SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปี การศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน obesity
ชื่อผู้ทาโคร
งงาน
ชื่อ ธีรเทพ แก้วเรือนเลขที่6ชั้นม.6ห้อง8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพวิเตอร์
2
สมาชกิในกลุ่ม .……
นาย ธีรเทพ แก้วเรือน เลขที่ ม 6/8
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคอ้วน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)obesity
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทา นางสาวศุภมาส
ศรีสวัสดิ์ ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม-
ระยะเวลาดาเนินงาน-
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันโลกได้มีวิวัฒนาการทางด้านอาหารมากมาย
อาหารที่คนส่วนใหญ่มักบริโภคก็คืออาหารที่ไขมันค่อนข้างสูงและเมื่อร่างกายได้รับ
ปริมาณที่มากเกินไปจะทาให้ร่างกายเกิดการแปรรูปไขมันกักเก็บเอาไว้ในบริเวณใ
ต้ผิวหนังของเรา และเมื่อเราบริโภคอาหารเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง
ก็จะเกิดการสะสมไขมันในร่างกายมากขึ้น และกลายเป็นโรคอ้วนในที่สุด
ซึ่งโรคอ้วนนั้นเป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพต่างๆที่ตามมา เช่นการเคลื่อนที่ลาบาก
หายใจได้ไม่สะดวก เหนื่อยง่าย เป็นต้น
และเป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายแรงต่างๆตามมา เช่น โรคหัวใจ ความดัน
เบาหวาน ไขมันอุดตันในเส้นเลือด ข้อกระดูกเสื่อม
โรคอ้วนเป็นสภาวะทางการแพทย์ที่มีการสะสมไขมันในร่างกายมากถึงขนาดที่อาจมี
ผลเสียต่อสุขภาพ ทาให้มีอายุสั้นลง และมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น
หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง การพิจารณาว่าบุคคลใดอ้วนนั้นพิจารณาจากดัชนีมวลกาย (
BMI) ซึ่งเป็นการวัด มีค่าเท่ากับน้าหนัก (หน่วยเป็นกิโลกรัม) หารด้วยส่วนสูง
(หน่วยเป็นเมตร) ยกกาลังสอง บุคคลที่มีดัชนีมวลกายเกิน 30
กิโลกรัมต่อตารางเมตรถือว่าเป็ นโรคอ้วน โดยในช่วง 25-30
กิโลกรัมต่อตารางเมตรนิยามเป็นน้าหนักเกิน
โรคอ้วนเพิ่มโอกาสการป่วยเป็นโรคหลายอย่าง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคหัวใจ เบาหวานชนิดที่
2 ภาวะหยุดหายใจขณะหลับชนิดอุดกั้น มะเร็งบางชนิด
และโรคข้อเสื่อม โรคอ้วนมีสาเหตุมาจากการรับพลังงานจากอาหารมากเกิน
การขาดการออกกาลังกาย และความเสี่ยงทางพันธุกรรมร่วมกันมากที่สุด
3
แม้ว่าผู้ป่วยน้อยรายจะเกิดจากยีนหรือพันธุกรรม
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อยาหรือการป่วยจิตเวชเป็นหลัก
สาหรับมุมมองที่ว่าคนอ้วนบางรายกินน้อยแต่น้าหนักเพิ่มเพราะเมแทบอลิซึมช้านั้น
มีหลักฐานสนับสนุนจากัด โดยเฉลี่ยแล้ว
คนอ้วนมีการเสียพลังงานมากกว่าคนผอมเนื่องจากต้องใช้พลังงานมากกว่าในการรั
กษามวลร่างกายที่เพิ่มขึ้นคนอ้วนจึงเหนื่อยเร็วกว่าคนผอม
การจากัดอาหารและการออกกาลังกายเป็นหลักของการรักษาโรคอ้วน
สามารถปรับปรุงคุณภาพอาหารได้โดยการลดการบริโภคอาหารพลังงานสูง เช่น
อาหารที่มีไขมันและน้าตาลสูง
และโดยการเพิ่มการรับใยอาหาร อาจบริโภคยาลดวามอ้วนเพื่อลดความอยากอาหาร
หรือลดการดูดซึมไขมันเมื่อใช้ร่วมกันกับอาหารที่เหมาะสมหากอาหาร
การออกกาลังกายและยาไม่ได้ผล การทาบอลลูนกระเพาะอาหาร (gastric ballon)
อาจช่วยให้น้าหนักลดได้
หรืออาจมีการผ่าตัดเพื่อลดปริมาตรกระเพาะอาหารและความยาวลาไส้
หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง
ซึ่งทาให้รู้สึกอิ่มเร็วขึ้นและลดความสามารถในการดูดซึมสารอาหาร
โรคอ้วนเป็นสาเหตุการตายอันดับต้น ๆ ทั่วโลกที่สามารถป้องกันได้
โดยมีอัตราเพิ่มขึ้นทั้งในผู้ใหญ่และเด็ก
ทางการมองว่าโรคอ้วนเป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่ร้ายแรงที่สุดในคริสต์ศตวรร
ษที่ 21
ดังนั้นโครงงานนี้จึงจัดทาขึ้นเพื่อศึกษาโรคนี้และนาความรู้ที่ได้จากการศึกษามาปรั
บใช้แก่กลุ่มคนที่มีภาวะเสี่ยงหรือเป็ นโรคอ้วนเพื่อให้กลุ่มคนเหล่านี้มีสุขภาพที่แข็งแ
รง และปลอดภัยจากโรคร้ายต่างๆ
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ความรู้กับบุคคลทั่วไปและกลุ่มบุคคลที่เป็ นโรคหรือมีภาวะเสี่ยง
2.เพื่อเสนอแนวทางการรักษาโรคอ้วนอย่างถูกวิธี
3.เพื่อให้ผู้ป่วยเปิดใจที่จะรักษาและมีสภาพร่างกายที่ดีขึ้น
4.เพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
ขอบเขตโครงงาน
โครงงานนี้ศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการรักษาโรคอ้วนที่ถูกวิธีเพื่อให้ผู้ป่วยมีสุขภาพที่
ดีต่อตนเองโดยโครงงานนี้จากัดขอบเขตเพียงนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและทฤษฎี
