SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปี การศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน obesity
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ ธีรเทพ แก้วเรือนเลขที่6ชั้นม.6ห้อง8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพวิเตอร์
สมาชกิในกลุ่ม .……
2
นาย ธีรเทพ แก้วเรือน เลขที่ ม 6/8
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคอ้วน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)obesity
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทา นาย ธีรเทพ
แก้วเรือน
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง
มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม-
ระยะเวลาดาเนินงาน-
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันโลกได้มีวิวัฒนาการทางด้านอาหารมากมาย
อาหารที่คนส่วนใหญ่มักบริโภคก็คืออาหารที่ไขมันค่อนข้างสูงและเมื่อร่างกายได้รับ
ปริมาณที่มากเกินไปจะทาให้ร่างกายเกิดการแปรรูปไขมันกักเก็บเอาไว้ในบริเวณใ
ต้ผิวหนังของเรา และเมื่อเราบริโภคอาหารเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง
ก็จะเกิดการสะสมไขมันในร่างกายมากขึ้น และกลายเป็นโรคอ้วนในที่สุด
ซึ่งโรคอ้วนนั้นเป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพต่างๆที่ตามมา เช่นการเคลื่อนที่ลาบาก
หายใจได้ไม่สะดวก เหนื่อยง่าย เป็นต้น
และเป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายแรงต่างๆตามมา เช่น โรคหัวใจ ความดัน
เบาหวาน ไขมันอุดตันในเส้นเลือด ข้อกระดูกเสื่อม
โรคอ้วนเป็นสภาวะทางการแพทย์ที่มีการสะสมไขมันในร่างกายมากถึงขนาดที่อาจมี
ผลเสียต่อสุขภาพ ทาให้มีอายุสั้นลง และมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น
หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง การพิจารณาว่าบุคคลใดอ้วนนั้นพิจารณาจากดัชนีมวลกาย (
BMI) ซึ่งเป็นการวัด มีค่าเท่ากับน้าหนัก (หน่วยเป็นกิโลกรัม) หารด้วยส่วนสูง
(หน่วยเป็นเมตร) ยกกาลังสอง บุคคลที่มีดัชนีมวลกายเกิน 30
กิโลกรัมต่อตารางเมตรถือว่าเป็ นโรคอ้วน โดยในช่วง 25-30
กิโลกรัมต่อตารางเมตรนิยามเป็นน้าหนักเกิน
โรคอ้วนเพิ่มโอกาสการป่วยเป็นโรคหลายอย่าง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคหัวใจ เบาหวานชนิดที่
2 ภาวะหยุดหายใจขณะหลับชนิดอุดกั้น มะเร็งบางชนิด
และโรคข้อเสื่อม โรคอ้วนมีสาเหตุมาจากการรับพลังงานจากอาหารมากเกิน
การขาดการออกกาลังกาย และความเสี่ยงทางพันธุกรรมร่วมกันมากที่สุด
3
แม้ว่าผู้ป่วยน้อยรายจะเกิดจากยีนหรือพันธุกรรม
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อยาหรือการป่วยจิตเวชเป็นหลัก
สาหรับมุมมองที่ว่าคนอ้วนบางรายกินน้อยแต่น้าหนักเพิ่มเพราะเมแทบอลิซึมช้านั้น
มีหลักฐานสนับสนุนจากัด โดยเฉลี่ยแล้ว
คนอ้วนมีการเสียพลังงานมากกว่าคนผอมเนื่องจากต้องใช้พลังงานมากกว่าในการรั
กษามวลร่างกายที่เพิ่มขึ้นคนอ้วนจึงเหนื่อยเร็วกว่าคนผอม
การจากัดอาหารและการออกกาลังกายเป็นหลักของการรักษาโรคอ้วน
สามารถปรับปรุงคุณภาพอาหารได้โดยการลดการบริโภคอาหารพลังงานสูง เช่น
อาหารที่มีไขมันและน้าตาลสูง
และโดยการเพิ่มการรับใยอาหาร อาจบริโภคยาลดวามอ้วนเพื่อลดความอยากอาหาร
