−2, 10] = … …… … … … … … … … … … … … … 2) [−5,3) = … … … … …… … … … … … … … … … …. 3) (1,7] = … … … … … … … … … … … … … … …… … 4) (−3,11) = … … … …… … … … … … … … … … … .. 5) (4,∝) = …… … … … … … … … … … … … … …… .. 6) (−∝ ,8) = … … … … … … … … … … … … … …… .. 7) [−6, −1) = …… … … … … … … … … … … … … … 8) [5,21] = … … … … … … …… … … … … … … … … 9) (−2,8] = … … … … …… … … … … … … … … … .. 10) (−6, −2) = … … … … … … … … … … … … … …. 2. จงเขียนเซตตอไปนี้ในรูปแบบของชวง 1) { −5⁄ ≤ ≤ 4} = … … … … … … … …… … … … 2) { −6⁄ < ≤ 5} = … … … … … … … …… … … … 3) { −3⁄ ≤ < 1} = … … … … … … … …… … … … 4) { −2⁄ < < 6} = … … … … … … … …… … … … 5) { ⁄ ≤ 4} = … … …… … … … … … … … … … … 6) { ⁄ ≥ −7} = … … … … … … …… … … … … … … 7) { ⁄ < 10} = … … … … … … … … …… … … … … 8) { ⁄ > −1} = … … … … … … …… … … … … … … 9) { ⁄ ≠ 4} = … … …… … … … … … … … … … … 10) { ⁄ ≠ ±6} = … …… … … … … … … … … … …
  • 21. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 21 Ex3. จากสิ่งที่กําหนดให = [−10,5], = [−2,7] จงหา 1) − 2) − 3) ∪ 4) ∩ วิธีทํา 1) − = [−10,5] − [−2,7] = [−10, −2) . 2) − = [−2,7] − [−10,5] = (5,7] . 3) ∪ = [−10,5] ∪ [−2,7] = [−10,7] . 4) ∩ = [−10,5] ∩ [−2,7] = [−2,5] . Ex4. จากสิ่งที่กําหนดให = [−9,2], = (−5,8) จงหา 1) − 2) − 3) ∪ 4) ∩ วิธีทํา 1) − = [−9,2] − (−5,8) = [−10, −2) . 2) − = (−5,8) − [−9,2] = (2,8) . 3) ∪ = [−9,2] ∪ (−5,8) = [−9,8) . 4) ∩ = [−9,2] ∩ (−5,8) = (−5,2] . Ex5. จากสิ่งที่กําหนดให = [−9,2], = (−5,8), = [−3, 9) จงหา 1) (A ∪ ) ∩ 2) ( − ) − 3) − ( − ) 4) A − (B ∪ ) วิธีทํา 1) (A ∪ ) ∩ = [−9,2] ∪ (−5,8) ∩ [−3, 9) = [−9,8) ∩ [−3, 9) = [−3,8) . 2) (A − ) − = [−9,2] − (−5,8) − [−3, 9) = [−9, −5] − [−3, 9) = [−9, −3) . 3) − ( − ) = [−9,2] − (−5,8) − [−3, 9) = [−9,2] − (−5, −3) = [−9, −5] . 4) − ( − ) = [−9,2] − (−5,8) ∪ [−3, 9) ′ = [−9,2] − (−5,9) = [−9,2] ∩ (−5,9) = (−5,2] . 3. ให = [−6,6], = [−3,9] จงหา 1) A − B = … … … … … … …… … … … … … … 2) B − A = ………… …………… ………… … 3) ∩ = …… …………… ………… ……… 4) ∪ = …… …………… ………… ……… 4. ให = [−10,6], = (−5,9] จงหา 1) A − B = … … … … … … …… … … … … … … 2) B − A = ………… …………… ………… … 3) ∩ = …… …………… ………… ……… 4) ∪ = …… …………… ………… ……… 5. ให = (−7,6], = (−3,9] จงหา 1) A − B = … … … … … … …… … … … … … … 2) B − A = ………… …………… ………… … 3) ∩ = …… …………… ………… ……… 4) ∪ = …… …………… ………… ……… 5.1 ให = (−8,6), = (−5,9) จงหา 1) A − B = … … … … … … …… … … … … … … 2) B − A = ………… …………… ………… … 3) ∩ = …… …………… ………… ……… 4) ∪ = …… …………… ………… ……… 5.2 ให = (−8,6), = (−6,7], = (−3,9] จงหา 1) ( ∪ ) ∪ = … … … … … … … …… … … … 2) ( ∪ ) ∩ = … ………… ………… …………… 3) ( ∪ ) − = ………… ………… ………… …… 4) ( − ) − = ……… ………… ………… ……… 5) A − (B − ) = ………… ………… ………… ……