4
อาหารที่คนส่วนใหญ่มักบริโภคก็คืออาหารที่ไขมันค่อนข้างสูงและเมื่อร่างกายได้รับ
ปริมาณที่มากเกินไปจะทาให้ร่างกายเกิดการแปรรูปไขมันกักเก็บเอาไว้ในบริเวณใ
ต้ผิวหนังของเรา และเมื่อเราบริโภคอาหารเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง
ก็จะเกิดการสะสมไขมันในร่างกายมากขึ้น และกลายเป็นโรคอ้วนในที่สุด
ซึ่งโรคอ้วนนั้นเป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพต่างๆที่ตามมา เช่นการเคลื่อนที่ลาบาก
หายใจได้ไม่สะดวก เหนื่อยง่าย เป็นต้น
และเป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายแรงต่างๆตามมา เช่น โรคหัวใจ ความดัน
เบาหวาน ไขมันอุดตันในเส้นเลือด ข้อกระดูกเสื่อม
โรคอ้วนเป็นสภาวะทางการแพทย์ที่มีการสะสมไขมันในร่างกายมากถึงขนาดที่อาจมี
ผลเสียต่อสุขภาพ ทาให้มีอายุสั้นลง และมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น
สาเหตุเกิดจากอะไรได้บ้าง
 กรรมพันธุ์ - ถ้าพ่อและแม่อ้วนทั้งคู่ลูกจะมีโอกาสอ้วนถึงร้อยละ 80
แต่ถ้าพ่อหรือแม่คนใดคนหนึ่งที่อ้วนลูกจะมีโอกาสอ้วนถึงร้อยละ 40
แต่ไม่ควรที่จะวิตกกังวลจนเกินเหตุ ไม่ใช่ว่าคุณจะสิ้นโอกาสผอมหรือหุ่นดี
 นิสัยจากการรับประทานอาหาร -
คนที่มีนิสัยไม่ดีในการรับประทานอาหาร หรือที่เรียกกันว่า กินจุบจิบ
ไม่เป็นเวลาก็ทาให้อ้วนขึ้นได้
 การไม่ออกกาลังกาย
- ถ้ารับประทานอาหารที่มากเกินพอดี แต่มีการออกกาลังกาย
บ้างก็อาจทาให้ยืดเวลาความอ้วน แต่ถ้ารับประทานอาหารที่มากเกินพอดีแล้วนั่งๆ
นอนๆ โดยไร้ซึ่งการยืดเส้นยืดสาย ในไม่ช้าก็จะเกิดการสะสมไขมันในร่างกาย
 อารมณ์และจิตใจ - มีบางคนที่รับประทานอาหารตามอารมณ์และจิตใจ เช่น
กินอาหารเพื่อดับความโกรธแค้น กลุ้มใจ กังวลใจ
บุคคลเหล่านี้จะรู้สึกว่าอาหารทาให้ใจสงบ
จึงยึดอาหารไว้เป็นสิ่งที่สร้างความสบายใจ - แต่ในทางกลับกัน
บางคนที่รู้สึกเสียใจ กลุ้มใจ ก็กินอาหารไม่ได้ ถ้าในระยะเวลานานๆ
ก็มีผลทาให้เกิดการขาดอาหาร ฯลฯ
 ความไม่สมดุลกับความรู้สึกอิ่ม ความหิว ความอยากอาหาร -
เมื่อใดที่ความอยากกินเพิ่มขึ้นเมื่อนั้นการบริโภคก็จะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งถึงขั้น
"กินจุ" ในที่สุดก็จะทาให้เกิดความอ้วน
 เพศ - ผู้หญิงสามารถอ้วนได้ง่ายกว่าผู้ชาย
เพราะโดยธรรมชาติมักสรรหาอาหารมากินได้ตลอดเวลา
อีกทั้งผู้หญิงจะต้องตั้งครรภ์ทาให้น้าหนักตัวมากขึ้น
เพราะต้องกินอาหารมากขึ้น เพื่อบารุงร่างกายและทารกในครรภ์
และบางคนหลังจากคลอดบุตรแล้วก็ไม่สามารถลดน้าหนักลงให้เท่ากับเมื่อก่อน
ตั้งครรภ์ได้
5
 อายุ - เมื่ออายุมากขึ้น โอกาสที่จะอ้วนก็เพิ่มขึ้น ทั้งผู้ชายและผู้หญิง
ซึ่งอาจเกิดจากการใช้พลังงานน้อยลง
 กระบวนการทางเคมีที่เกิดกับร่างกาย
 ยา - ผู้ป่วยบางโรคนั้น จะได้รับสเตียรอยด์เป็นเวลานานก็ทาให้อ้วนได้
และในผู้หญิงที่ฉีดยาหรือใช้ยาคุมกาเนิด ก็ทาให้อ้วนได้เหมือนกัน
 โรคบางชนิด เช่น ไฮโปไทรอยด์
โรคนี้รักษาได้อย่างไรบ้าง
การบริโภคอาหารและเครื่องดื่ม การปรับพฤติกรรมการกินช่วยลดน้าหนักและควบ
คุมปริมาณแคลอรี่ที่ร่างกายจะได้รับ เป็นการรักษาที่ได้ผลดีในระยะยาว
เริ่มจากการศึกษาปริมาณแคลอรี่ที่ร่างกายควรได้รับต่อวัน
แคลอรี่ที่ได้จากอาหารแต่ละชนิด แล้ววางแผน ตั้งเป้าหมาย
ควบคุมน้าหนักและลดปริมาณแคลอรี่ลงภายใน 6 เดือน
อย่างการจัดทาเมนูอาหารในแต่ละวันตามปริมาณแคลอรี่และสารอาหารที่ร่างกายค
วรได้รับอย่างเหมาะสม
สาหรับผู้ชายที่ต้องการลดน้าหนัก ควรบริโภค 1,500-1,800 แคลอรี่/วัน
ส่วนผู้หญิงควรบริโภคแคลอรี่ 1,200-1,500 แคลอรี่/วัน
ตัวอย่างปริมาณแคลอรี่ในอาหารจานเดียว
 ข้าวมันไก่ ปริมาณ 259 กรัม มีพลังงาน 619 แคลอรี่
 ข้าวผัดหมู ปริมาณ 315 กรัม มีพลังงาน 581 แคลอรี่
 ข้าวหมูแดง + น้าราด ปริมาณ 352 กรัม มีพลังงาน 521 แคลอรี่
 ก๋วยเตี๋ยวเส้นเล็กน้า หมู ปริมาณ 507 กรัม มีพลังงาน 401 แคลอรี่
 ขนมจีนแกงเขียวหวาน ปริมาณ 370 กรัม มีพลังงาน 416 แคลอรี่
 ขนมจีนน้ายากะทิ ปริมาณ 342 กรัม มีพลังงาน 346 แคลอรี่
 ขนมจีนน้าเงี้ยว ปริมาณ 480 กรัม มีพลังงาน 308 แคลอรี่
 สุกี้ไก่ น้า ปริมาณ 540 กรัม มีพลังงาน 253 แคลอรี่
 เกี๊ยวน้า ปริมาณ 523 กรัม มีพลังงาน 141 แคลอรี่
ในการลดน้าหนัก
ควรหลีกเลี่ยงและลดการบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีไขมันสูงและมีน้าตาล
อย่างอาหารทอด เนื้อสัตว์ติดมัน ขนมหวาน ลูกอม ลูกกวาด น้าหวาน น้าอัดลม
แอลกอฮอล์ เพราะอาหารบางชนิด แม้จะรับประทานในปริมาณน้อย
แต่มีปริมาณแคลอรี่และน้าตาลสูง
รวมทั้งหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารมื้อหนักหรือปริมาณมากอย่างอาหารประเภท
บุฟเฟ่ต์ด้วย ควรเน้นรับประทานพวกธัญพืช ถั่ว ผัก ผลไม้
