SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน โรคอ้วนและภาวะน้าหนักเกิน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาว สโรชา กลิ่นสิริ เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 5
2. นางสาว ญาสุมินทร์ อินโณวรรณ เลขที่ 22 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวสโรชา กลิ่นสิริ เลขที่ 9
2.นางสาวญาสุมินทร์ อินโณวรรณ เลขที่ 22
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคอ้วนและภาวะน้าหนักเกิน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Obesity and overveight
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสโรชา กลิ่นสิริ นางสาวญาสุมินทร์ อินโณวรรณ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันนี้มีผู้คนที่เป็นโรคอ้วนและภาวะน้าหนักเกินมีจานวนมากเกิน 50% และในอนาคตอาจมีเพิ่มมาก
ขึ้นอีก จัดเป็นปัญหาทางสาธารณสุข เพราะ ประชาชนทั่วโลก รวมทั้งคนไทย มีปัญหาน้าหนักเกินและเป็นโรค
อ้วนเพิ่มมากขึ้นทุกปีอย่างต่อเนื่อง ซึ่งทั้งน้าหนักตัวเกินและโรคอ้วนนี้ เป็นปัจจัยเสี่ยงและสาเหตุสาคัญของโรค
เรื้อรังต่างๆ ที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพ และเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงมากแต่อัตราเสียชีวิตก็ยังคงสูง
ต่อสาเหตุของน้าหนักตัวเกินและโรคอ้วน ที่พบบ่อย คือ กินอาหารเกินความต้องการของร่างกายทั้งประเภท
อาหารแป้ง ไขมันและอาหารต่า และปริมาณอาหาร ร่วมกับ ขาดการออกกาลังกายที่เหมาะสม และขาดการ
เคลื่อนไหวร่างกาย เนื่องจากมีสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งพฤติกรรมใช้ชีวิตที่ไม่เคลื่อนไหว เช่น ติด
ทีวี ติดเกมส์ หรือติดคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้น ที่พบเป็นสาเหตุได้บ้างส่วนน้อย คือ จากความผิดปกติทาง
พันธุกรรมที่ทาให้ร่างกายสะสมไขมันได้สูงโรคเกี่ยวกับฮอร์โมน การกินยาบางชนิดซึ่งอาจจะมีผลข้างเคียง
กระตุ้นให้อยากอาหาร เช่น ยากันชัก หรือ ยารักษาโรคจิตเวช การผ่อนคลายความเคลียดด้วยการกิน คนท้อง
ซึ่งกินมากในช่วงตั้งครรภ์ และเมื่อคลอดแล้วไม่สามารถลดน้าหนักได้ ในผู้สูงอายุเพราะเคลื่อนไหวได้ช้า และมี
โรคประจาตัวซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย และมีการศึกษาพบว่าเกิดจากการอดนอน
เสมอ (นอนวันละ 5 ชั่วโมงหรือน้อยกว่า) ทั้งนี้เพราะในขณะนอนหลับ ร่างกายจะสร้างฮอร์โมนเพื่อลดการ
อยากอาหารและฮอร์โมนเพื่อกระตุ้นการใช้พลังงานของร่างกาย จากเรื่องที่กล่าวมาผู้จัดทาจึงสนใจที่จะเลือก
ทาเรื่อง ฝดรคอ้วนและภาวะน้าหนักเกิน เพื่อให้เป็นความรู้และประโยชน์ต่อไป
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อเป็นความรู้ให้ไม่เสี่ยงต่อโรคอ้วน
2. เพื่อป้องกันและยัยยั้งการเกิดโรค
3. เพื่อศึกษาและป้องกันให้ทันถ่วงที
4. เพื่อให้ได้ความรู้และดูแลตัวเอง
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
สาเหตุ วิธีรักษาและป้องกันการเกิดโรคอ้วน
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
อันตรายจากโรคอ้วนน
http://www.tnews.co.th/contents/397228
โรคอ้วน หรือ ภาวะน้าหนักตัวเกิน ภาษาอังกฤษ เรียก Obesity เป็นโรคชนิดหนึ่ง ไม่ใช่โรคติดต่อ แต่
สามารถถ่ายทอดทางพนธุกรรมได้ เกิดจากไขมันสะสมในร่างกายมาก โดยปรกติแล้วในเพศชาย จะมีไขมัน
สะสมที่ไม่เกิน 23 % และในเพศหญิงจะมีไขมันสะสมไม่เกิน 30 % ซึ่งการคานวนว่าเรามีภาวะน้าหนักเกิน
หรือไม่สามารถทาได้โดย นาน้าหนักตัวเป็นกิโลกรัม หารด้วยส่วนสูง และ คูณ 2 จะได้ค่าดัชนีมวลกาย ซึ่ง ค่า
ปรกติจะอยู่ที่ 18.5 – 23 หากค่าเกินแสดงว่ามีภาวะน้าหนักเกิน ถ้าต่ากว่าค่าปรกติ แสดงว่าน้าหนักน้อยกว่า
ปรกติ
ประเภทของโรคอ้วน
สามารถแบ่งลักษณะของการอ้วนได้ 3 ลักษณะ อ้วนแบบลูกแอปเปิ้ล อ้วนแบบลูกแพร์ และอ้วนทั้งตัว
รายละเอียดของการอ้วนในลักษณะต่างๆ ดังนี้
1.อ้วนแบบลูกแอปเปิ้ล ภาษาอังกฤษ เรียก apple-shape obesity เป็นลักษณะอ้วนลงพุง ซึ่งขนาดของรอบเอ
วจะมีขนาดใหญ่กว่าขนาดของสะโพก เกิดจากการสะสมของไขมันที่ช่องท้องจานวนมาก
2.อ้วนแบบลูกแพร์ ภาษาอังกฤษ เรียก pear-shape obesity ลักษณะการอ้วนแบบนี้พบมากในเพศหญิง เป็น
ลักษณะอ้วนชนิดสะโพกใหญ่ เกิดจากการสะสมของไขมันที่สะโพกและน่องมาก
4
3.อ้วนทั้งตัว ภาษาอังกฤษ เรียก generalized obesity เป็นลักษณะของการที่ไขมันสะสมในทุกส่วนของ
ร่างกาย
สาเหตุของภาวะอ้วน
-พฤติกรรมการบริโภค คนบริโภคอาหารแล้วเปลี่ยนสารอาหารที่ได้รับออกมาในรูปของพลังงาน หน่วยของ
พลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารเรียกว่าแคลอรี่ ร่างกายคนทั่วไปมีความต้องการแคลอรี่ต่อวัน คือ เพศ
ชายประมาณ 2,500 แคลอรี่ และเพศหญิงประมาณ 2,000 แคลอรี่
ภาวะอ้วนมักเกิดจากการรับประทานอาหารที่มีแคลอรี่สูง มีไขมันและน้าตาลสูงในปริมาณที่มากเกินกว่าความ
ต้องการของร่างกาย เช่น อาหารจานด่วน บุฟเฟ่ต์ ของหวาน หรือขนมหวานหลังอาหารจานหลัก การดื่ม
เครื่องดื่มแคลอรี่สูง อย่างน้าหวาน น้าอัดลม และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ รวมถึงไม่รับประทานอาหารที่มี
ประโยชน์ อย่างผัก ผลไม้ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ระบบย่อยอาหาร
-พฤติกรรมการใช้ชีวิต มีกิจวัตรประจาวัน ลักษณะนิสัย หรือข้อจากัดทางสุขภาพ เช่น อาการป่วยต่าง ๆ ทาให้
ไม่ค่อยได้เคลื่อนไหวร่างกาย รวมถึงการขาดการออกกาลังกายอย่างเหมาะสม ทาให้มีการเผาผลาญแคลอรี่
และไขมันน้อย จนเกิดเป็นไขมันสะสมอยู่ในร่างกายปริมาณมาก
การพักผ่อนไม่เพียงพอ จะกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน ทาให้เกิดความอยากอาหารมากขึ้น จึงต้อง
บริโภคอาหารที่ให้แคลอรี่สูงเพิ่มขึ้น
การเลิกสูบบุหรี่ อาจมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทดแทนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ จึงอาจ
ส่งผลต่อน้าหนักตัวที่เพิ่มขึ้นและนาไปสู่ภาวะอ้วนได้ อย่างไรก็ตาม การเลิกสูบบุหรี่ย่อมส่งผลดีต่อสุขภาพ
โดยรวม ผู้ที่มีภาวะอ้วนจากการเลิกสูบบุหรี่จึงควรรักษาภาวะอ้วน และไม่กลับไปสูบบุหรี่อีก
-กรรมพันธุ์ ร่างกายของแต่ละคนมีประสิทธิภาพในการเผาผลาญกาจัดไขมันแล้วเปลี่ยนเป็นพลังงานแตกต่าง
กัน พันธุกรรมจึงอาจมีผลต่อปริมาณไขมันที่สะสมในร่างกาย และแหล่งที่ไขมันถูกส่งไปเผาผลาญเป็นพลังงาน
ภายในร่างกาย
หนึ่งในโรคทางกรรมพันธุ์ที่ทาให้ผู้ป่วยมีภาวะอ้วน คือ พราเดอร์-วิลลี่ ซินโดรม (Prader-Willi Syndrome) ซึ่ง
ผู้ป่วยจะมีอาการกินจุ กินไม่หยุด และมีพัฒนาการช้า
-อายุ ภาวะอ้วนสามารถเกิดได้กับทุกวัย แต่เมื่อเติบโตขึ้นและเข้าสู่วัยต่าง ๆ ฮอร์โมนในร่างกายจะมีการ
เปลี่ยนแปลง ส่งผลให้มีกิจกรรมที่ทาให้เกิดการเผาผลาญไขมันลดน้อยลง หากมีการบริโภคอาหารแคลอรี่สูง