  • 22. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 22 Ex6. จากสิ่งที่กําหนดให a ∈ [−10,5], b ∈ (−2,10) จงหาวา คาตอไปนี้เปนสมาชิกในชวงใด 1) a + b 2) a − b 3) b − a 4) ab วิธีทํา 1) a + b ∈ (−12,15) 2) − ∈ (−20,7) 3) b − a ∈ (−7,20) 4) ab ∈ (−100,50) Ex7. จากสิ่งที่กําหนดให a ∈ [−8,4), b ∈ [−5,9) จงหาวา คาตอไปนี้เปนสมาชิกในชวงใด 1) 2a + 3b 2) 3a − b 3) ab 4) a 5) | | + | | วิธีทํา 1) 2a + 3b ∈ [−31,35) 2) 3 − ∈ (−33,17) 3) ab ∈ (−72,40) 4) ∈ [0,64] 5) | | + | | ∈ [0,17) 6. จากสิ่งที่กําหนดให a ∈ [−5,6], b ∈ (−3,7) จงหาวา คาตอไปนี้เปนสมาชิกในชวงใด 1) a + b 2) a − b 3) b − a 4) ab 7. จากสิ่งที่กําหนดให a ∈ [−3,8), b ∈ [−4,1) จงหาวา คาตอไปนี้เปนสมาชิกในชวงใด 1) 2a + 3b 2) 3a − b 3) ab 4) a 5) | | + | |
  • 23. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 23 . การแกอสมการในรูปแบบตางๆ 11.1 อสมการกําลัง 1 1 จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง 2 − 11 ≥ 5 + 4 วิธีทํา 2 − 5 ≥ 4 + 11 −3 ≥ 15 ∴ ≤ −5 . Ex2 จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง 2 − 3(5 − 1) ≥ − 4 วิธีทํา 2 − 15 + 3 ≥ − 4 −13 + 3 ≥ − 4 −13 − ≥ −4 − 3 −14 ≥ −7 ∴ ≤ 0.5 . 3 จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง 3 − 5 5 − 3 + 1 2 + 1 3 ≥ + 4 วิธีทํา 6(3 − 5) − 15(3 + 1) + 10 30 ≥ + 4 6(3 − 5) − 15(3 + 1) + 10 ≥ 30( + 4) (18 − 30) − (45 + 15) + 10 ≥ (30 + 120) 18 − 30 − 45 − 15 + 10 ≥ 30 + 120 −27 − 35 ≥ 30 + 120 −27 − 30 ≥ 120 + 35 −57 ≥ 155 ∴ ≤ − 155 57 . 4 จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง −2 ≤ 3 − 1 2 ≤ 4 วิธีทํา − 2 ≤ 3 − 1 2 ≤ 4 −4 ≤ 3 − 1 ≤ 8 −4 + 1 ≤ 3 ≤ 8 + 1 −3 ≤ 3 ≤ 9 ∴ −1 ≤ ≤ 3 . แบบทดสอบความเขาใจ ชุดที่ 6 1) จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง 5 + 11 ≥ 7 + 5 2) จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง 3 − 2(4 − 1) ≥ 10 − 28 3) จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง 5 − 3 3 − 3 − 1 2 + 1 5 ≥ 2 − 3 4) จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง −5 ≤ 2 − 3 3 ≤ 2
  • 24. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 24 5 จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้ √3 − 5 ≤ 4 เปนจริง วิธีทํา √3 − 5 ≤ 4 0 ≤ √3 − 5 ≤ 4 เพราะ ถา √ ∈ แลว √ ≥ 0 เสมอ 0 ≤ √3 − 5 ≤ 4 0 ≤ 3 − 5 ≤ 16 0 + 5 ≤ 3 − 5 + 5 ≤ 16 + 5 5 ≤ 3 ≤ 21 5 3 ≤ ≤ 7 . 11.2 อสมการกําลัง 2 6 จงหาชวงของ ที่ทําใหอมการ (2 − 1) ≤ 9 เปนจริง วิธีทํา จาก (2 − 1)2 ≤ 9 จะไดวา − √9 ≤ (2 − 1) ≤ √9 −3 ≤ 2 − 1 ≤ 3 −2 ≤ 2 ≤ 4 −1 ≤ ≤ 2 . 7 จงหาชวงของ ที่ทําใหอมการ (2 − 3) ≥ 12 เปนจริง วิธีทํา จาก (2 − 3)2 ≥ 12 จะไดวา (2 − 3) ≥ √12 หรือ (2 − 3) ≤ −√12 ∴ (2 − 3) ≥ 2√3 หรือ (2 − 3) ≤ −2√3 ∴ 2 ≥ 3 + 2√3 หรือ 2 ≤ 3 − 2√3 ∴ ≥ 3 + 2√3 2 ∨ ≤ 3 − 2√3 2 Ans. 5) จงหาชวงของ ที่ทําใหอสมการนี้ √2 − 3 ≤ 25 เปนจริง 6) จงหาชวงของ ที่ทําใหอมการ (2 + 3) ≤ 64 เปนจริง 7 จงหาชวงของ ที่ทําใหอมการ (3 − 5) ≥ 32 เปนจริง
  • 25. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 25 Ex8 จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง 2 − 3x − 1 ≤ 0 วิธีทํา ถา 2 + b + c = 0 ∴ = −b ± √ 2 − 4 2 ∴ = −(−3) ± (−3)2 − 4(2)(−1) 2(2) ∴ = 3 ± √9 + 8 4 = 3 ± √17 4 จาก + bx + c ≤ 0 สามารถหาคา ที่เปนจริง ไดอยูในชวง −b − √ − 4 2 ≤ ≤ −b + √ − 4 2 ดังนี้ 2 − 3x − 1 ≤ 0 แลวจะหาคา ไดในชวง ∴ 3 − √17 4 ≤ ≤ 3 + √17 4 . 9 จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง 3 − 2 − 1 ≥ 0 วิธีทํา ถา 2 + b + c = 0 ∴ = −b ± √ 2 − 4 2 ∴ = −(−2) ± (−2) − 4(3)(−1) 2(3) ∴ = 2 ± √4 + 12 6 = 2 + 4 6 , 2 − 4 6 = 1, − 1 3 ถา 2 + b + c ≥ 0 สามารถหาคา ที่เปนจริง ไดอยูในชวง ≤ −b − √ − 4 2 หรือ ≥ −b + √ − 4 2 ∴ ≤ − 1 3 หรือ ≥ 1 Ans. 8) จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง 4 − 2x − 3 ≤ 0 9) จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง 2 − 5x − 4 ≥ 0