เพราะเป็นอาหารที่มีประโยชน์ สามารถรับประทานได้ในปริมาณมาก มีแคลอรี่ต่า
แต่มีสารอาหารที่จาเป็นอย่างแคลเซียมและวิตามินสูง
และควรเลือกรับประทานแต่เนื้อสัตว์ที่ไม่มีไขมัน นมไขมันต่าหรือพร่องมันเนย
เพื่อลดการสะสมไขมันภายในร่างกาย
6
หลังผ่านไป 6 เดือน และแผนการลดน้าหนักประสบความเร็จ
ให้ควบคุมอาหารต่อไปอย่างน้อยอีก 1 ปี
เพื่อปรับสภาพร่างกายให้คงที่และเคยชินกับการรับประทานอาหารอย่างเหมาะสม
จากนั้นควรเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ดีต่อสุขภาพ
ให้พลังงานในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
และไม่รับประทานอาหารแคลอรี่สูงจนเสี่ยงต่อการสะสมของไขมันที่จะทาให้เกิดภา
วะอ้วนได้
ทั้งนี้ ไม่ควรอดอาหาร หรือลดปริมาณแคลอรี่ลงทันที
อย่างการรับประทานโปรตีนแท่งทดแทนมื้ออาหาร
เพราะแม้จะช่วยให้ลดน้าหนักได้อย่างรวดเร็ว
แต่ไม่ใช่วิธีการรักษาดูแลสุขภาพของภาวะอ้วนในระยะยาว
อาจส่งผลเสียต่อร่างกายจากปริมาณอาหารและแคลอรี่ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็
ว และเมื่อหยุดใช้วิธีดังกล่าว
ก็จะทาให้กลับมามีพฤติกรรมการกินที่นาไปสู่ภาวะอ้วนได้เช่นเดิม
การออกกาลังกาย ผู้ที่มีน้าหนักเกินและผู้ที่อยู่ในภาวะอ้วน
ต้องออกกาลังกายมากขึ้นกว่าปกติ
เพื่อกระตุ้นการเผาผลาญไขมันส่วนเกินที่สะสมอยู่ในร่างกาย
ควรออกกาลังกายอย่างน้อย 150 นาที/สัปดาห์ ด้วยการเดิน วิ่ง เต้นแอโรบิก
ปั่นจักรยาน ว่ายน้า เล่นกีฬา การออกกาลังกายเฉพาะส่วน
อย่างการใช้เครื่องออกกาลังกาย การยกน้าหนัก
หรือออกกาลังกายแบบผสมผสานกันหลายประเภท แม้จะยากลาบากในตอนเริ่มต้น
เพราะอาจมีความปวดเมื่อยเหนื่อยล้าของกล้ามเนื้อแต่ละส่วน
แต่เมื่อออกกาลังกายไปสักระยะหนึ่งแล้ว ร่างกายจะเริ่มปรับตัวได้ดีขึ้น
อาจเพิ่มเวลาในการออกกาลังกายขึ้นเป็น 300 นาที/สัปดาห์ หรือมากกว่านั้น
ตามความเหมาะสมต่อสภาพร่างกาย
การออกกาลังกายไม่ได้จากัดแต่เพียงในโรงยิม
เพราะสามารถเปลี่ยนกิจกรรมที่ทาในชีวิตประจาวันให้เป็นการออกกาลังกายไปในข
ณะเดียวกันได้ด้วย เช่น การยืดเส้นยืดสายหลังตื่นนอน การทางานบ้านด้วยตนเอง
ลดการใช้สิ่งอานวยความสะดวกลง การเดินให้มากขึ้น อย่างเดินไปเรียน ไปทางาน
หรือจอดรถในที่จอดไกล ๆ แล้วเดินไปยังจุดหมายแทน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทั้งพฤติกรรมการกินและพฤติกรรมการใช้ชีวิตล้วนส่งผล
ต่อภาวะอ้วนทั้งสิ้น หากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้วยตนเองเป็ นเรื่องที่ยากลาบาก
หรือมีสภาวะทางจิตใจที่ไม่มั่นคงและต้องการความช่วยเหลือและคาแนะนา
สามารถเข้ารับการปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์
เพื่อช่วยให้ผู้เผชิญภาวะอ้วนทาความเข้าใจกับปัญหาของตน
ตระหนักถึงปัจจัยที่ทาให้เกิดภาวะอ้วน ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นตามมา
ความสาคัญของการรักษา หาวิธีจัดการความเครียดความวิตกกังวลที่เกิดขึ้น
แล้ววางแผนรักษาและดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้
7
การเข้ากลุ่มบาบัด ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ทาให้ผู้ที่อยู่ในภาวะอ้วนเช่นเดียวกัน
และมีประสบการณ์คล้ายกัน ได้มาเข้าร่วมกลุ่มพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน
แล้วตั้งเป้าหมายวางแผนการลดน้าหนักร่วมกันภายใต้การดูแลของแพทย์
การใช้ยาลดน้าหนัก ในบางรายที่มีข้อจากัดสาคัญทาให้ไม่สามารถรักษาด้วยวิธีอื่นไ
ด้ผล แพทย์อาจจ่ายยาลดน้าหนักให้เพื่อรักษาอาการ เช่น ผู้ป่วยที่มีค่า BMI ตั้งแต่
28 ขึ้นไปที่ป่วยด้วยความดันโลหิตสูง หรือเป็นเบาหวานประเภทที่ 2
จึงไม่สามารถออกกาลังกายที่ต้องใช้แรงมาก ๆ
หรือไม่สามารถออกกาลังกายเป็นเวลานาน ๆ ได้
ปัจจุบันยาลดน้าหนักหรือยาลดความอ้วนกาลังอยู่ในขั้นทดสอบ
แต่มีเพียงยาชนิดเดียวที่ได้รับการรับรองว่าปลอดภัยและมีประสิทธิภาพทางการรักษ
าภาวะอ้วน คือ Orlistat
ยาตัวนี้จะช่วยป้องกันไม่ให้ร่างกายดูดซึมไขมันจากอาหารที่กินประมาณ 1 ใน 3
ส่วน แต่จะส่งผ่านไขมันไปยังระบบขับถ่ายแทน
ผู้ป่วยควรควบคุมการกินและการออกกาลังกายควบคู่ไปกับการใช้ยา
และแม้หยุดใช้ยาก็ต้องควบคุมพฤติกรรมของตนต่อไปเพื่อไม่ให้น้าหนักเพิ่มขึ้นได้
อีก
Orlistat เป็นยาแคปซูลสาหรับรับประทานก่อนหรือหลังอาหารมื้อหลักหนึ่งชั่วโมง
หรือรับประทานพร้อมมื้ออาหาร ใช้ยาไม่เกินวันละ 3 แคปซูล หลังใช้ยา
น้าหนักของผู้ป่วยจะลดลงประมาณ 5% ภายใน 3 เดือน
แต่หากน้าหนักไม่ลดลงควรปรึกษาแพทย์เพื่อหาทางรักษาอื่นที่ได้ผล
การใช้ยาลดน้าหนักต้องใช้ภายใต้ใบสั่งแพทย์เท่านั้น
และรับประทานยาตามที่กาหนด