แล้วขาดการกาจัดไขมันส่วนเกินออกไปอย่างเหมาะสมกับร่างกายตามวัย ก็จะนาไปสู่ภาวะอ้วนได้ในที่สุด
-ปัจจัยทางการแพทย์ การเจ็บป่วย บางอาการหรือบางโรคก็อาจส่งผลต่อการเกิดภาวะอ้วนได้ เช่น ภาวะต่อม
ไทรอยด์ทางานต่ากว่าปกติทาให้ร่างกายมีการเผาผลาญพลังงานน้อยลง หรือโรคคุชชิ่งซินโดรม (Cushing’s
Syndrome) ซึ่งร่างกายจะมีระดับฮอร์โมนคอร์ติโซลสูงเป็นเหตุให้เกิดการสะสมไขมันตามส่วนต่าง ๆ อย่าง
ใบหน้า ช่วงท้อง และหน้าอก
การรักษาด้วยยาบางชนิดก็สามารถส่งผลกระทบต่อกระบวนการเผาผลาญและการสะสมไขมันจนเกิดภาวะอ้วน
เช่น ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ (Corticosteroid) กลุ่มยาต้านเศร้า ยาที่ใช้รักษาโรคเบาหวาน โรคลมชัก และโรค
จิตเภท
-ปัจจัยภายนอกอื่น ๆ
สภาพแวดล้อม หากเด็กเติบโตมาในครอบครัวที่มีผู้ปกครองหรือบุคคลใกล้ชิดมีภาวะอ้วน เด็กจะมีแนวโน้ม
ของพฤติกรรมการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มเช่นเดียวกัน
5
สถานภาพเศรษฐกิจ บางคนอาจมีสถานะทางการเงินและสภาพสังคมที่อยู่อาศัยที่ไม่เอื้ออานวยต่อการบริโภค
อาหารที่ดีและมีประโยชน์ จึงมีความจาเป็นต้องใช้ชีวิตและบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะอ้วน อย่าง
อาหารจานด่วน หรืออาหารขยะที่มีราคาถูกแต่มีไขมันสูง
ผลเสียของโรคอ้วน ต่อ สุขภาพจิต
ไม่มั่นใจในตัวเอง ไม่มั่นใจในรูปร่าง เพราะ คนอ้วน มักที่จะมีบุคลิคภาพที่ไม่สง่า สวมเสื้อผ้าแล้วไม่สวย ไม่
หล่อ ไม่สมาร์ท
การเข้าสังคม
การทางาน อาชีพบางอาชีพ ที่เน้น เรื่อง รูปร่าง บุคลิคภาพที่ดี เช่น แอร์โฮสเตส , พนักงานต้อนรับ
บางคนมี ภาวะ ซึมเศร้าได้ง่ายกว่า คนที่มีรูปร่างปกติ
การถูกเพื่อนล้อ ในเรื่องรูปร่าง เช่น หุ่นรถถัง การดูเป็นตัวตลก
ผลเสียของโรคอ้วน ที่มีต่อสุขภาพกาย
จากการศึกษาพบว่า คนอ้วน จะมี อัตราการเจ็บป่วยและอัตราตายสูงกว่าคนที่มีน้าหนักตัวอยู่ในเกณฑ์ปรกติ
ซึ่งโรคแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยๆในคนที่มีรูปร่างอ้วน ก็คือ
1.โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคอ้วนเป็นปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อ ระบบหัวใจและหลอดเลือดอย่างเห็นได้ชัด เช่น
ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน โรคหัวใจวาย หัวใจขาดเลือด ฯลฯ
2.โรคข้อเสื่อม ปวดเข่า ปวดหลัง ผู้ที่มีปัญหาโรคอ้วน จะมีน้าหนักกดทับที่มากขึ้น ทาให้ข้อต่อที่รับน้าหนัก
เสื่อมเร็วกว่าปกติ
3.โรคเบาหวาน โรคอ้วน มีผลการศึกษาวิจัยพบว่าเกี่ยวข้องกับอัตราการเกิดโรคเบาหวานอย่างมีนัยสาคัญ
โดยที่หากคุณ อ้วนลงพุง คุณจะมีความเสี่ยง ในการเป็นโรคเบาหวานกว่าคนอื่น
4.โรคเกี่ยวกับระบบหายใจ คนที่อ้วนจะมีความลาบากในการหายใจเข้าออก เนื่องจากไขมันที่มากขึ้นบริเวณ
รอบทรวงอกจะทาให้การขยายตัวของทรวงอกลาบาก นอกจากนี้ไขมันที่ท้องก็จะทาให้กระบังลมไม่สามารถ
หย่อนตัว ลงมาได้้ ผลตามมาคือ เกิดภาวะขาดออกซิเจน ผู้ป่วยจะเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
ท่านอน มีอาการหายใจลาบากบางครั้งเป็นมากจะหยุดหายใจเป็นพัก ๆ เวลานอนหลับ ผู้ป่วยที่มีภาวะดังกล่าว
จะมีอาการปวดศีรษะในตอนเช้า ส่วนในเวลากลางวันจะมีอาการง่วงนอน หายใจช้า เบื่อ เหนื่อยง่าย ไม่อยาก
ทาอะไร ส่งผลให้เกิดความขี้เกียจ
5.โรคมะเร็งบางชนิด มีการศึกษาพบว่าโรคอ้วนมีความสัมพันธ์กับความชุกของโรคมะเร็งบางชนิด
6.โรคความดันโลหิตในเลือดสูง ผู้ที่มีปัญหาโรคอ้วนจะมีความดันโลหิตสูงกว่าคนปกติประมาณ 2.9 เท่า ถ้า
น้าหนักตัวลดลง ลดน้าหนัก ระดับความดันโลหิตก็จะลดลงด้วย
ระดับไขมันในเลือด คนที่มีปัญหาโรคอ้วนมักจะมีไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง ไขมันชนิดดีต่า
นิ่วในถุงน้าดี คนอ้วนมีโอกาสที่จะเป็น นิ่วในถุงน้าดีอย่างเห็นได้ชัด
7.ปัญหา เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ คนที่มีปัญหา อ้วนลงพุง ซึ่งอาจเสี่ยงต่อปัญหาการแข็งตัวของอวัยวะเพศ
ชายจนนาไปสู่ความเซ็งในการมีเซ็กซ์กับคู่ครองได้
8.ปัญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ โรคอ้วน หรือน้าหนักเกิน เช่น เส้นเลือดขอด อาการท้องผูก ริดสีดวรทวาร โรค
เชื้อราที่ผิวหนัง ปัญหากลิ่นตัวแรง อึดอัด ไม่สบายเนื้อ ไม่สบายตัว ขยับทาอะไรนิดอะไรหน่อยก็เหนื่อยง่าย
ไม่สดชื่น ไม่มีชีวิตชีวา การคลอดบุตรยาก แผลผ่าตัดอาจจะหายช้ากว่าปกติ เป็นต้น
6
การรักษาโรคอ้วนโดยการควบคุมอาหารและการออกกาลังกาย
จากข้อมูลที่นาเสนอแล้ว ชี้ใหัเห็นว่าพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการเกิดโรคอ้วน ปัจจัยสาคัญทาง
สิ่งแวดล้อมที่สาคัญคือพลังงาน ทั้งหมดที่บริโภคและการออกกาลังกาย ซึ่งสามารถปรับให้เหมาะสมเพื่อการลด
น้าหนักตัวลงได้
การรักษาเพื่อให้น้าหนักตัวลดลงนั้นด้องทาให้เกิดดุลลบของพลังงานคือ ปริมาณอาหารที่บริโภคเข้าไป
เพื่อให้พลังงานนั้นต้องน้อยกว่าพลังงานที่ใช้ ร่างกายจึงสามารถดึงเอาไขมันที่สะสมไว้มาเผาผลาญเป็น
พลังงาน ดังนั้นหลักในการบาบัดโรคอ้วนคือ การควบคุมอาหารและการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
การควบคุมอาหาร
การควบคุมอาหารเพื่อการลดน้าหนักในโรคอ้วนมีหลักการสาคัญดังนี้
ลดปริมาณพลังงานที่บริโภค คนที่กินอาหารมากต้องกินให้น้อยลง ซึ่งต้องปฏิบัติให้ได้ น้าหนักที่เกินอยู่จึงจะ
ลดลง คนปรกติน้าหนักตัวจะเพิ่มขึ้น ๑ กก. ถ้าได้รับพลังงานเพิ่มขึ้น ๒๒ กิโลแคลอรี/กก. น้าหนักตัว ผู้ที่มี
น้าหนักตัวเกิน ๑๐ กก. ต้องการพลังงานเพิ่มขึ้นวันละ ๒๒๐ กิโลแคลอรี ดังนั้นคนอ้วนที่มีน้าหนักตัวเกิน ๑๐
กก. ก็ต้องลดปริมาณอาหารที่บริโภคลงวันละ ๒๒๐ กิโลแคลอรี
ควรประเมินปริมาณพลังงานที่ผู้ป่วยบริโภคอยู่ก่อนมารับการลดน้าหนัก ในรายที่ให้บริโภคอาหารน้อยลง
กว่าเดิมวันละ ๕๐๐ กิโลแคลอรี น้าหนักตัว จะลดลงได้ประมาณ ๐.๔๕ กก./สัปดาห์ ถ้าปฏิบัติได้จริงในช่วง ๑๐
เดือนจะลดได้ประมาณ ๑๘ กก. ดังนั้นจึงต้องอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าการลดน้าหนักต้องใช้เวลา ไม่แนะนาให้
ลดน้าหนักโดยวิธีอดอาหาร เพราะจะมีผลเสียมากกว่าผลดี น้าหนักลดได้จริงเมื่อใช้วิธีนี้รักษาผู้ป่วยใน
โรงพยาบาล แต่พอผู้ป่วยกลับบ้านจะอ้วนกลับมาใหม่ ถ้าหากจาเป็นต้องกาหนดให้ผู้ป่วยบริโภคอาหารที่ให้
พลังงานน้อยกว่า ๑,๐๐๐ กิโลแคลอริ/วัน. ต้องระวังว่าผู้ป่วยอาจเกิดการขาดวิตามินและเกลือแร่ได้ เพื่อความ
ปลอดภัยในช่วงลดน้าหนัก จึงควรให้ผู้ป่วยกินวิตามินและเกลือแร่ในรูปเม็ดยาที่ให้ปริมาณตามความต้องการ
ของร่างกาย
จัดสัดส่วนของพลังงานอาหารที่บริโภคให้เหมาะสม เมื่อกินอาหารให้น้อยลง จะต้องระมัดระวังว่าอาหารนั้นมี
คุณค่าทางโภชนาการ และยังมีความเอร็ดอร่อยที่ผู้ป่วยกินอาหารนั้นได้ การจัดสัดส่วนของพลังงานอาหารที่
บริโภคให้เหมาะสม มีส่วนสาคัญทาให้อาหารมีคุณค่าทางโภชนาการ
โปรเทอิน ควรไต้ร้อยละ ๒๐ ของพลังงานที่ได้รับ โปรเทอินกินต้องมีคุณภาพ เช่น ไข่, เนื้อสัตว์, ถั่วเหลือง, นม