  • 26. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 26 11.3 การแกอสมการโดยวิธีแบงชวง บวก ลบ เปนกรณีที่โจทยอยูในรูปแบบการคูณและหารของวงเล็บ ที่เครื่องหมายหนา เปน + เสมอ 10 จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง ( − 1)( + 3)( − 3) ( + 5) ≥ 0 วิธีทํา เนื่องจากเศษสวนตองมีสวนที่ไมเปน 0 ∴ ≠ −5 ถา ( − 1)( + 3)( − 3) ( + 5) = 0 ∴ = −3,1,3 ∴ จุดแบ่งช่วง + − คือ ชวง จากโจทย์ต้องการช่วงที ≥ 0 ดังนั้นจึงเลือกชวงบวกเปนคําตอบ ( ≤ −3) ∨ (1 ≤ ≤ 3) ∨ (x > 5) Ans. 11 จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง ( + 3)(4 − ) ( − 2)( + 5) ≥ 0 วิธีทํา เนื่องจากเศษสวนตองมีสวนที่ไมเปน 0 ∴ ≠ −5,2 โจทยขอนี้ยังใชระบบการเช็คชวงไมไดเพราะมีวงเล็บที่หนา เปน ลบ จึงตองทําหนา ทุกวงเล็บเปนบวกเสียกอนดังนี้ ( + 3)(−1)(−4 + ) ( − 2)( + 5) ≥ 0 ( + 3) ( − 4 ) ( − 2)( + 5) ≤ 0 เอา(−1)คูณตลอดเครื่อง ≥ เปลี่ยนเปน ≤ หาจุดแบงชวง โดยใหแตละวงเล็บ = 0 จะได x = −5, −3,2,4 ใหชวงขวามือสุดเปนชวงบวกเสมอแลวสลับชวงลบบวกตอๆกันไป จากโจทยตองการชวงที่ เปนคําตอบคือชวง ≤ 0 ∴ (−5 < x ≤ −3) ∨ (2 < x ≤ 4) Ans. 10. จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง ( − 1)( + 3)( − 3) ( + 5)( − 5) ≥ 0 11. จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง (1 − )( + 3)(4 − ) (2 − )( + 5) ≥ 0
  • 27. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 27 12 จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง ( + 3) (4 − ) ( + 3) ( − 2)( + 5)| + 3|(1 − ) ≥ 0 วิธีทํา เนื่องจากเศษสวนตองมีสวนที่ไมเปน 0 ∴ ≠ 2, −5, −3,1 จัดรูปแบบอสมการใหมดังนี้ ( + 3) (4 − )(4 − ) ( + 6) ( − 2)( + 5)| + 3|(4 − )(1 − ) ≥ 0 ถ้า ( + 3)112 (4 − )(4 − )22 ( + 6)4 ( − 2)( + 5)| + 3|(4 − )(1 − )110 = 0 จะได = −3,4, −6 และ ≠ 2, −5, −3,1 วงเล็บที่ยกกําลังคูมีคา ≥ 0 ∴ ( + 3) (4 − )(4 − ) ( + 6) ( − 2)( + 5)| + 3|(4 − )(1 − ) ≥ 0 ∴ ตัดพจนที่เปนบวกเสมอทิ้งจะได (4 − ) ( + 5) (1 − ) ≥ 0 โจทยขอนี้ยังใชระบบการเช็คชวงไมไดเพราะมีวงเล็บที่หนา เปน ลบ จึงตองทําหนา ทุกวงเล็บเปนบวกเสียกอนดังนี้ (−1)( − 4) ( + 5) (−1)( − 1) ≥ 0 ( − 4) ( + 5) ( − 1) ≥ 0 หาจุดแบงชวง โดยใหแตละวงเล็บ = 0 จะได x = 4, −5,1 ใหชวงขวามือสุดเปนชวงบวกเสมอแลวสลับชวงลบบวกตอๆกันไป จากโจทยตองการชวงที่ เปนคําตอบคือชวง ≤ 0 ∴ (−5 < x < 1) ∨ ( x ≥ 4) ∨ x = −6 Ans. 12. จงหาชวงของ x ที่ทําใหอสมการนี้เปนจริง ( − 3) (1 − ) ( + 2) ( − 6)( − 5)| − 4|(1 + ) ≥ 0