หลังใช้ยาอาจเห็นผลน้อยหรือช้าหากมีอาการป่วยโรคอื่นร่วมด้วย ดังนั้น
ควรแจ้งให้แพทย์ทราบถึงปัญหาสุขภาพที่กาลังเผชิญและยาหรือการรักษาที่กาลังใช้
อยู่ในปัจจุบันก่อนใช้ยาลดน้าหนัก และอาจมีผลข้างเคียงอย่างปวดหัว ปวดท้อง
อุจจาระบ่อย อุจจาระมีไขมันปน มีไขมันไหลออกจากทวาร เป็นต้น
ที่สาคัญคือไม่ควรใช้ยาลดน้าหนักเองเด็ดขาด
เพราะเป็นอันตรายถึงชีวิตหากใช้ยาไม่ถูกต้องหรือใช้เกินขนาด
การผ่าตัดลดความอ้วน (Bariatric
Surgery) แพทย์จะมีดุลยพินิจให้ผู้ป่วยภาวะอ้วนอย่างรุนแรงบางรายเข้ารับการผ่า
ตัด อย่างผู้ที่มีค่า BMI สูง ตั้งแต่ 40 ขึ้นไป หรือผู้ป่วยที่มีค่า BMI 35-40
ที่มีปัญหาสุขภาพร้ายแรง จาเป็นต้องรักษาด้วยการลดน้าหนักทันที เช่น
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานประเภทที่ 2
ผู้ที่รักษาภาวะอ้วนด้วยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผล โดยการผ่าตัดลดความอ้วนมีหลายวิธี
ได้แก่
 การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Roux-en-Y Gastric
Bypass เป็นวิธีการผ่าตัดสร้างถุงที่กระเพาะอาหารส่วนบน
และตัดลาไส้เล็กที่อยู่ด้านล่างของกระเพาะอาหารนามาเชื่อมต่อกับถุงที่สร้างไว้
ทาให้อาหารที่รับประทานจะถูกส่งไปยังลาไส้โดยตรง
วิธีการนี้จะทาให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อยลงและรู้สึกอิ่มเร็วขึ้น
8
 การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Laparoscopic Adjustable Gastric
Banding (LAGB) แพทย์จะผ่าตัดนาห่วงที่ยืดหยุ่นได้ไปรัดกระเพาะแบ่งเป็น 2
ส่วน พื้นที่ว่างในกระเพาะอาหารจึงลดลง
ทาให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารน้อยลงเพราะอิ่มเร็วขึ้น ห่วงนี้จะคงอยู่ได้อย่างถาวร
โดยที่สามารถปรับขนาดและยืดขยายได้ในภายหลัง
 การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Gastric
Sleeve เป็นการผ่าตัดเอาบางส่วนของกระเพาะอาหารออกไป
ให้เหลือเพียงกระเพาะอาหารที่เล็กลง เป็นวิธีการผ่าตัดที่มีความซับซ้อนน้อยกว่า 2
วิธีแรก และผู้ป่วยจะรับประทานอาหารได้น้อยลง เพราะมีกระเพาะอาหารที่เล็กลง
 การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Biliopancreatic Diversion with
Duodenal Switch แพทย์จะทาการผ่าตัดผนังกระเพาะอาหารส่วนใหญ่ออก
ให้มีเพียงกระเพาะอาหารบางส่วนที่ยังทาหน้าที่เหมือนเดิม
โดยกระเพาะอาหารส่วนนี้จะถูกนาไปต่อกับลาไส้เล็กส่วนบน
ในขณะที่กระเพาะอาหารส่วนที่ถูกผ่าแยกออกไปจะถูกนาไปเชื่อมกับลาไส้เล็กส่วนล่
าง เพื่อให้ยังคงมีกระบวนการย่อยอาหารที่ลาไส้ส่วนนี้
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับคุณครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
-ไม่มีค่าใช้จ่าย
9
ขั้นตอนและการดาเนินงาน
ลาดับที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1 12
1
3
1
4
1
5 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้จัดทามีความเข้าใจหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2. สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนได้จริง
3. สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้
4. ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขึ้น
สถานที่ดาเนินงาน
1. ห้องคอมพิวเตอร์
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
10
แหล่งอ้างอิง
การรัษาภาวะอ้วน
เข้าถึงได้จากhttps://www.pobpad.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B
1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E
0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%99(วันที่สืบค้นข้อมูล : 31 มกราคม 2563)
โรคอ้วน เข้าถึงได้จาก :
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B9%89%E0%B8%A7
%E0%B8%99) (วันที่สืบค้นข้อมูล : 31 มกราคม 2563)

More Related Content

Similar to Obesity

โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาBream Mie
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่างAom Nachanok
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักโครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักPao Pro
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Phimwaree
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานDduang07
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sarita Witesd
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกFrench Natthawut
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weedssuser8b5bea
 
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักโครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักPao Pro