ในทางปฏิบัติเน้นให้ผู้ป่วยกินเนื้อไก่ เนื้อปลา ที่ไม่มีไขมันให้มากขึ้น เพื่อให้ได้โปรเทอินเพียงพอ เพราะ
น้าหนักตัวที่เพิ่มขึ้นนั้น ร้อยละ ๗๕ เป็นไขมัน ส่วนอีกร้อยละ ๒๕ เป็นโปรเทอิน เมื่อลดน้าหนักตัวจะสูญเสีย
โปรเทอินด้วย
ไขมัน ควรจากัดการบริโภคไขมันไม่ให้เกิน ร้อยละ ๓๐ ของพลังงานที่ได้รับ ทั้งนี้เพราะไขมัน เป็นสารให้
พลังงานสูงสุดถึง ๙ กิโลแคลอริ/กรัม นอกจากนี้ร่างกายยังมีขีดจากัดในการเผาไขมันเป็นพลังงาน ควรใช้
น้ามันถั่วเหลืองในการปรุงอาหาร เพราะจะทาให้ได้รับกรดไขมันจาเป็นครบถ้วน คือ ทั้งกรดไลโนเลอิค และ
กรดแอลฟาไลโนเลอิค นอกจากนี้การบริโภคกรดไลโนเลอิค ในปริมาณ ร้อยละ ๗-๑๐ ของพลังงานที่ได้รับยังมี
ผลลดระดับ โฆเลสเตอรอล ส่วนไลโปโปรเทอินที่มีความหนาแน่นต่า
คาร์โบฮัยเดรต ข้าว, แป้งและน้าตาลล้วนเป็นแหล่งคาร์โบฮัยเดรต ให้พลังงาน ควรงดบริโภคน้าอัดลมและ
น้าหวาน ควรใช้น้าตาลทราย ในการปรุงอาหารและเครื่องดื่มให้น้อยที่สุด เพราะอาหารเหล่านี้ให้แต่พลังงาน
7
ถ้ายังติดในรสหวานก็ให้ใช้ แอสปาร์เทม ซึ่งเป็นสารรสหวานแต่ไม่ให้พลังงานแทนน้าตาล สาหรับข้าวให้กินได้
แต่ถ้ากินมากต้องลดปริมาณลง
กินผักและผลไม้ ทุกมื้ออาหารควรมีผัก และผลไม้เพราะอาหารสองประเภทนี้นอกจากให้วิตามินและเกลือแร่
ยังให้ใยอาหารด้วย ซึ่งทาให้ท้องไม่ผูก และมีความรู้สึกอิ่มไม่หิวบ่อย สาหรับผลไม้ไม่ควรกินพวกที่มีรสหวาน
จัดเช่น องุ่น ละมุด ทุเรียน ถ้ากินให้กินเป็นครั้งคราวเท่านั้น
การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
การลดน้าหนักจะได้ผลดีต่อเมื่อผู้นั้นออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอทุกวัน ถ้าคนที่ไม่เคยออกกาลังกายมาก่อน
ต้องค่อยทาค่อยไป นับตั้งแต่เดินก็เป็นวิธีออกกาลังกายอย่างหนึ่ง การออกกาลังกายในแต่ละช่วงควรใช้เวลา
ประมาณ ๑๕-๔๕ นาที โดยทาต่อเนื่องกันไปจนกระทั่งรู้สึกว่าเหนื่อยจึงพัก ในวันหนึ่งๆ ถ้ามีเวลาออกกาลัง
กายประมาณวันละ ๑ ชั่วโมงจะดีมาก
การที่ผู้ป่วยจะลดน้าหนักได้มากเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับความตั้งใจของผู้ป่วยและต้องติดตามนานพออย่างน้อย ๕
ปี จึงจะบอกได้ว่าผู้ป่วยประสบความสาเร็จในการลดน้าหนักหรือไม่
การป้องกันโรคอ้วน
ถึงเวลาแล้วที่ทุกคนควรสนใจน้าหนักตนเอง ควรรู้ว่าดัชนีความหนาของร่างกายสามารถใช้ประเมินโรคอ้วน
ทั้งตัวได้ ส่วนอัตราส่วนเส้นรอบเอวต่อเส้นรอบตะโพกสามารถใช้ประเมินโรคอ้วนลงพุงได้ นามาตรการทั้งสอง
นี้เฝ้าระวังตนเองไม่ให้เกิดโรคอ้วน หรือถ้าเกิดแล้วต้องรีบปรับตัวโดยบริโภคอาหารให้น้อยลง โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งลดการบริโภคไขมันร่วมกับการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
แพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยต้องให้ความสนใจน้าหนักตัวของผู้ป่วย กระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้ป่วยตระหนักถึงความสาคัญ
ของโภชนาการและการออกกาลังกายต่อสุขภาพ และมีความสานึกรับผิดชอบต่อการบริโภคอาหารอย่างถูก
หลักโภชนาการร่วมกับการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ เพื่อการป้องกันโรคอ้วน
โรคอ้วนเป็นปัญหาทางสาธารณสุขของประชาชนในประเทศที่พัฒนาแล้วกาลังประสบอยู่ ชาวไทยในเขตเมืองก็
ประสบปัญหาโรคอ้วนเช่นเดียวกัน ดังนั้นการร่วมกันรณรงค์ป้องกันโรคอ้วน เสียแต่บัดนี้ย่อมมีส่วนสาคัญต่อ
การลดปัญหาสาธารณสุขเนื่องจากโรคอ้วนทั้งในปัจจุบันและอนาคต
การผ่าตัดลดความอ้วน (Bariatric Surgery) แพทย์จะมีดุลยพินิจให้ผู้ป่วยภาวะอ้วนอย่างรุนแรงบางรายเข้า
รับการผ่าตัด อย่างผู้ที่มีค่า BMI สูง ตั้งแต่ 40 ขึ้นไป หรือผู้ป่วยที่มีค่า BMI 35-40 ที่มีปัญหาสุขภาพร้ายแรง
จาเป็นต้องรักษาด้วยการลดน้าหนักทันที เช่น ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานประเภทที่ 2 ผู้ที่รักษา
ภาวะอ้วนด้วยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผล โดยการผ่าตัดลดความอ้วนมีหลายวิธี ได้แก่
1.การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Roux-en-Y Gastric Bypass เป็นวิธีการผ่าตัดสร้างถุงที่กระเพาะ
อาหารส่วนบน และตัดลาไส้เล็กที่อยู่ด้านล่างของกระเพาะอาหารนามาเชื่อมต่อกับถุงที่สร้างไว้ ทาให้อาหารที่
รับประทานจะถูกส่งไปยังลาไส้โดยตรง วิธีการนี้จะทาให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อยลงและรู้สึกอิ่มเร็วขึ้น
2.การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Laparoscopic Adjustable Gastric Banding (LAGB) แพทย์จะ
ผ่าตัดนาห่วงที่ยืดหยุ่นได้ไปรัดกระเพาะแบ่งเป็น 2 ส่วน พื้นที่ว่างในกระเพาะอาหารจึงลดลง ทาให้ผู้ป่วย
รับประทานอาหารน้อยลงเพราะอิ่มเร็วขึ้น ห่วงนี้จะคงอยู่ได้อย่างถาวร โดยที่สามารถปรับขนาดและยืดขยายได้
ในภายหลัง
8
3.การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Gastric Sleeve เป็นการผ่าตัดเอาบางส่วนของกระเพาะอาหาร
ออกไป ให้เหลือเพียงกระเพาะอาหารที่เล็กลง เป็นวิธีการผ่าตัดที่มีความซับซ้อนน้อยกว่า 2 วิธีแรก และผู้ป่วย
จะรับประทานอาหารได้น้อยลง เพราะมีกระเพาะอาหารที่เล็กลง
การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Biliopancreatic Diversion with Duodenal Switch แพทย์จะทาการ
ผ่าตัดผนังกระเพาะอาหารส่วนใหญ่ออก ให้มีเพียงกระเพาะอาหารบางส่วนที่ยังทาหน้าที่เหมือนเดิม โดย
กระเพาะอาหารส่วนนี้จะถูกนาไปต่อกับลาไส้เล็กส่วนบน ในขณะที่กระเพาะอาหารส่วนที่ถูกผ่าแยกออกไปจะ
ถูกนาไปเชื่อมกับลาไส้เล็กส่วนล่าง เพื่อให้ยังคงมีกระบวนการย่อยอาหารที่ลาไส้ส่วนนี้
แนวทางการดาเนินงาน
1.กาหนดหัวข้อการทาโครงงาน
2.กาหนดวัตถุประสงค์ในการทาโครงงาน
3.สืบค้นหาข้อมูล
4.รวบรวมข้อมูล
5.ตรวจสอบความถูกต้อง
6.นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์
งบประมาณ
-
9
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอ
บ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุของหารเกิดโรคอ้วนและภาวะน้าหนักเกิน
2. เพื่อให้ทราบถึงวิธีการป้องกันไม่ให้เกิดโรค
3. เพื่อให้ทราบถึงวิธีการดูแลตนเองไม่ให้เกิดโรค
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
-โรคอ้วนและภาวะน้าหนักเกิน ข้อมูลจาก https://beezab.com สืบค้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2561
-สาเหตุการเกิดโรคอ้วน ข้อมูลจาก https://www.pobpad.com/ สืบค้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2561
-ผลเสียของการเกิดโรคอ้วน ข้อมูลจาก https://infologija.com สืบค้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2561
-วิธีการรักษา ข้อมูลจาก https://www.honestdocs.co/what-is-obesity/treatment-of-obesity
สืบค้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2561