  • 28. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 28 12. คาสัมบูรณ( ) นิยาม ถา ∈ แลว | | = , ≥ 0 − , < 0 สมบัติของคาสมบูรณ 1) | | ≥ 0 เสมอ 2) ⌈− ⌉ = | | 3) | − | = | − | 4)| | = | || | 5) = | | | | , ≠ 0 6) | | = | | = 7) | + | ≤ | | + | | 8) | − | ≥ | | − | | 9) | | > | | แลว > 10) ถา = แลว | | = | | หรือ = ± 11) | | ≥ แลว ≥ หรือ ≤ โดยที่ > 0 12) | | ≤ แลว − ≤ ≤ โดยที่ > 0 การแกสมการและอสมการคาสัมบูรณ 1. จงหาคา จากสมการ |2 − 3| = 5 วิธีทํา จาก |2 − 3| = 5 ∴ 2 − 3 = ±5 ถา 2 − 3 = 5 ∴ = 4 . ถา 2 − 3 = − 5 ∴ = −1 . 2. จงหาคา จากสมการ |2 − 3| = |3 − 2| วิธีทํา จาก |2 − 3| = |3 − 2| ∴ 2 − 3 = ± (3 − 2) ถา 2 − 3 = (3 − 2) ∴ = −1 . ถา 2 − 3 = − (3 − 2) ∴ = 1 . แบบทดสอบความเขาใจ ชุดที่ 7 1.1. จงหาคา จากสมการ |2 − 3| = 5 1.2. จงหาคา จากสมการ |5 − 3| = 7 2.1. จงหาคา จากสมการ |4 − 5| = |5 − 7| 2.2. จงหาคา จากสมการ |3 − 7| = |5 − 13|
  • 29. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 29 3 จงหาคา จากอสมการ |3 − 1| ≤ 5 วิธีทํา จาก |3 − 1| ≤ 5 ∴ −5 ≤ 2 − 3 ≤ 5 ∴ −2 ≤ 2 ≤ 8 ∴ −1 ≤ ≤ 4 . 4. จงหาคา จากอสมการ |2 − 3| ≥ 7 วิธีทํา จาก |2 − 3| ≥ 7 ∴ 2 − 3 ≥ 7 หรือ ∴ 2 − 3 ≤ −7 ∴ ≥ 5 หรือ ≤ −2 . การแกสมการหรืออสมการคาสัมบูรณโดยใชวิธีแบงชวงการคิด 3.1 จงหาคา จากอสมการ |5 + 2| ≤ 12 3.2 จงหาคา จากอสมการ |3 − 4 | ≤ 11 4.1 จงหาคา จากอสมการ |4 − 2| ≥ 6 4.3 จงหาคา จากอสมการ |2 − 5| ≥ 20
  • 30. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 30 จงหาคา จากสมการ |2 − 4 | + | + 2| = 5 วิธีทํา ใชระบบการแบงชวง โดยหาจุดแบงดังนี้ ใหคาภายในเครื่องหมายคาสัมบูรณเทากับ 0 จะได = 2, −2 ดังนั้นชวงที่เราจะใชพิจารณาแบงเปน 3 ชวงดังรูป ∴ 2 − 3 ≥ 7 หรือ ∴ 2 − 3 ≤ −7 ในการคํานวณคาที่จะเปนคําตอบตองอยูในชวงที่กําลังใชอยูเทานั้น พิจารณาเปลี่ยน |2 − 4 | + | + 2| = 5 ใหเปนวงเล็บ ใหคา ในชวงคาใด คาหนึ่งในชวงที่กําลังใชคํานวณ ไปแทนคาดูวาคาภายในเครื่องหมาย คาสัมบูรณไดคา + หรือ − ถาไดคา + ใหเปลี่ยนเครื่องหมายคาสัมบูรณเปนวงเล็บ + ถาไดคา − ใหเปลี่ยนเครื่องหมายคาสัมบูรณเปนวงเล็บ − ชวงที่ 1 < −2 ตรวจสอบคาสัมบูรณโดยแทนดวย = −4 ในสมการ |2 − 4 | + | + 2| = 5 จะได − (2 − 4) − ( + 2) = 5 ∴ −2 + 4 − − 2 = 5 ∴ = −1 = −1 ไมอยูในชวงที่ 1 จึงไมไมใชคําตอบ ชวงที่ 2 − 2 < < 2 ตรวจสอบคาสัมบูรณโดยแทนดวย = 0 ในสมการ |2 − 4 | + | + 2| = 5 จะได − (2 − 4) + ( + 2) = 5 ∴ −2 + 4 + + 2 = 5 ∴ = 1 = 1 อยูในชวงที่ 2 จึงเปนคําตอบที่ใชได ชวงที่ 3 > 2 ตรวจสอบคาสัมบูรณโดยแทนดวย = 5 ในสมการ |2 − 4 | + | + 2| = 5 จะได (2 − 4) + ( + 2) = 5 ∴ 2 − 4 + + 2 = 5 ∴ = 7 3 = 7 3 อยูในชวงที่ 3 จึงเปนคําตอบที่ใชได ∴ สมการ |2 − 4 | + | + 2| = 5 มีคําตอบคือ = 1, 7 3 .
  • 31. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 31 5 จงหาคา จากสมการ |3 − 1 | + |2 + 3| = 5 วิธีทํา ใชระบบการแบงชวง โดยหาจุดแบงดังนี้ x = 1 3 , − 3 2 ชวงที่ 1 < − 3 2 ตรวจสอบดวย = −4 จะได −(3 − 1) − (2 + 3) = 5 −3 + 1 − 2 − 3 = 5 −5 − 2 = 5 ∴ = − 7 5 ไมอยูในชวงที่ 1 ชวงที่ 2 − 3 2 < < 1 3 ตรวจสอบดวย = 0 จะได −(3 − 1) + (2 + 3) = 5 −3 + 1 + 2 + 3 = 5 − + 4 = 5 ∴ = −1 อยูในชวงที่ 2 จึงเปนคําตอบ ชวงที่ 3 > 1 3 ตรวจสอบดวย = 2 จะได (3 − 1) + (2 + 3) = 5 3 − 1 + 2 + 3 = 5 5 + 2 = 5 ∴ = 3 5 อยูในชวงที่ − จึง เปนคําตอบ สมการ |3 − 1 | + |2 + 3| = 5 มีคําตอบ คือ = −1, 3 5 , 5. จงหาคา จากสมการ |5 − 3 | + |2 + 1| = 9