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)Jutamas123
 
2562 final-project computer
2562 final-project computer2562 final-project computer
2562 final-project computertataaaz
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40ssuserceb50d
 

Similar to Obesity (20)

โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่าง
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักโครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed
 
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักโครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
 
2562 final-project computer
2562 final-project computer2562 final-project computer
2562 final-project computer
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40
 

Obesity

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปี การศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน obesity ชื่อผู้ทาโคร งงาน ชื่อ ธีรเทพ แก้วเรือนเลขที่6ชั้นม.6ห้อง8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพวิเตอร์
  • 2. 2 สมาชกิในกลุ่ม .…… นาย ธีรเทพ แก้วเรือน เลขที่ ม 6/8 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคอ้วน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)obesity ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทา นางสาวศุภมาส ศรีสวัสดิ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม- ระยะเวลาดาเนินงาน- ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันโลกได้มีวิวัฒนาการทางด้านอาหารมากมาย อาหารที่คนส่วนใหญ่มักบริโภคก็คืออาหารที่ไขมันค่อนข้างสูงและเมื่อร่างกายได้รับ ปริมาณที่มากเกินไปจะทาให้ร่างกายเกิดการแปรรูปไขมันกักเก็บเอาไว้ในบริเวณใ ต้ผิวหนังของเรา และเมื่อเราบริโภคอาหารเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง ก็จะเกิดการสะสมไขมันในร่างกายมากขึ้น และกลายเป็นโรคอ้วนในที่สุด ซึ่งโรคอ้วนนั้นเป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพต่างๆที่ตามมา เช่นการเคลื่อนที่ลาบาก หายใจได้ไม่สะดวก เหนื่อยง่าย เป็นต้น และเป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายแรงต่างๆตามมา เช่น โรคหัวใจ ความดัน เบาหวาน ไขมันอุดตันในเส้นเลือด ข้อกระดูกเสื่อม โรคอ้วนเป็นสภาวะทางการแพทย์ที่มีการสะสมไขมันในร่างกายมากถึงขนาดที่อาจมี ผลเสียต่อสุขภาพ ทาให้มีอายุสั้นลง และมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง การพิจารณาว่าบุคคลใดอ้วนนั้นพิจารณาจากดัชนีมวลกาย ( BMI) ซึ่งเป็นการวัด มีค่าเท่ากับน้าหนัก (หน่วยเป็นกิโลกรัม) หารด้วยส่วนสูง (หน่วยเป็นเมตร) ยกกาลังสอง บุคคลที่มีดัชนีมวลกายเกิน 30 กิโลกรัมต่อตารางเมตรถือว่าเป็ นโรคอ้วน โดยในช่วง 25-30 กิโลกรัมต่อตารางเมตรนิยามเป็นน้าหนักเกิน โรคอ้วนเพิ่มโอกาสการป่วยเป็นโรคหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคหัวใจ เบาหวานชนิดที่ 2 ภาวะหยุดหายใจขณะหลับชนิดอุดกั้น มะเร็งบางชนิด และโรคข้อเสื่อม โรคอ้วนมีสาเหตุมาจากการรับพลังงานจากอาหารมากเกิน การขาดการออกกาลังกาย และความเสี่ยงทางพันธุกรรมร่วมกันมากที่สุด
  • 3. 3 แม้ว่าผู้ป่วยน้อยรายจะเกิดจากยีนหรือพันธุกรรม ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อยาหรือการป่วยจิตเวชเป็นหลัก สาหรับมุมมองที่ว่าคนอ้วนบางรายกินน้อยแต่น้าหนักเพิ่มเพราะเมแทบอลิซึมช้านั้น มีหลักฐานสนับสนุนจากัด โดยเฉลี่ยแล้ว คนอ้วนมีการเสียพลังงานมากกว่าคนผอมเนื่องจากต้องใช้พลังงานมากกว่าในการรั กษามวลร่างกายที่เพิ่มขึ้นคนอ้วนจึงเหนื่อยเร็วกว่าคนผอม การจากัดอาหารและการออกกาลังกายเป็นหลักของการรักษาโรคอ้วน สามารถปรับปรุงคุณภาพอาหารได้โดยการลดการบริโภคอาหารพลังงานสูง เช่น อาหารที่มีไขมันและน้าตาลสูง และโดยการเพิ่มการรับใยอาหาร อาจบริโภคยาลดวามอ้วนเพื่อลดความอยากอาหาร หรือลดการดูดซึมไขมันเมื่อใช้ร่วมกันกับอาหารที่เหมาะสมหากอาหาร การออกกาลังกายและยาไม่ได้ผล การทาบอลลูนกระเพาะอาหาร (gastric ballon) อาจช่วยให้น้าหนักลดได้ หรืออาจมีการผ่าตัดเพื่อลดปริมาตรกระเพาะอาหารและความยาวลาไส้ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งทาให้รู้สึกอิ่มเร็วขึ้นและลดความสามารถในการดูดซึมสารอาหาร โรคอ้วนเป็นสาเหตุการตายอันดับต้น ๆ ทั่วโลกที่สามารถป้องกันได้ โดยมีอัตราเพิ่มขึ้นทั้งในผู้ใหญ่และเด็ก ทางการมองว่าโรคอ้วนเป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่ร้ายแรงที่สุดในคริสต์ศตวรร ษที่ 21 ดังนั้นโครงงานนี้จึงจัดทาขึ้นเพื่อศึกษาโรคนี้และนาความรู้ที่ได้จากการศึกษามาปรั บใช้แก่กลุ่มคนที่มีภาวะเสี่ยงหรือเป็ นโรคอ้วนเพื่อให้กลุ่มคนเหล่านี้มีสุขภาพที่แข็งแ รง และปลอดภัยจากโรคร้ายต่างๆ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ความรู้กับบุคคลทั่วไปและกลุ่มบุคคลที่เป็ นโรคหรือมีภาวะเสี่ยง 2.