More Related Content

What's hot

2562 final-project-15
2562 final-project-152562 final-project-15
2562 final-project-15KUMBELL
 
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-304 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3Nadeewittaya School
 
2562 final-project -31-nutchaya
2562 final-project -31-nutchaya2562 final-project -31-nutchaya
2562 final-project -31-nutchayaNatchaya49391
 
โครงร่างโครงงานคอมคู่
โครงร่างโครงงานคอมคู่โครงร่างโครงงานคอมคู่
โครงร่างโครงงานคอมคู่arisa promlar
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556 ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556 Duangnapa Inyayot
 
แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptอ๋อ จ้า
 
Saint luis management
Saint luis managementSaint luis management
Saint luis managementPattie Pattie
 
ประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
ประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยาประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
ประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยาDuangnapa Inyayot
 
ใบงานสำรวจตนเอง6/15_15
ใบงานสำรวจตนเอง6/15_15ใบงานสำรวจตนเอง6/15_15
ใบงานสำรวจตนเอง6/15_15Suvapon Kieawim
 
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพCheeses 'Zee
 
เค้าโครงร่างงานคู่
เค้าโครงร่างงานคู่เค้าโครงร่างงานคู่
เค้าโครงร่างงานคู่Jah Jadeite
 
ประเมินตรวจสอบภายใน สบป้าดวิทยา 30กค2556
ประเมินตรวจสอบภายใน สบป้าดวิทยา 30กค2556ประเมินตรวจสอบภายใน สบป้าดวิทยา 30กค2556
ประเมินตรวจสอบภายใน สบป้าดวิทยา 30กค2556Duangnapa Inyayot
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่punchza
 
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลJimmy Pongpisut Santumpol
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ธัญญลักษณ์ นาคคำ
 

What's hot (20)

2562 final-project-15
2562 final-project-152562 final-project-15
2562 final-project-15
 
โคร
โครโคร
โคร
 
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-304 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
 
2562 final-project -31-nutchaya
2562 final-project -31-nutchaya2562 final-project -31-nutchaya
2562 final-project -31-nutchaya
 
โครงร่างโครงงานคอมคู่
โครงร่างโครงงานคอมคู่โครงร่างโครงงานคอมคู่
โครงร่างโครงงานคอมคู่
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
work
workwork
work
 