  • 32. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 32 6 จงหาคา จากสมการ |2 − 1 | − | + 1| ≤ 1 วิธีทํา ใชระบบการแบงชวง โดยหาจุดแบงดังนี้ x = 1 2 , −1 ชวงที่ 1 < −1 ตรวจสอบดวย = −3 ในอสมการ |2 − 1 | − | + 1| ≤ 1 จะได −(2 − 1) + ( + 1) ≤ 1 −2 + 1 + + 1 ≤ 1 − ≤ −1 ∴ ≥ 1 ไมอยูในชวงที่ 1 จึงไมใชคําตอบ ชวงที่ 2 − 1 < < 1 2 ตรวจสอบดวย = 0 จะได −(2 − 1) − ( + 1) ≤ 1 −2 + 1 − − 1 ≤ 1 −3 ≤ 1 ∴ ≥ − 1 3 อยูในชวงที่ 2 จึงเปนคําตอบ ชวงที่ 3 > 1 2 ตรวจสอบดวย = 5 จะได (2 − 1) − ( + 1) ≤ 1 2 − 1 − − 1 ≤ 1 ≤ 3 อยูในชวงที่ 3 จึงเปนคําตอบ อสมการ |2 − 1 | − | + 1| ≤ 1 มีคําตอบ คือ − 1 3 ≤ ≤ 3 , 6. จงหาคา จากสมการ |2 − 1 | − | + 1| ≤ 1
  • 33. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 33 แบบทดสอบเสริมความเขาใจ 1. + 3| | − 4 = 0 2. | − 3 + 2| = − 3 + 2 3. | + 2 − 3| = 3 − 2x − 4. 4( + 2) − 3| + 2| − 1 = 0 5. | + 3 + 3| = | 2 + 3| 6. | − 4| + | + 4| = 10 7. | − 4| − | − 4| = 8 8. | − 3| + | + 2| − | − 4| = 3 9. | − 1| = | + 3| 10. | 2 − 1| = − 2 − 3 11. | − 3| | + 2| = − 2 12. | − 1| > 4x + 1 13. | − 3| > | − 3| 14. | + 3 | ≤ 8 − − 3 15. | | | − 3| < | − 2| 16. |2 − 1| | + 3| − 5 < 1 17. |3 − 2| | + 1| − 1 > 5 18. | − − 5| < 4 − 1 19. − | | − 12 < 0 20. − 4 + 4 − 6 + 9 + | − 2| | − 3| − 12 < 0
  • 34. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 34 สมบัติความบริบูรณ( ) นิยาม ให ⊂ 1) จะเปนคาขอบเขตบนของ ถา ทุก ที่เปนสมาชิกของ มีคานอยกวาหรือเทากับ 2) จะเปนคาขอบเขตลางของ ถา ทุก ที่เปนสมาชิกของ มีคามากกวาหรือเทากับ นิยาม ให ⊂ แลว จะเปนคาขอบเขตบนนอยสุดของ เมื่อ 1) เปนขอบบนของ 2) ถา ทุก ที่เปนสมาชิกของขอบเขตบน จะได ≤ เรียก วา หรือ ของ เขียนแทนดวย = sup นิยาม ให ⊂ แลว จะเปนคาขอบเขตลางมากสุดของ เมื่อ 1) เปนขอบลางของ 2) ถา ทุก ที่เปนสมาชิกของขอบเขตลาง จะได ≥ เรียก วา หรือ ของ เขียนแทนดวย = imf ให = [−7,9) จงหา ขอบบนของ ขอบลางของ และ คําตอบ ขอบบนของ = [9, ∝) ขอบลางของ = (−∝, −7] = 9 และ = −7 . แบบทดสอบความเขาใจ จงหา ขอบบนของ ขอบลางของ และ เมื่อกําหนด ใหดังนี้ 1) = [−4,6] ขอบบนของ = … … … … … … … … … … … … …. ขอบลางของ = … … … … … … … … … … … … …. = … … … … … … …… … … … … … … … … = …… … … … … … … … … … … … … … … 2) = (12,60) ขอบบนของ = … … … … … … … … … … … … …. ขอบลางของ = … … … … … … … … … … … … …. = … … … … … … …… … … … … … … … … = …… … … … … … … … … … … … … … … 3) = {−1,6,9,3, −9, −3,2,1} ขอบบนของ = … … … … … … … … … … … … …. ขอบลางของ = … … … … … … … … … … … … …. = … … … … … … …… … … … … … … … … = …… … … … … … … … … … … … … … … 3) = { / |2 − 5| ≤ 7} ขอบบนของ = … … … … … … … … … … … … …. ขอบลางของ = … … … … … … … … … … … … …. = … … … … … … …… … … … … … … … … = …… … … … … … … … … … … … … … …
  • 35. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 35 แบบทดสอบพื้นฐานระบบจํานวนจริง ชุดที่ 1 1. ขอใดไมถูกตอง 1. 1.1414 เปนจํานวนตรรกยะ 2. ถา  แลว 2  0 3. 0 เปนจํานวนอตรรกยะ 4. ถา , เปนจํานวนคู แลว + เปนจํานวนคู 2. ขอใดผิด 1. ตรรกยะบวกตรรกยะไดตรรกยะเสมอ 2. ตรรกยะบวกอตรรกยะไดอตรรกยะเสมอ 3. ตรรกยะคูณตรรกยะไดตรรกยะเสมอ 4. ตรรกยะคูณอตรรกยะไดอตรรกยะเสมอ 3. ขอใดเปนจํานวนอตรรกยะ 1. 3√5 + 3√5 − √125 2. √3(√8 − 2√5) 3. 