เพื่อเสนอแนวทางการรักษาโรคอ้วนอย่างถูกวิธี 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเปิดใจที่จะรักษาและมีสภาพร่างกายที่ดีขึ้น 4.เพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ขอบเขตโครงงาน โครงงานนี้ศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการรักษาโรคอ้วนที่ถูกวิธีเพื่อให้ผู้ป่วยมีสุขภาพที่ ดีต่อตนเองโดยโครงงานนี้จากัดขอบเขตเพียงนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและทฤษฎี
  • 4. 4 อาหารที่คนส่วนใหญ่มักบริโภคก็คืออาหารที่ไขมันค่อนข้างสูงและเมื่อร่างกายได้รับ ปริมาณที่มากเกินไปจะทาให้ร่างกายเกิดการแปรรูปไขมันกักเก็บเอาไว้ในบริเวณใ ต้ผิวหนังของเรา และเมื่อเราบริโภคอาหารเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง ก็จะเกิดการสะสมไขมันในร่างกายมากขึ้น และกลายเป็นโรคอ้วนในที่สุด ซึ่งโรคอ้วนนั้นเป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพต่างๆที่ตามมา เช่นการเคลื่อนที่ลาบาก หายใจได้ไม่สะดวก เหนื่อยง่าย เป็นต้น และเป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายแรงต่างๆตามมา เช่น โรคหัวใจ ความดัน เบาหวาน ไขมันอุดตันในเส้นเลือด ข้อกระดูกเสื่อม โรคอ้วนเป็นสภาวะทางการแพทย์ที่มีการสะสมไขมันในร่างกายมากถึงขนาดที่อาจมี ผลเสียต่อสุขภาพ ทาให้มีอายุสั้นลง และมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น สาเหตุเกิดจากอะไรได้บ้าง  กรรมพันธุ์ - ถ้าพ่อและแม่อ้วนทั้งคู่ลูกจะมีโอกาสอ้วนถึงร้อยละ 80 แต่ถ้าพ่อหรือแม่คนใดคนหนึ่งที่อ้วนลูกจะมีโอกาสอ้วนถึงร้อยละ 40 แต่ไม่ควรที่จะวิตกกังวลจนเกินเหตุ ไม่ใช่ว่าคุณจะสิ้นโอกาสผอมหรือหุ่นดี  นิสัยจากการรับประทานอาหาร - คนที่มีนิสัยไม่ดีในการรับประทานอาหาร หรือที่เรียกกันว่า กินจุบจิบ ไม่เป็นเวลาก็ทาให้อ้วนขึ้นได้  การไม่ออกกาลังกาย - ถ้ารับประทานอาหารที่มากเกินพอดี แต่มีการออกกาลังกาย บ้างก็อาจทาให้ยืดเวลาความอ้วน แต่ถ้ารับประทานอาหารที่มากเกินพอดีแล้วนั่งๆ นอนๆ โดยไร้ซึ่งการยืดเส้นยืดสาย ในไม่ช้าก็จะเกิดการสะสมไขมันในร่างกาย  อารมณ์และจิตใจ - มีบางคนที่รับประทานอาหารตามอารมณ์และจิตใจ เช่น กินอาหารเพื่อดับความโกรธแค้น กลุ้มใจ กังวลใจ บุคคลเหล่านี้จะรู้สึกว่าอาหารทาให้ใจสงบ จึงยึดอาหารไว้เป็นสิ่งที่สร้างความสบายใจ - แต่ในทางกลับกัน บางคนที่รู้สึกเสียใจ กลุ้มใจ ก็กินอาหารไม่ได้ ถ้าในระยะเวลานานๆ ก็มีผลทาให้เกิดการขาดอาหาร ฯลฯ  ความไม่สมดุลกับความรู้สึกอิ่ม ความหิว ความอยากอาหาร - เมื่อใดที่ความอยากกินเพิ่มขึ้นเมื่อนั้นการบริโภคก็จะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งถึงขั้น "กินจุ" ในที่สุดก็จะทาให้เกิดความอ้วน  เพศ - ผู้หญิงสามารถอ้วนได้ง่ายกว่าผู้ชาย เพราะโดยธรรมชาติมักสรรหาอาหารมากินได้ตลอดเวลา อีกทั้งผู้หญิงจะต้องตั้งครรภ์ทาให้น้าหนักตัวมากขึ้น เพราะต้องกินอาหารมากขึ้น เพื่อบารุงร่างกายและทารกในครรภ์ และบางคนหลังจากคลอดบุตรแล้วก็ไม่สามารถลดน้าหนักลงให้เท่ากับเมื่อก่อน ตั้งครรภ์ได้
  • 5. 5  อายุ - เมื่ออายุมากขึ้น โอกาสที่จะอ้วนก็เพิ่มขึ้น ทั้งผู้ชายและผู้หญิง ซึ่งอาจเกิดจากการใช้พลังงานน้อยลง  กระบวนการทางเคมีที่เกิดกับร่างกาย  ยา - ผู้ป่วยบางโรคนั้น จะได้รับสเตียรอยด์เป็นเวลานานก็ทาให้อ้วนได้ และในผู้หญิงที่ฉีดยาหรือใช้ยาคุมกาเนิด ก็ทาให้อ้วนได้เหมือนกัน  โรคบางชนิด เช่น ไฮโปไทรอยด์ โรคนี้รักษาได้อย่างไรบ้าง การบริโภคอาหารและเครื่องดื่ม การปรับพฤติกรรมการกินช่วยลดน้าหนักและควบ คุมปริมาณแคลอรี่ที่ร่างกายจะได้รับ เป็นการรักษาที่ได้ผลดีในระยะยาว เริ่มจากการศึกษาปริมาณแคลอรี่ที่ร่างกายควรได้รับต่อวัน แคลอรี่ที่ได้จากอาหารแต่ละชนิด แล้ววางแผน ตั้งเป้าหมาย ควบคุมน้าหนักและลดปริมาณแคลอรี่ลงภายใน 6 เดือน อย่างการจัดทาเมนูอาหารในแต่ละวันตามปริมาณแคลอรี่และสารอาหารที่ร่างกายค วรได้รับอย่างเหมาะสม สาหรับผู้ชายที่ต้องการลดน้าหนัก ควรบริโภค 1,500-1,800 แคลอรี่/วัน ส่วนผู้หญิงควรบริโภคแคลอรี่ 1,200-1,500 แคลอรี่/วัน ตัวอย่างปริมาณแคลอรี่ในอาหารจานเดียว  ข้าวมันไก่ ปริมาณ 259 กรัม มีพลังงาน 619 แคลอรี่  ข้าวผัดหมู ปริมาณ 315 กรัม มีพลังงาน 581 แคลอรี่  ข้าวหมูแดง + น้าราด