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556 ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
ประเมินโรงเรียนดี ศรีตำบล 3กค2556
 
แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Ppt
 
Saint luis management
Saint luis managementSaint luis management
Saint luis management
 
ประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
ประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยาประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
ประเมินภายใน2557 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
 
ใบงานสำรวจตนเอง6/15_15
ใบงานสำรวจตนเอง6/15_15ใบงานสำรวจตนเอง6/15_15
ใบงานสำรวจตนเอง6/15_15
 
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
เค้าโครงร่างงานคู่
เค้าโครงร่างงานคู่เค้าโครงร่างงานคู่
เค้าโครงร่างงานคู่
 
ประเมินตรวจสอบภายใน สบป้าดวิทยา 30กค2556
ประเมินตรวจสอบภายใน สบป้าดวิทยา 30กค2556ประเมินตรวจสอบภายใน สบป้าดวิทยา 30กค2556
ประเมินตรวจสอบภายใน สบป้าดวิทยา 30กค2556
 
Projectcom 2560
Projectcom 2560Projectcom 2560
Projectcom 2560
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่
 
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 
กล้วย
กล้วยกล้วย
กล้วย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to 2560 project 9,22

โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาBream Mie
 
โครงงานคอมคิว
โครงงานคอมคิวโครงงานคอมคิว
โครงงานคอมคิวPhimwaree
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 
2562 final-project computer
2562 final-project computer2562 final-project computer
2562 final-project computertataaaz
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
How to weight loss & control eating
How to weight loss  & control eatingHow to weight loss  & control eating
How to weight loss & control eatingonginzone
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่างAom Nachanok
 
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)Nuties Electron
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpaLomipNekcihc
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์jungkookjin
 

Similar to 2560 project 9,22 (20)

โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
Obesity
ObesityObesity
Obesity
 
โครงงานคอมคิว
โครงงานคอมคิวโครงงานคอมคิว
โครงงานคอมคิว
 
2561 project 22..
2561 project  22..2561 project  22..
2561 project 22..
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
2562 final-project computer
2562 final-project computer2562 final-project computer
2562 final-project computer
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
How to weight loss & control eating
How to weight loss  & control eatingHow to weight loss  & control eating
How to weight loss & control eating
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่าง
 
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Final Project computer_4
Final Project computer_4Final Project computer_4
Final Project computer_4
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