2√2 + 4√2 − 6√2 4. √2 √3 × √3 − √6 4. ขอใดถูกตอง 1. เซตของจํานวนจริง ปดสําหรับการคูณเสมอ 2. เซตของจํานวนจริง ปดสําหรับการหารเสมอ 3. เซตของจํานวนเต็มลบ ปดสําหรับการคูณเสมอ 4. เซตของจํานวนคี่ ปดสําหรับการลบเสมอ 5. ขอใดถูกตอง 1. เซตของจํานวนอตรรกยะ ปดสําหรับการลบเสมอ 2. {1,2} มีสมบัติปดสําหรับการคูณเสมอ 3. {−1,0,1} มีสมบัติปดสําหรับการคูณเสมอ 4. {−1,0,1} มีสมบัติปดสําหรับการบวกเสมอ 6. ขอใดผิด… 1. อินเวอรสการบวกของ √5 − 1 2√3 คือ 1 − √5 2√3 2. อินเวอรสการบวกของ √5 − 1 2√3 คือ √3 √5 + 1 2 3. อินเวอรสการคูณของ − 2 + 17 5 คือ − 5 7 4. อินเวอรสการคูณของ √6 − √5 คือ √6 + √5 7. ให , , เปนจํานวนจริงใดๆ แลว ขอใดถูก… 1. − 2 1 − = 2. ถา < แลว 2 < 2 3. ถา < < 0 และ < < 0 แลว > 4. ถา 0 < < 1 แลว 0 < < 2 8. ให , เปนจํานวนจริงใดๆ แลว ขอใดผิด… 1. ถา ∗ = + + 5 และ ∗ 3 = 4 ∗ 10 แลว = 7 2. ถา ∗ = 3 + 2 + 1 และ ∗ 5 = 2 ∗ 3 แลว = 3. ถา ∗ = 2 + 2 + 1 และ ∗ 3 = 3 ∗ 1 แลว = 1 4. ถา ∗ = − 2 + 3 และ ( ∗ 1) ∗ 2 = 5 ∗ 4 แลว = 0 9. ให ∗ = + − 8 สําหรับทุก , ที่เปนจํานวนเต็ม แลวขอความใดตอไปนี้ถูกตอง.. 1. (2 ∗ 3) ∗ 4 = 2 ∗ (3 ∗ 4) 2. เอกลักษณ ของ ∗ นี้คืด 8 3. อินเวอรสของ สําหรับ ∗ คือ − 4. เครื่องหมา ∗ ไมมีสมบัติการสลับที่
  • 36. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 36 10. ให , เปนจํานวนจริงใดๆ แลว ขอใดผิด… . 1. ถา ∗ = + + 5 แลว เอกลักษณของเครื่องหมาย ∗ นี้ คือ − 5 2. ถา ∗ = + − 11 แลว เอกลักษณของเครื่องหมาย ∗ นี้ คือ 11 3. ถา ∗ = 2 แลว เอกลักษณของเครื่องหมาย ∗ นี้ คือ 1 2 4. ถา ∗ = + + แลว เอกลักษณของเครื่องหมาย ∗ นี้ คือ k แบบทดสอบพื้นฐาน ชุดที่ 2 ทฤษฎีเศษเหลือ 1. − 7 − 6 หารดวยพจนใดตอไปนี้แลวเหลือเศษนอยสุด.. 1. ( − 2) 2. ( + 4) 3. ( + 2) 4. ( + 3) 2. ขอใดเปนตัวประกอบของ + 2 − 5x − 6 .. 1. ( − 1) 2. ( − 2) 3. ( − 3) 4. ( − 4) 3. + 6 + 3x − 10 หารดวยพจนใดตอไปนี้แลวเหลือเศษมากสุด … 1. ( − 1) 2. ( + 1) 3. ( − 2) 4. ( + 2) 4. ขอใด นําไปหาร − 6 + 11x − 6 แลวเหลือเศษเทากับการหารดวย ( − 3) … 1. ( + 1) 2. ( + 3) 3. ( − 1) 4. ( − 6) 5. ถา ( ) = 2 − 3 − x + a และ ( )หารดวย( − 1) แลวเหลือเศษ 3 แลว ( )หารดวย ( − 2)เหลือเศษเทาไร… 1. 5 2. 6 3. 7 4. 8 6. ถา ℎ( ) = + − 5 + 6 หารดวย( + 2)ไดลงตัว แลว ℎ( )รหารดวย ( + )เหลือเศษเทาไร…. 1. − 1 2. − 2 3. − 3 4. − 4 7. ถา ℎ( ) = − 3 + a + b หารดวย( − 1)เหลือเศษ 3 และหารดวย ( − 2)จะเหลือเศษ 3 เชนกัน แลว ℎ( )รหารดวย ( + + )จะเหลือเศษเทาไร … 1. − 100 2. − 157 3. − 207 4. − 235 8. ถา ℎ( ) = 5 − 11 − 14 − 10 หารดวย( + 1)เหลือเศษ และถาหารดวย( − 1)เหลือเศษ แลว มีคาเทาไร.. 1. − 360 2. 360 3. − 400 4. 400
  • 37. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 37 9. ให ∈ จงหาผลบวกของ ทั้งหมดที่สอดคลองกับเงื่อนไข ที่ 3 + 2 2 − 5 − 2 หารดวย − แลวเหลือเศษ 4.. 1. − 6 2. − 2 3. 2 4. 6 10. ให , , เปนคําตอบของสมการ 27 3 − 18 2 − 3 + 2 และ < < แลว − + มีคาเทาไร.. 1. − 1 3 2. 0 3. 1 3 4. 2 3 11. กําหนดให 2 − 3 − 17 + 30 = 0 แลว คําตอบของ สมการที่มีคามากที่สุด มากกวาคําตอบของสมการที่มีคานอย ที่สุด เทากับขอใดตอไปนี้ … 1. 3 2. 4 3. 5 4. 6 12.กําหนดให , , เปนรากของสมการ 6 + − 4 + 1 = 0 โดยมี < 0, > 0, > 0 และ < แลว คาของ 4 − ตรงกับขอใดตอไปนี้ …. 1. 0 2. 1 3. 3 4. 9 แบบทดสอบพื้นฐาน ชุดที่ 3 ชวงและอสมการ 1. ให = ( −2 , 7 ], = ( 3 , 10 ) แลวขอใด ผิด… 1. ∪ = (−2,10) 2. ∩ = (3,7] 3. − = (−2,3) 4. − = (7,10) 2. ให = [−5,6), = (−3 , 10 ) , = [−2,15] แลวขอใด ผิด…. 1. ( ∪ ) ∩ = [−2,10) 2. ( ∩ ) ∪ = (−3,15] 3. ( ∪ ) − = (−5, −2) 4. ( ∪ ) − = [−5, −3) 3. ถา 7(2 − 3) − 5(3 − 1) ≥ 2( + 3) − 19 แลว เปนสมาชิกในชวงใดตอไปนี้. 1. (−∞, −1] 2. (−∞, 3] 3. [−1,∞) 4. (−3,∞) 4. ถา 5 − 1 2 − 10 + 2 3 ≤ 2 แลว เปนสมาชิกในชวงใดตอไปนี้… 1. (−∞, 12 5 ] 2. (−∞, 19 5 ] 3. [− 19 5 , ∞) 4. (− 12 5 , ∞)