ปริมาณ 352 กรัม มีพลังงาน 521 แคลอรี่  ก๋วยเตี๋ยวเส้นเล็กน้า หมู ปริมาณ 507 กรัม มีพลังงาน 401 แคลอรี่  ขนมจีนแกงเขียวหวาน ปริมาณ 370 กรัม มีพลังงาน 416 แคลอรี่  ขนมจีนน้ายากะทิ ปริมาณ 342 กรัม มีพลังงาน 346 แคลอรี่  ขนมจีนน้าเงี้ยว ปริมาณ 480 กรัม มีพลังงาน 308 แคลอรี่  สุกี้ไก่ น้า ปริมาณ 540 กรัม มีพลังงาน 253 แคลอรี่  เกี๊ยวน้า ปริมาณ 523 กรัม มีพลังงาน 141 แคลอรี่ ในการลดน้าหนัก ควรหลีกเลี่ยงและลดการบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีไขมันสูงและมีน้าตาล อย่างอาหารทอด เนื้อสัตว์ติดมัน ขนมหวาน ลูกอม ลูกกวาด น้าหวาน น้าอัดลม แอลกอฮอล์ เพราะอาหารบางชนิด แม้จะรับประทานในปริมาณน้อย แต่มีปริมาณแคลอรี่และน้าตาลสูง รวมทั้งหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารมื้อหนักหรือปริมาณมากอย่างอาหารประเภท บุฟเฟ่ต์ด้วย ควรเน้นรับประทานพวกธัญพืช ถั่ว ผัก ผลไม้ เพราะเป็นอาหารที่มีประโยชน์ สามารถรับประทานได้ในปริมาณมาก มีแคลอรี่ต่า แต่มีสารอาหารที่จาเป็นอย่างแคลเซียมและวิตามินสูง และควรเลือกรับประทานแต่เนื้อสัตว์ที่ไม่มีไขมัน นมไขมันต่าหรือพร่องมันเนย เพื่อลดการสะสมไขมันภายในร่างกาย
  • 6. 6 หลังผ่านไป 6 เดือน และแผนการลดน้าหนักประสบความเร็จ ให้ควบคุมอาหารต่อไปอย่างน้อยอีก 1 ปี เพื่อปรับสภาพร่างกายให้คงที่และเคยชินกับการรับประทานอาหารอย่างเหมาะสม จากนั้นควรเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ดีต่อสุขภาพ ให้พลังงานในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย และไม่รับประทานอาหารแคลอรี่สูงจนเสี่ยงต่อการสะสมของไขมันที่จะทาให้เกิดภา วะอ้วนได้ ทั้งนี้ ไม่ควรอดอาหาร หรือลดปริมาณแคลอรี่ลงทันที อย่างการรับประทานโปรตีนแท่งทดแทนมื้ออาหาร เพราะแม้จะช่วยให้ลดน้าหนักได้อย่างรวดเร็ว แต่ไม่ใช่วิธีการรักษาดูแลสุขภาพของภาวะอ้วนในระยะยาว อาจส่งผลเสียต่อร่างกายจากปริมาณอาหารและแคลอรี่ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว และเมื่อหยุดใช้วิธีดังกล่าว ก็จะทาให้กลับมามีพฤติกรรมการกินที่นาไปสู่ภาวะอ้วนได้เช่นเดิม การออกกาลังกาย ผู้ที่มีน้าหนักเกินและผู้ที่อยู่ในภาวะอ้วน ต้องออกกาลังกายมากขึ้นกว่าปกติ เพื่อกระตุ้นการเผาผลาญไขมันส่วนเกินที่สะสมอยู่ในร่างกาย ควรออกกาลังกายอย่างน้อย 150 นาที/สัปดาห์ ด้วยการเดิน วิ่ง เต้นแอโรบิก ปั่นจักรยาน ว่ายน้า เล่นกีฬา การออกกาลังกายเฉพาะส่วน อย่างการใช้เครื่องออกกาลังกาย การยกน้าหนัก หรือออกกาลังกายแบบผสมผสานกันหลายประเภท แม้จะยากลาบากในตอนเริ่มต้น เพราะอาจมีความปวดเมื่อยเหนื่อยล้าของกล้ามเนื้อแต่ละส่วน แต่เมื่อออกกาลังกายไปสักระยะหนึ่งแล้ว ร่างกายจะเริ่มปรับตัวได้ดีขึ้น อาจเพิ่มเวลาในการออกกาลังกายขึ้นเป็น 300 นาที/สัปดาห์ หรือมากกว่านั้น ตามความเหมาะสมต่อสภาพร่างกาย การออกกาลังกายไม่ได้จากัดแต่เพียงในโรงยิม เพราะสามารถเปลี่ยนกิจกรรมที่ทาในชีวิตประจาวันให้เป็นการออกกาลังกายไปในข ณะเดียวกันได้ด้วย เช่น การยืดเส้นยืดสายหลังตื่นนอน การทางานบ้านด้วยตนเอง ลดการใช้สิ่งอานวยความสะดวกลง การเดินให้มากขึ้น อย่างเดินไปเรียน ไปทางาน หรือจอดรถในที่จอดไกล ๆ แล้วเดินไปยังจุดหมายแทน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทั้งพฤติกรรมการกินและพฤติกรรมการใช้ชีวิตล้วนส่งผล ต่อภาวะอ้วนทั้งสิ้น หากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้วยตนเองเป็ นเรื่องที่ยากลาบาก หรือมีสภาวะทางจิตใจที่ไม่มั่นคงและต้องการความช่วยเหลือและคาแนะนา สามารถเข้ารับการปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ เพื่อช่วยให้ผู้เผชิญภาวะอ้วนทาความเข้าใจกับปัญหาของตน ตระหนักถึงปัจจัยที่ทาให้เกิดภาวะอ้วน ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นตามมา ความสาคัญของการรักษา หาวิธีจัดการความเครียดความวิตกกังวลที่เกิดขึ้น แล้ววางแผนรักษาและดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้