2560 project 9,22

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรคอ้วนและภาวะน้าหนักเกิน ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว สโรชา กลิ่นสิริ เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 5 2. นางสาว ญาสุมินทร์ อินโณวรรณ เลขที่ 22 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวสโรชา กลิ่นสิริ เลขที่ 9 2.นางสาวญาสุมินทร์ อินโณวรรณ เลขที่ 22 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคอ้วนและภาวะน้าหนักเกิน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Obesity and overveight ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสโรชา กลิ่นสิริ นางสาวญาสุมินทร์ อินโณวรรณ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันนี้มีผู้คนที่เป็นโรคอ้วนและภาวะน้าหนักเกินมีจานวนมากเกิน 50% และในอนาคตอาจมีเพิ่มมาก ขึ้นอีก จัดเป็นปัญหาทางสาธารณสุข เพราะ ประชาชนทั่วโลก รวมทั้งคนไทย มีปัญหาน้าหนักเกินและเป็นโรค อ้วนเพิ่มมากขึ้นทุกปีอย่างต่อเนื่อง ซึ่งทั้งน้าหนักตัวเกินและโรคอ้วนนี้ เป็นปัจจัยเสี่ยงและสาเหตุสาคัญของโรค เรื้อรังต่างๆ ที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพ และเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงมากแต่อัตราเสียชีวิตก็ยังคงสูง ต่อสาเหตุของน้าหนักตัวเกินและโรคอ้วน ที่พบบ่อย คือ กินอาหารเกินความต้องการของร่างกายทั้งประเภท อาหารแป้ง ไขมันและอาหารต่า และปริมาณอาหาร ร่วมกับ ขาดการออกกาลังกายที่เหมาะสม และขาดการ เคลื่อนไหวร่างกาย เนื่องจากมีสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งพฤติกรรมใช้ชีวิตที่ไม่เคลื่อนไหว เช่น ติด ทีวี ติดเกมส์ หรือติดคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้น ที่พบเป็นสาเหตุได้บ้างส่วนน้อย คือ จากความผิดปกติทาง พันธุกรรมที่ทาให้ร่างกายสะสมไขมันได้สูงโรคเกี่ยวกับฮอร์โมน การกินยาบางชนิดซึ่งอาจจะมีผลข้างเคียง กระตุ้นให้อยากอาหาร เช่น ยากันชัก หรือ ยารักษาโรคจิตเวช การผ่อนคลายความเคลียดด้วยการกิน คนท้อง ซึ่งกินมากในช่วงตั้งครรภ์ และเมื่อคลอดแล้วไม่สามารถลดน้าหนักได้ ในผู้สูงอายุเพราะเคลื่อนไหวได้ช้า และมี โรคประจาตัวซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย และมีการศึกษาพบว่าเกิดจากการอดนอน เสมอ (นอนวันละ 5 ชั่วโมงหรือน้อยกว่า) ทั้งนี้เพราะในขณะนอนหลับ ร่างกายจะสร้างฮอร์โมนเพื่อลดการ อยากอาหารและฮอร์โมนเพื่อกระตุ้นการใช้พลังงานของร่างกาย จากเรื่องที่กล่าวมาผู้จัดทาจึงสนใจที่จะเลือก ทาเรื่อง ฝดรคอ้วนและภาวะน้าหนักเกิน เพื่อให้เป็นความรู้และประโยชน์ต่อไป
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อเป็นความรู้ให้ไม่เสี่ยงต่อโรคอ้วน 2. เพื่อป้องกันและยัยยั้งการเกิดโรค 3. เพื่อศึกษาและป้องกันให้ทันถ่วงที 4. เพื่อให้ได้ความรู้และดูแลตัวเอง ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) สาเหตุ วิธีรักษาและป้องกันการเกิดโรคอ้วน หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) อันตรายจากโรคอ้วนน http://www.tnews.co.th/contents/397228 โรคอ้วน หรือ ภาวะน้าหนักตัวเกิน ภาษาอังกฤษ เรียก Obesity เป็นโรคชนิดหนึ่ง ไม่ใช่โรคติดต่อ แต่ สามารถถ่ายทอดทางพนธุกรรมได้ เกิดจากไขมันสะสมในร่างกายมาก โดยปรกติแล้วในเพศชาย จะมีไขมัน สะสมที่ไม่เกิน 23 % และในเพศหญิงจะมีไขมันสะสมไม่เกิน 30 % ซึ่งการคานวนว่าเรามีภาวะน้าหนักเกิน หรือไม่สามารถทาได้โดย นาน้าหนักตัวเป็นกิโลกรัม หารด้วยส่วนสูง และ คูณ 2 จะได้ค่าดัชนีมวลกาย ซึ่ง ค่า ปรกติจะอยู่ที่ 18.5 – 23 หากค่าเกินแสดงว่ามีภาวะน้าหนักเกิน ถ้าต่ากว่าค่าปรกติ แสดงว่าน้าหนักน้อยกว่า ปรกติ ประเภทของโรคอ้วน สามารถแบ่งลักษณะของการอ้วนได้ 3 ลักษณะ อ้วนแบบลูกแอปเปิ้ล อ้วนแบบลูกแพร์ และอ้วนทั้งตัว รายละเอียดของการอ้วนในลักษณะต่างๆ ดังนี้ 1.อ้วนแบบลูกแอปเปิ้ล ภาษาอังกฤษ เรียก apple-shape obesity เป็นลักษณะอ้วนลงพุง ซึ่งขนาดของรอบเอ วจะมีขนาดใหญ่กว่าขนาดของสะโพก เกิดจากการสะสมของไขมันที่ช่องท้องจานวนมาก 2.อ้วนแบบลูกแพร์ ภาษาอังกฤษ เรียก pear-shape obesity ลักษณะการอ้วนแบบนี้พบมากในเพศหญิง เป็น ลักษณะอ้วนชนิดสะโพกใหญ่ เกิดจากการสะสมของไขมันที่สะโพกและน่องมาก
  • 4. 4 3.อ้วนทั้งตัว ภาษาอังกฤษ เรียก generalized obesity เป็นลักษณะของการที่ไขมันสะสมในทุกส่วนของ ร่างกาย สาเหตุของภาวะอ้วน -พฤติกรรมการบริโภค คนบริโภคอาหารแล้วเปลี่ยนสารอาหารที่ได้รับออกมาในรูปของพลังงาน หน่วยของ พลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารเรียกว่าแคลอรี่ ร่างกายคนทั่วไปมีความต้องการแคลอรี่ต่อวัน คือ เพศ ชายประมาณ 2,500 แคลอรี่ และเพศหญิงประมาณ 2,000 แคลอรี่ ภาวะอ้วนมักเกิดจากการรับประทานอาหารที่มีแคลอรี่สูง มีไขมันและน้าตาลสูงในปริมาณที่มากเกินกว่าความ ต้องการของร่างกาย เช่น อาหารจานด่วน บุฟเฟ่ต์ ของหวาน หรือขนมหวานหลังอาหารจานหลัก การดื่ม เครื่องดื่มแคลอรี่สูง อย่างน้าหวาน น้าอัดลม และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ รวมถึงไม่รับประทานอาหารที่มี ประโยชน์ อย่างผัก ผลไม้ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ระบบย่อยอาหาร -พฤติกรรมการใช้ชีวิต มีกิจวัตรประจาวัน ลักษณะนิสัย หรือข้อจากัดทางสุขภาพ เช่น อาการป่วยต่าง ๆ ทาให้ ไม่ค่อยได้เคลื่อนไหวร่างกาย รวมถึงการขาดการออกกาลังกายอย่างเหมาะสม ทาให้มีการเผาผลาญแคลอรี่ และไขมันน้อย จนเกิดเป็นไขมันสะสมอยู่ในร่างกายปริมาณมาก การพักผ่อนไม่เพียงพอ จะกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน ทาให้เกิดความอยากอาหารมากขึ้น จึงต้อง บริโภคอาหารที่ให้แคลอรี่สูงเพิ่มขึ้น การเลิกสูบบุหรี่ อาจมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทดแทนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ จึงอาจ ส่งผลต่อน้าหนักตัวที่เพิ่มขึ้นและนาไปสู่ภาวะอ้วนได้ อย่างไรก็ตาม การเลิกสูบบุหรี่ย่อมส่งผลดีต่อสุขภาพ โดยรวม ผู้ที่มีภาวะอ้วนจากการเลิกสูบบุหรี่จึงควรรักษาภาวะอ้วน และไม่กลับไปสูบบุหรี่อีก -กรรมพันธุ์ ร่างกายของแต่ละคนมีประสิทธิภาพในการเผาผลาญกาจัดไขมันแล้วเปลี่ยนเป็นพลังงานแตกต่าง กัน พันธุกรรมจึงอาจมีผลต่อปริมาณไขมันที่สะสมในร่างกาย และแหล่งที่ไขมันถูกส่งไปเผาผลาญเป็นพลังงาน ภายในร่างกาย หนึ่งในโรคทางกรรมพันธุ์ที่ทาให้ผู้ป่วยมีภาวะอ้วน คือ พราเดอร์-วิลลี่ ซินโดรม (Prader-Willi Syndrome) ซึ่ง ผู้ป่วยจะมีอาการกินจุ กินไม่หยุด และมีพัฒนาการช้า -อายุ ภาวะอ้วนสามารถเกิดได้กับทุกวัย แต่เมื่อเติบโตขึ้นและเข้าสู่วัยต่าง ๆ ฮอร์โมนในร่างกายจะมีการ เปลี่ยนแปลง ส่งผลให้มีกิจกรรมที่ทาให้เกิดการเผาผลาญไขมันลดน้อยลง หากมีการบริโภคอาหารแคลอรี่สูง แล้วขาดการกาจัดไขมันส่วนเกินออกไปอย่างเหมาะสมกับร่างกายตามวัย ก็จะนาไปสู่ภาวะอ้วนได้ในที่สุด -ปัจจัยทางการแพทย์ การเจ็บป่วย บางอาการหรือบางโรคก็อาจส่งผลต่อการเกิดภาวะอ้วนได้ เช่น ภาวะต่อม ไทรอยด์ทางานต่ากว่าปกติทาให้ร่างกายมีการเผาผลาญพลังงานน้อยลง หรือโรคคุชชิ่งซินโดรม (Cushing’s Syndrome) ซึ่งร่างกายจะมีระดับฮอร์โมนคอร์ติโซลสูงเป็นเหตุให้เกิดการสะสมไขมันตามส่วนต่าง ๆ อย่าง ใบหน้า ช่วงท้อง และหน้าอก การรักษาด้วยยาบางชนิดก็สามารถส่งผลกระทบต่อกระบวนการเผาผลาญและการสะสมไขมันจนเกิดภาวะอ้วน เช่น ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ (Corticosteroid) กลุ่มยาต้านเศร้า ยาที่ใช้รักษาโรคเบาหวาน โรคลมชัก และโรค จิตเภท -ปัจจัยภายนอกอื่น ๆ สภาพแวดล้อม หากเด็กเติบโตมาในครอบครัวที่มีผู้ปกครองหรือบุคคลใกล้ชิดมีภาวะอ้วน เด็กจะมีแนวโน้ม ของพฤติกรรมการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มเช่นเดียวกัน