  • 38. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 38 5. ถา − 3 < 2 − 1 3 + 3 − 1 2 < 10 แลว เปนสมาชิกในชวงใดตอไปนี้ . 1. (−1, 5) 2. (−2,4] 3. [−5,3) 4. (−8,2) 6. ถา 3x − 2 < 6 + 10 ≤ + 35 แลว เปนสมาชิกในชวงใดตอไปนี้ . 1. (−4, 5) 2. (−5,4) 3. (−6,3) 4. (−7,2) 7. ถา 2x − 5 < 17 ≤ 3 + 12 แลว เปนสมาชิกในเซตใดตอไปนี้.. 1. (−1, 9) 2. [1,11) 3. (1,11] 4. [0,11] 8. ขอใดตอไปนี้เปนเท็จ…. 1. ถา ( + 1)(x − 5) ≤ 0 แลวจะได − 1 ≤ ≤ 5 2. ถา ( − 3)(x + 2) < 0 แลวจะได − 2 < < 3 3.ถา (3 − x)(1 + x) ≤ 0 แลวจะได ≤ −1 หรือ ≥ 3 4.ถา (5 − x)(2 + x) > 0 แลวจะได < −2 หรือ > 5 9. ถา ( − 4)( + 1) ( + 3) ≤ 0 แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ . 1. < −3 หรือ − 1 ≤ ≤ 4 2. − 3 < ≤ −1 หรือ ≥ 4 3. − 3 < ≤ 1 หรือ ≥ 4 4. < −1 หรือ 1 ≤ ≤ 4 10. ถา (5 − )(3 − ) (1 − ) ≥ 0 แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ . 1. < −1 หรือ 3 ≤ ≤ 5 2. − 1 < ≤ 3 หรือ ≥ 5 3. − 3 < ≤ −1 หรือ ≥ 5 4. < −3 หรือ − 1 ≤ ≤ 5 11. ถา ( − 3 ) ( + 6)(8 − ) ≥ 0 แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ . 1. − 6 < ≤ 0 หรือ 3 ≤ < 8 2. < −6 หรือ 0 ≤ ≤ 3 หรือ > 8 3. − 6 < ≤ −3 หรือ > 8 4. < −6 หรือ − 3 ≤ < 8 12. ถา ( − 1 ) ( − 5 ) (4 − ) ≥ 0 แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ … . 1. − 1 < ≤ 4 หรือ > 5 2. < −5 หรือ 0 ≤ < 4 3. − 4 < ≤ −1 หรือ ≥ 5 4. 1 ≤ < 4 หรือ = 5 13. ถา (√ + 5 ) (| | − 4 ) (| | + 2)(| | − 6 ) ≤ 0 แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ . . 1. − 6 ≤ ≤ 4 2. − 4 ≤ ≤ 4 หรือ ≠ ±6 3. − 4 ≤ < 6 4. − 6 < < 6
  • 39. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 39 14. ถา − 3 < 4 แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ . . 1. − 3 ≤ ≤ 4 2. 3 < ≤ 4 3. − 4 ≤ < 3 4. − 3 < < 3 15. กําหนดให เปนเซตคําตอบของอสมการ − 1 + 2 > 2 และ เปนคาขอบบนนอยสุดของ แลว + 1 มีคาเทากับขอใด. . 1. 2 2. 5 3. 10 4. 26 16. ถา − 1 + 2 ≥ − 3 + 1 แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ . . 1. < −5 หรือ − 2 ≤ < 1 2. − 5 ≤ < −2 หรือ > 1 3. − 2 < < 1 หรือ ≥ 5 4. − 5 < < 1 หรือ > 2 17. ถา − 1 + 2 ≥ − 3 + 1 แลว เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ … 1. < −1 หรือ − 2 ≤ < 1 2. − 2 ≤ < 1 หรือ > 2 3. − 1 < ≤ 1 หรือ > 2 4. − 2 < < 2 18. ขอใดเปนเซตคําตอบของ + 6 < 1 … 1. ( − 6, 3 ) 2. ( − 6, − 2 ) ∪ (1, 3 ) 3. ( − 6, − 2 ) ∪ ( 0, 3 ) 4. ( − , − 6 ) ∪ ( 3, ∞ ) 19. ถา เปนเซตคําตอบของอสมการ 3 + 5 + 2 < 0 และ เปนเซตคําตอบของอสมการ 2 + 1 − 3 ≥ 0 แลว ( ∪ ) คือขอใด … 1.  2. [ −1 , 5 ] 3. (− 1 2 ,3] 4. ( −∞,−1 ] ∪ [− 2 3 , − 1 2 ) ∪ [3,∞) 20. เซตคําตอบของอสมการ 4x ≥ −8x − 3 ตรงกับขอใด. 1. ( − ∞, − 3 2 ] ∪ [ − 1 2 , ∞ ) 2. − ∞, − 1 2 ∪ − 3 2 , ∞ 3. [ − 1 2 , 3 2 ] 4. [ − 3 2 , − 1 2 ]