  • 7. 7 การเข้ากลุ่มบาบัด ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ทาให้ผู้ที่อยู่ในภาวะอ้วนเช่นเดียวกัน และมีประสบการณ์คล้ายกัน ได้มาเข้าร่วมกลุ่มพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน แล้วตั้งเป้าหมายวางแผนการลดน้าหนักร่วมกันภายใต้การดูแลของแพทย์ การใช้ยาลดน้าหนัก ในบางรายที่มีข้อจากัดสาคัญทาให้ไม่สามารถรักษาด้วยวิธีอื่นไ ด้ผล แพทย์อาจจ่ายยาลดน้าหนักให้เพื่อรักษาอาการ เช่น ผู้ป่วยที่มีค่า BMI ตั้งแต่ 28 ขึ้นไปที่ป่วยด้วยความดันโลหิตสูง หรือเป็นเบาหวานประเภทที่ 2 จึงไม่สามารถออกกาลังกายที่ต้องใช้แรงมาก ๆ หรือไม่สามารถออกกาลังกายเป็นเวลานาน ๆ ได้ ปัจจุบันยาลดน้าหนักหรือยาลดความอ้วนกาลังอยู่ในขั้นทดสอบ แต่มีเพียงยาชนิดเดียวที่ได้รับการรับรองว่าปลอดภัยและมีประสิทธิภาพทางการรักษ าภาวะอ้วน คือ Orlistat ยาตัวนี้จะช่วยป้องกันไม่ให้ร่างกายดูดซึมไขมันจากอาหารที่กินประมาณ 1 ใน 3 ส่วน แต่จะส่งผ่านไขมันไปยังระบบขับถ่ายแทน ผู้ป่วยควรควบคุมการกินและการออกกาลังกายควบคู่ไปกับการใช้ยา และแม้หยุดใช้ยาก็ต้องควบคุมพฤติกรรมของตนต่อไปเพื่อไม่ให้น้าหนักเพิ่มขึ้นได้ อีก Orlistat เป็นยาแคปซูลสาหรับรับประทานก่อนหรือหลังอาหารมื้อหลักหนึ่งชั่วโมง หรือรับประทานพร้อมมื้ออาหาร ใช้ยาไม่เกินวันละ 3 แคปซูล หลังใช้ยา น้าหนักของผู้ป่วยจะลดลงประมาณ 5% ภายใน 3 เดือน แต่หากน้าหนักไม่ลดลงควรปรึกษาแพทย์เพื่อหาทางรักษาอื่นที่ได้ผล การใช้ยาลดน้าหนักต้องใช้ภายใต้ใบสั่งแพทย์เท่านั้น และรับประทานยาตามที่กาหนด หลังใช้ยาอาจเห็นผลน้อยหรือช้าหากมีอาการป่วยโรคอื่นร่วมด้วย ดังนั้น ควรแจ้งให้แพทย์ทราบถึงปัญหาสุขภาพที่กาลังเผชิญและยาหรือการรักษาที่กาลังใช้ อยู่ในปัจจุบันก่อนใช้ยาลดน้าหนัก และอาจมีผลข้างเคียงอย่างปวดหัว ปวดท้อง อุจจาระบ่อย อุจจาระมีไขมันปน มีไขมันไหลออกจากทวาร เป็นต้น ที่สาคัญคือไม่ควรใช้ยาลดน้าหนักเองเด็ดขาด เพราะเป็นอันตรายถึงชีวิตหากใช้ยาไม่ถูกต้องหรือใช้เกินขนาด การผ่าตัดลดความอ้วน (Bariatric Surgery) แพทย์จะมีดุลยพินิจให้ผู้ป่วยภาวะอ้วนอย่างรุนแรงบางรายเข้ารับการผ่า ตัด อย่างผู้ที่มีค่า BMI สูง ตั้งแต่ 40 ขึ้นไป หรือผู้ป่วยที่มีค่า BMI 35-40 ที่มีปัญหาสุขภาพร้ายแรง จาเป็นต้องรักษาด้วยการลดน้าหนักทันที เช่น ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานประเภทที่ 2 ผู้ที่รักษาภาวะอ้วนด้วยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผล โดยการผ่าตัดลดความอ้วนมีหลายวิธี ได้แก่  การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Roux-en-Y Gastric Bypass เป็นวิธีการผ่าตัดสร้างถุงที่กระเพาะอาหารส่วนบน และตัดลาไส้เล็กที่อยู่ด้านล่างของกระเพาะอาหารนามาเชื่อมต่อกับถุงที่สร้างไว้ ทาให้อาหารที่รับประทานจะถูกส่งไปยังลาไส้โดยตรง วิธีการนี้จะทาให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อยลงและรู้สึกอิ่มเร็วขึ้น
  • 8. 8  การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Laparoscopic Adjustable Gastric Banding (LAGB) แพทย์จะผ่าตัดนาห่วงที่ยืดหยุ่นได้ไปรัดกระเพาะแบ่งเป็น 2 ส่วน พื้นที่ว่างในกระเพาะอาหารจึงลดลง ทาให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารน้อยลงเพราะอิ่มเร็วขึ้น ห่วงนี้จะคงอยู่ได้อย่างถาวร โดยที่สามารถปรับขนาดและยืดขยายได้ในภายหลัง  การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Gastric Sleeve เป็นการผ่าตัดเอาบางส่วนของกระเพาะอาหารออกไป ให้เหลือเพียงกระเพาะอาหารที่เล็กลง เป็นวิธีการผ่าตัดที่มีความซับซ้อนน้อยกว่า 2 วิธีแรก และผู้ป่วยจะรับประทานอาหารได้น้อยลง เพราะมีกระเพาะอาหารที่เล็กลง  การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Biliopancreatic Diversion with Duodenal Switch แพทย์จะทาการผ่าตัดผนังกระเพาะอาหารส่วนใหญ่ออก ให้มีเพียงกระเพาะอาหารบางส่วนที่ยังทาหน้าที่เหมือนเดิม โดยกระเพาะอาหารส่วนนี้จะถูกนาไปต่อกับลาไส้เล็กส่วนบน ในขณะที่กระเพาะอาหารส่วนที่ถูกผ่าแยกออกไปจะถูกนาไปเชื่อมกับลาไส้เล็กส่วนล่ าง เพื่อให้ยังคงมีกระบวนการย่อยอาหารที่ลาไส้ส่วนนี้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับคุณครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ -ไม่มีค่าใช้จ่าย
  • 9. 9 ขั้นตอนและการดาเนินงาน ลาดับที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้จัดทามีความเข้าใจหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2. สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนได้จริง 3. สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้ 4. ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขึ้น สถานที่ดาเนินงาน 1. ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
  • 10. 10 แหล่งอ้างอิง การรัษาภาวะอ้วน เข้าถึงได้จากhttps://www.pobpad.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B 1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E 0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%99(วันที่สืบค้นข้อมูล : 31 มกราคม 2563) โรคอ้วน เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B9%89%E0%B8%A7 %E0%B8%99) (วันที่สืบค้นข้อมูล : 31 มกราคม 2563)