  • 5. 5 สถานภาพเศรษฐกิจ บางคนอาจมีสถานะทางการเงินและสภาพสังคมที่อยู่อาศัยที่ไม่เอื้ออานวยต่อการบริโภค อาหารที่ดีและมีประโยชน์ จึงมีความจาเป็นต้องใช้ชีวิตและบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะอ้วน อย่าง อาหารจานด่วน หรืออาหารขยะที่มีราคาถูกแต่มีไขมันสูง ผลเสียของโรคอ้วน ต่อ สุขภาพจิต ไม่มั่นใจในตัวเอง ไม่มั่นใจในรูปร่าง เพราะ คนอ้วน มักที่จะมีบุคลิคภาพที่ไม่สง่า สวมเสื้อผ้าแล้วไม่สวย ไม่ หล่อ ไม่สมาร์ท การเข้าสังคม การทางาน อาชีพบางอาชีพ ที่เน้น เรื่อง รูปร่าง บุคลิคภาพที่ดี เช่น แอร์โฮสเตส , พนักงานต้อนรับ บางคนมี ภาวะ ซึมเศร้าได้ง่ายกว่า คนที่มีรูปร่างปกติ การถูกเพื่อนล้อ ในเรื่องรูปร่าง เช่น หุ่นรถถัง การดูเป็นตัวตลก ผลเสียของโรคอ้วน ที่มีต่อสุขภาพกาย จากการศึกษาพบว่า คนอ้วน จะมี อัตราการเจ็บป่วยและอัตราตายสูงกว่าคนที่มีน้าหนักตัวอยู่ในเกณฑ์ปรกติ ซึ่งโรคแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยๆในคนที่มีรูปร่างอ้วน ก็คือ 1.โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคอ้วนเป็นปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อ ระบบหัวใจและหลอดเลือดอย่างเห็นได้ชัด เช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน โรคหัวใจวาย หัวใจขาดเลือด ฯลฯ 2.โรคข้อเสื่อม ปวดเข่า ปวดหลัง ผู้ที่มีปัญหาโรคอ้วน จะมีน้าหนักกดทับที่มากขึ้น ทาให้ข้อต่อที่รับน้าหนัก เสื่อมเร็วกว่าปกติ 3.โรคเบาหวาน โรคอ้วน มีผลการศึกษาวิจัยพบว่าเกี่ยวข้องกับอัตราการเกิดโรคเบาหวานอย่างมีนัยสาคัญ โดยที่หากคุณ อ้วนลงพุง คุณจะมีความเสี่ยง ในการเป็นโรคเบาหวานกว่าคนอื่น 4.โรคเกี่ยวกับระบบหายใจ คนที่อ้วนจะมีความลาบากในการหายใจเข้าออก เนื่องจากไขมันที่มากขึ้นบริเวณ รอบทรวงอกจะทาให้การขยายตัวของทรวงอกลาบาก นอกจากนี้ไขมันที่ท้องก็จะทาให้กระบังลมไม่สามารถ หย่อนตัว ลงมาได้้ ผลตามมาคือ เกิดภาวะขาดออกซิเจน ผู้ป่วยจะเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ท่านอน มีอาการหายใจลาบากบางครั้งเป็นมากจะหยุดหายใจเป็นพัก ๆ เวลานอนหลับ ผู้ป่วยที่มีภาวะดังกล่าว จะมีอาการปวดศีรษะในตอนเช้า ส่วนในเวลากลางวันจะมีอาการง่วงนอน หายใจช้า เบื่อ เหนื่อยง่าย ไม่อยาก ทาอะไร ส่งผลให้เกิดความขี้เกียจ 5.โรคมะเร็งบางชนิด มีการศึกษาพบว่าโรคอ้วนมีความสัมพันธ์กับความชุกของโรคมะเร็งบางชนิด 6.โรคความดันโลหิตในเลือดสูง ผู้ที่มีปัญหาโรคอ้วนจะมีความดันโลหิตสูงกว่าคนปกติประมาณ 2.9 เท่า ถ้า น้าหนักตัวลดลง ลดน้าหนัก ระดับความดันโลหิตก็จะลดลงด้วย ระดับไขมันในเลือด คนที่มีปัญหาโรคอ้วนมักจะมีไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง ไขมันชนิดดีต่า นิ่วในถุงน้าดี คนอ้วนมีโอกาสที่จะเป็น นิ่วในถุงน้าดีอย่างเห็นได้ชัด 7.ปัญหา เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ คนที่มีปัญหา อ้วนลงพุง ซึ่งอาจเสี่ยงต่อปัญหาการแข็งตัวของอวัยวะเพศ ชายจนนาไปสู่ความเซ็งในการมีเซ็กซ์กับคู่ครองได้ 8.ปัญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ โรคอ้วน หรือน้าหนักเกิน เช่น เส้นเลือดขอด อาการท้องผูก ริดสีดวรทวาร โรค เชื้อราที่ผิวหนัง ปัญหากลิ่นตัวแรง อึดอัด ไม่สบายเนื้อ ไม่สบายตัว ขยับทาอะไรนิดอะไรหน่อยก็เหนื่อยง่าย ไม่สดชื่น ไม่มีชีวิตชีวา การคลอดบุตรยาก แผลผ่าตัดอาจจะหายช้ากว่าปกติ เป็นต้น
  • 6. 6 การรักษาโรคอ้วนโดยการควบคุมอาหารและการออกกาลังกาย จากข้อมูลที่นาเสนอแล้ว ชี้ใหัเห็นว่าพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการเกิดโรคอ้วน ปัจจัยสาคัญทาง สิ่งแวดล้อมที่สาคัญคือพลังงาน ทั้งหมดที่บริโภคและการออกกาลังกาย ซึ่งสามารถปรับให้เหมาะสมเพื่อการลด น้าหนักตัวลงได้ การรักษาเพื่อให้น้าหนักตัวลดลงนั้นด้องทาให้เกิดดุลลบของพลังงานคือ ปริมาณอาหารที่บริโภคเข้าไป เพื่อให้พลังงานนั้นต้องน้อยกว่าพลังงานที่ใช้ ร่างกายจึงสามารถดึงเอาไขมันที่สะสมไว้มาเผาผลาญเป็น พลังงาน ดังนั้นหลักในการบาบัดโรคอ้วนคือ การควบคุมอาหารและการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ การควบคุมอาหาร การควบคุมอาหารเพื่อการลดน้าหนักในโรคอ้วนมีหลักการสาคัญดังนี้ ลดปริมาณพลังงานที่บริโภค คนที่กินอาหารมากต้องกินให้น้อยลง ซึ่งต้องปฏิบัติให้ได้ น้าหนักที่เกินอยู่จึงจะ ลดลง คนปรกติน้าหนักตัวจะเพิ่มขึ้น ๑ กก. ถ้าได้รับพลังงานเพิ่มขึ้น ๒๒ กิโลแคลอรี/กก. น้าหนักตัว ผู้ที่มี น้าหนักตัวเกิน ๑๐ กก. ต้องการพลังงานเพิ่มขึ้นวันละ ๒๒๐ กิโลแคลอรี ดังนั้นคนอ้วนที่มีน้าหนักตัวเกิน ๑๐ กก. ก็ต้องลดปริมาณอาหารที่บริโภคลงวันละ ๒๒๐ กิโลแคลอรี ควรประเมินปริมาณพลังงานที่ผู้ป่วยบริโภคอยู่ก่อนมารับการลดน้าหนัก ในรายที่ให้บริโภคอาหารน้อยลง กว่าเดิมวันละ ๕๐๐ กิโลแคลอรี น้าหนักตัว จะลดลงได้ประมาณ ๐.๔๕ กก./สัปดาห์ ถ้าปฏิบัติได้จริงในช่วง ๑๐ เดือนจะลดได้ประมาณ ๑๘ กก. ดังนั้นจึงต้องอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าการลดน้าหนักต้องใช้เวลา ไม่แนะนาให้ ลดน้าหนักโดยวิธีอดอาหาร เพราะจะมีผลเสียมากกว่าผลดี น้าหนักลดได้จริงเมื่อใช้วิธีนี้รักษาผู้ป่วยใน โรงพยาบาล แต่พอผู้ป่วยกลับบ้านจะอ้วนกลับมาใหม่ ถ้าหากจาเป็นต้องกาหนดให้ผู้ป่วยบริโภคอาหารที่ให้ พลังงานน้อยกว่า ๑,๐๐๐ กิโลแคลอริ/วัน. ต้องระวังว่าผู้ป่วยอาจเกิดการขาดวิตามินและเกลือแร่ได้ เพื่อความ ปลอดภัยในช่วงลดน้าหนัก จึงควรให้ผู้ป่วยกินวิตามินและเกลือแร่ในรูปเม็ดยาที่ให้ปริมาณตามความต้องการ ของร่างกาย จัดสัดส่วนของพลังงานอาหารที่บริโภคให้เหมาะสม เมื่อกินอาหารให้น้อยลง จะต้องระมัดระวังว่าอาหารนั้นมี คุณค่าทางโภชนาการ และยังมีความเอร็ดอร่อยที่ผู้ป่วยกินอาหารนั้นได้ การจัดสัดส่วนของพลังงานอาหารที่ บริโภคให้เหมาะสม มีส่วนสาคัญทาให้อาหารมีคุณค่าทางโภชนาการ โปรเทอิน ควรไต้ร้อยละ ๒๐ ของพลังงานที่ได้รับ โปรเทอินกินต้องมีคุณภาพ เช่น