  • 40. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 40 21. เซตคําตอบของอสมการ 3 + 2 − 6 2 − 5 + 6 ≥ 0 ตรงกับขอใดตอไปนี้. 1. [ − 3 , 0 ] ∪ ( 3 ,  ) 2. [ − 3 , 0 ] ∪ [ 3 ,  ) 3. ( − 3 , 0 ) ∪ 2 , 3 ) ∪ ( 3 ,  ) 4. [ − 3 , 0 ] ∪ ( 2 , 3 ) ∪ ( 3 ,  ) 22. เซตคําตอบของอสมการ − 1 ≥ 3 + คือขอใด.. 1) ( 0 , ∞ ) 2) ( − ∞ , 0 ) 3) ( −∞ , 0 ) ∪ ( 1 , ∞ ) 4) ( −∞ , 0 ) ∪ ( 3 , ∞ ) 23. ขอใดตอไปนี้เปนเท็จ… 1. ถา (2 − 5) < 9 แลวจะได 1 < < 4 2. ถา (7 − 2 ) ≤ 81 แลวจะได − 1 < < 8 3. ถา (2 − 3) > 25 แลวจะได < −4 หรือ > 4 4. ถา (1 − 2 ) ≥ 49 แลวจะได ≤ −3 หรือ ≥ 4 24. ถา 2 − 8 + 3 ≤ 0 แลว เปนสมาชิกในเซตใดตอไปนี้. 1. 4 − √10 2 , 4 + √10 2 2. 4 − √11 2 , 4 + √11 2 3. 8 − √10 2 , 8 + √10 2 4. 8 − √11 2 , 8 + √11 2 25. ถา (x + 1)(x + 2) ≤ 5 แลว เปนสมาชิกในเซตใดตอไปนี้. 1. 3 − √21 2 , 3 + √21 2 2. 3 − √23 2 , 3 + √23 2 3. 3 − √13 2 , 3 + √13 2 4. 3 − √11 2 , 3 + √11 2 26. ถา √2 + 3 < 7 แลว เปนจริงตามขอใด … 1. < 23 2. 0 ≤ < 23 3. − 3 2 ≤ < 23 4. – 2 < < 23 27. ถา √ < x − 1 แลว เปนจริงตามขอใด … 1. < 3 − √5 2 2. 3 − √5 2 < < 3 − √5 2 3. 0 ≤ < 3 − √5 2 4. > 3 − √5 2
  • 41. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 41 แบบทดสอบพื้นฐาน ชุดที่ 4 คาสัมบูรณ 1. ขอความใดเปนเท็จ . 1. ถา | |  1 แลว = ± 1 2. | | = เสมอ เมื่อ ∈ 3. ถา | + 2| = 5 แลว = 3 , − 7 4. – 2 ≤ 0 เสมอ เมื่อ ∈ 2. ถา − 5 < < 3 และ − 7 < < 2 แลวขอใดผิด.. 1. | | < 5 2. | − 3| < 10 3. − 12 < + < 5 4. − 21 < < 35 3. จงหา | | + 1 จากสมการ 3| | − 27 = 0 … 1. 8 2. 9 3. 10 4. 12 4. ขอใดเปนคําตอบของอสมการ | + 1| ≤ | − 2|. 1. (−∝, 1 2 ] 2. (−∝, 1 2 ) 3. (− 1 2 , ∝) 4. [− 1 2 , ∝) 5. จงหาคา จาก | | − |−10| |−3 + 8| = 1 … . 1. 5 ,−5 2. 5 , −9 3. 13 , − 13 4. 15 , − 15 6. ให เปนเซตคําตอบของอสมการ | − 4| − | − 3| = 1 จะเทากับเซตใด … 1. (3,4) 2. [3,4] 3. ( −∞ ,3 ] 4. [ 3 ,∞ ) 7. จํานวนจริง ที่มากที่สุดที่สอดคลองกับอสมการ 2 2 − 4 3 ≥ 2 2 เปนสมาชิกของเซตใด. . 1. [ −1 , 0.5 ) 2. [ 0.5 ,1 ) 3. [ 1 ,1.5 ) 4. [ 1.5 ,2) 8. ถา 4 ≤ ≤ 6 มีความหมายตรงกับขอใด. 1. |− − 5| ≤ 1 2. | − 5 | ≥ 1 3. |5 − | ≥ 1 4. |5 − | ≤ 1
  • 42. เอกสารประกอบการสอนคณิตศาสตร ชุด ระบบจํานวนจริง โดย อ.สุทธิ-อ.อารยา คุณวัฒนานนท หนาที่ 42 9. ถา | − 4| < 12 แลว | | เปนสมาชิกของชวงใด. 1. [ 0, 4 ] 2. [ 0, 4 ) 3. [ 0, 16 ) 4. ( 0, 16 ) 10. กําหนดให และ เปนสมาชิกของเซตคําตอบของ สมการ |2 − 1| = + 5 ขอความในขอใดถูกตอง …. 1) และ เปนจํานวนเต็ม 2) ถา เปนจํานวนลบ แลว เปนจํานวนลบ 3) ถา เปนจํานวนบวก แลว เปนจํานวนบวก 4) ถา < 0 แลว > 0 11. เซตคําตอบของสมการ |2 − − 3| = 3 + − 2 ตรงกับขอใดตอไปนี้. 1. − 1 , 3 2 2. 3 2 , 1 3. ( − 1 , 3 2 ) 4. 3 2 , 2 12. ขอใดตอไปนี้ อยูในเซตคําตอบของ |2 − | = 2 … 1. √5 2. − 3 3. − 2 4. 10 13. เซตคําตอบของอสมการ | − 3| | + 1| ≥ 3 ตรงกับขอใด.. 1. [ − 3 , 0 ] 2. [ − 3 , − 1 ) ∪ ( − 1 , 0 ] 3. ( − ∞ , − 3 ] ∪ ( − 1 , 0 ] 4. ( − ∞ , − 3 ] ∪ ( − 1 , 0 ) 14. เซตคําตอบของอสมการ | − 1| − 2 ∙ | − 1| + 2 < 32 ตรงกับขอใดตอไปนี้ . 1. { | − 5 < < 7} 2. { | − 7 < < 5} 3. { | 1 < < 7} 4. { | 0 ≤ < 7}