ไข่, เนื้อสัตว์, ถั่วเหลือง, นม ในทางปฏิบัติเน้นให้ผู้ป่วยกินเนื้อไก่ เนื้อปลา ที่ไม่มีไขมันให้มากขึ้น เพื่อให้ได้โปรเทอินเพียงพอ เพราะ น้าหนักตัวที่เพิ่มขึ้นนั้น ร้อยละ ๗๕ เป็นไขมัน ส่วนอีกร้อยละ ๒๕ เป็นโปรเทอิน เมื่อลดน้าหนักตัวจะสูญเสีย โปรเทอินด้วย ไขมัน ควรจากัดการบริโภคไขมันไม่ให้เกิน ร้อยละ ๓๐ ของพลังงานที่ได้รับ ทั้งนี้เพราะไขมัน เป็นสารให้ พลังงานสูงสุดถึง ๙ กิโลแคลอริ/กรัม นอกจากนี้ร่างกายยังมีขีดจากัดในการเผาไขมันเป็นพลังงาน ควรใช้ น้ามันถั่วเหลืองในการปรุงอาหาร เพราะจะทาให้ได้รับกรดไขมันจาเป็นครบถ้วน คือ ทั้งกรดไลโนเลอิค และ กรดแอลฟาไลโนเลอิค นอกจากนี้การบริโภคกรดไลโนเลอิค ในปริมาณ ร้อยละ ๗-๑๐ ของพลังงานที่ได้รับยังมี ผลลดระดับ โฆเลสเตอรอล ส่วนไลโปโปรเทอินที่มีความหนาแน่นต่า คาร์โบฮัยเดรต ข้าว, แป้งและน้าตาลล้วนเป็นแหล่งคาร์โบฮัยเดรต ให้พลังงาน ควรงดบริโภคน้าอัดลมและ น้าหวาน ควรใช้น้าตาลทราย ในการปรุงอาหารและเครื่องดื่มให้น้อยที่สุด เพราะอาหารเหล่านี้ให้แต่พลังงาน
  • 7. 7 ถ้ายังติดในรสหวานก็ให้ใช้ แอสปาร์เทม ซึ่งเป็นสารรสหวานแต่ไม่ให้พลังงานแทนน้าตาล สาหรับข้าวให้กินได้ แต่ถ้ากินมากต้องลดปริมาณลง กินผักและผลไม้ ทุกมื้ออาหารควรมีผัก และผลไม้เพราะอาหารสองประเภทนี้นอกจากให้วิตามินและเกลือแร่ ยังให้ใยอาหารด้วย ซึ่งทาให้ท้องไม่ผูก และมีความรู้สึกอิ่มไม่หิวบ่อย สาหรับผลไม้ไม่ควรกินพวกที่มีรสหวาน จัดเช่น องุ่น ละมุด ทุเรียน ถ้ากินให้กินเป็นครั้งคราวเท่านั้น การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ การลดน้าหนักจะได้ผลดีต่อเมื่อผู้นั้นออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอทุกวัน ถ้าคนที่ไม่เคยออกกาลังกายมาก่อน ต้องค่อยทาค่อยไป นับตั้งแต่เดินก็เป็นวิธีออกกาลังกายอย่างหนึ่ง การออกกาลังกายในแต่ละช่วงควรใช้เวลา ประมาณ ๑๕-๔๕ นาที โดยทาต่อเนื่องกันไปจนกระทั่งรู้สึกว่าเหนื่อยจึงพัก ในวันหนึ่งๆ ถ้ามีเวลาออกกาลัง กายประมาณวันละ ๑ ชั่วโมงจะดีมาก การที่ผู้ป่วยจะลดน้าหนักได้มากเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับความตั้งใจของผู้ป่วยและต้องติดตามนานพออย่างน้อย ๕ ปี จึงจะบอกได้ว่าผู้ป่วยประสบความสาเร็จในการลดน้าหนักหรือไม่ การป้องกันโรคอ้วน ถึงเวลาแล้วที่ทุกคนควรสนใจน้าหนักตนเอง ควรรู้ว่าดัชนีความหนาของร่างกายสามารถใช้ประเมินโรคอ้วน ทั้งตัวได้ ส่วนอัตราส่วนเส้นรอบเอวต่อเส้นรอบตะโพกสามารถใช้ประเมินโรคอ้วนลงพุงได้ นามาตรการทั้งสอง นี้เฝ้าระวังตนเองไม่ให้เกิดโรคอ้วน หรือถ้าเกิดแล้วต้องรีบปรับตัวโดยบริโภคอาหารให้น้อยลง โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งลดการบริโภคไขมันร่วมกับการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ แพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยต้องให้ความสนใจน้าหนักตัวของผู้ป่วย กระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้ป่วยตระหนักถึงความสาคัญ ของโภชนาการและการออกกาลังกายต่อสุขภาพ และมีความสานึกรับผิดชอบต่อการบริโภคอาหารอย่างถูก หลักโภชนาการร่วมกับการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ เพื่อการป้องกันโรคอ้วน โรคอ้วนเป็นปัญหาทางสาธารณสุขของประชาชนในประเทศที่พัฒนาแล้วกาลังประสบอยู่ ชาวไทยในเขตเมืองก็ ประสบปัญหาโรคอ้วนเช่นเดียวกัน ดังนั้นการร่วมกันรณรงค์ป้องกันโรคอ้วน เสียแต่บัดนี้ย่อมมีส่วนสาคัญต่อ การลดปัญหาสาธารณสุขเนื่องจากโรคอ้วนทั้งในปัจจุบันและอนาคต การผ่าตัดลดความอ้วน (Bariatric Surgery) แพทย์จะมีดุลยพินิจให้ผู้ป่วยภาวะอ้วนอย่างรุนแรงบางรายเข้า รับการผ่าตัด อย่างผู้ที่มีค่า BMI สูง ตั้งแต่ 40 ขึ้นไป หรือผู้ป่วยที่มีค่า BMI 35-40 ที่มีปัญหาสุขภาพร้ายแรง จาเป็นต้องรักษาด้วยการลดน้าหนักทันที เช่น ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานประเภทที่ 2 ผู้ที่รักษา ภาวะอ้วนด้วยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผล โดยการผ่าตัดลดความอ้วนมีหลายวิธี ได้แก่ 1.การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Roux-en-Y Gastric Bypass เป็นวิธีการผ่าตัดสร้างถุงที่กระเพาะ อาหารส่วนบน และตัดลาไส้เล็กที่อยู่ด้านล่างของกระเพาะอาหารนามาเชื่อมต่อกับถุงที่สร้างไว้ ทาให้อาหารที่ รับประทานจะถูกส่งไปยังลาไส้โดยตรง วิธีการนี้จะทาให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อยลงและรู้สึกอิ่มเร็วขึ้น 2.การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Laparoscopic Adjustable Gastric Banding (LAGB) แพทย์จะ ผ่าตัดนาห่วงที่ยืดหยุ่นได้ไปรัดกระเพาะแบ่งเป็น 2 ส่วน พื้นที่ว่างในกระเพาะอาหารจึงลดลง ทาให้ผู้ป่วย รับประทานอาหารน้อยลงเพราะอิ่มเร็วขึ้น ห่วงนี้จะคงอยู่ได้อย่างถาวร โดยที่สามารถปรับขนาดและยืดขยายได้ ในภายหลัง
  • 8. 8 3.การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Gastric Sleeve เป็นการผ่าตัดเอาบางส่วนของกระเพาะอาหาร ออกไป ให้เหลือเพียงกระเพาะอาหารที่เล็กลง เป็นวิธีการผ่าตัดที่มีความซับซ้อนน้อยกว่า 2 วิธีแรก และผู้ป่วย จะรับประทานอาหารได้น้อยลง เพราะมีกระเพาะอาหารที่เล็กลง การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Biliopancreatic Diversion with Duodenal Switch แพทย์จะทาการ ผ่าตัดผนังกระเพาะอาหารส่วนใหญ่ออก ให้มีเพียงกระเพาะอาหารบางส่วนที่ยังทาหน้าที่เหมือนเดิม โดย กระเพาะอาหารส่วนนี้จะถูกนาไปต่อกับลาไส้เล็กส่วนบน ในขณะที่กระเพาะอาหารส่วนที่ถูกผ่าแยกออกไปจะ ถูกนาไปเชื่อมกับลาไส้เล็กส่วนล่าง เพื่อให้ยังคงมีกระบวนการย่อยอาหารที่ลาไส้ส่วนนี้ แนวทางการดาเนินงาน 1.กาหนดหัวข้อการทาโครงงาน 2.กาหนดวัตถุประสงค์ในการทาโครงงาน 3.สืบค้นหาข้อมูล 4.รวบรวมข้อมูล 5.ตรวจสอบความถูกต้อง 6.นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ งบประมาณ -
  • 9. 9 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอ บ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุของหารเกิดโรคอ้วนและภาวะน้าหนักเกิน 2. เพื่อให้ทราบถึงวิธีการป้องกันไม่ให้เกิดโรค 3. เพื่อให้ทราบถึงวิธีการดูแลตนเองไม่ให้เกิดโรค สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) -โรคอ้วนและภาวะน้าหนักเกิน ข้อมูลจาก https://beezab.com สืบค้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2561 -สาเหตุการเกิดโรคอ้วน ข้อมูลจาก https://www.pobpad.com/ สืบค้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2561 -ผลเสียของการเกิดโรคอ้วน ข้อมูลจาก https://infologija.com สืบค้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2561 -วิธีการรักษา ข้อมูลจาก https://www.honestdocs.co/what-is-obesity/treatment-of-obesity สืบค้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2561