หรือลดการดูดซึมไขมันเมื่อใช้ร่วมกันกับอาหารที่เหมาะสมหากอาหาร
การออกกาลังกายและยาไม่ได้ผล การทาบอลลูนกระเพาะอาหาร (gastric ballon)
อาจช่วยให้น้าหนักลดได้
หรืออาจมีการผ่าตัดเพื่อลดปริมาตรกระเพาะอาหารและความยาวลาไส้
หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง
ซึ่งทาให้รู้สึกอิ่มเร็วขึ้นและลดความสามารถในการดูดซึมสารอาหาร
โรคอ้วนเป็นสาเหตุการตายอันดับต้น ๆ ทั่วโลกที่สามารถป้องกันได้
โดยมีอัตราเพิ่มขึ้นทั้งในผู้ใหญ่และเด็ก
ทางการมองว่าโรคอ้วนเป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่ร้ายแรงที่สุดในคริสต์ศตวรร
ษที่ 21
ดังนั้นโครงงานนี้จึงจัดทาขึ้นเพื่อศึกษาโรคนี้และนาความรู้ที่ได้จากการศึกษามาปรั
บใช้แก่กลุ่มคนที่มีภาวะเสี่ยงหรือเป็นโรคอ้วนเพื่อให้กลุ่มคนเหล่านี้มีสุขภาพที่แข็งแ
รง และปลอดภัยจากโรคร้ายต่างๆ
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ความรู้กับบุคคลทั่วไปและกลุ่มบุคคลที่เป็ นโรคหรือมีภาวะเสี่ยง
2.เพื่อเสนอแนวทางการรักษาโรคอ้วนอย่างถูกวิธี
3.เพื่อให้ผู้ป่วยเปิดใจที่จะรักษาและมีสภาพร่างกายที่ดีขึ้น
4.เพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
ขอบเขตโครงงาน
โครงงานนี้ศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการรักษาโรคอ้วนที่ถูกวิธีเพื่อให้ผู้ป่วยมีสุขภาพที่
ดีต่อตนเองโดยโครงงานนี้จากัดขอบเขตเพียงนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและทฤษฎี
4
อาหารที่คนส่วนใหญ่มักบริโภคก็คืออาหารที่ไขมันค่อนข้างสูงและเมื่อร่างกายได้รับ
ปริมาณที่มากเกินไปจะทาให้ร่างกายเกิดการแปรรูปไขมันกักเก็บเอาไว้ในบริเวณใ
ต้ผิวหนังของเรา และเมื่อเราบริโภคอาหารเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง
ก็จะเกิดการสะสมไขมันในร่างกายมากขึ้น และกลายเป็นโรคอ้วนในที่สุด
ซึ่งโรคอ้วนนั้นเป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพต่างๆที่ตามมา เช่นการเคลื่อนที่ลาบาก
หายใจได้ไม่สะดวก เหนื่อยง่าย เป็นต้น
และเป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายแรงต่างๆตามมา เช่น โรคหัวใจ ความดัน
เบาหวาน ไขมันอุดตันในเส้นเลือด ข้อกระดูกเสื่อม
โรคอ้วนเป็นสภาวะทางการแพทย์ที่มีการสะสมไขมันในร่างกายมากถึงขนาดที่อาจมี
ผลเสียต่อสุขภาพ ทาให้มีอายุสั้นลง และมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น
สาเหตุเกิดจากอะไรได้บ้าง
 กรรมพันธุ์ - ถ้าพ่อและแม่อ้วนทั้งคู่ลูกจะมีโอกาสอ้วนถึงร้อยละ 80
แต่ถ้าพ่อหรือแม่คนใดคนหนึ่งที่อ้วนลูกจะมีโอกาสอ้วนถึงร้อยละ 40
แต่ไม่ควรที่จะวิตกกังวลจนเกินเหตุ ไม่ใช่ว่าคุณจะสิ้นโอกาสผอมหรือหุ่นดี
 นิสัยจากการรับประทานอาหาร -
คนที่มีนิสัยไม่ดีในการรับประทานอาหาร หรือที่เรียกกันว่า กินจุบจิบ
ไม่เป็นเวลาก็ทาให้อ้วนขึ้นได้
 การไม่ออกกาลังกาย
- ถ้ารับประทานอาหารที่มากเกินพอดี แต่มีการออกกาลังกาย
บ้างก็อาจทาให้ยืดเวลาความอ้วน แต่ถ้ารับประทานอาหารที่มากเกินพอดีแล้วนั่งๆ
นอนๆ โดยไร้ซึ่งการยืดเส้นยืดสาย ในไม่ช้าก็จะเกิดการสะสมไขมันในร่างกาย
 อารมณ์และจิตใจ - มีบางคนที่รับประทานอาหารตามอารมณ์และจิตใจ เช่น
กินอาหารเพื่อดับความโกรธแค้น กลุ้มใจ กังวลใจ
บุคคลเหล่านี้จะรู้สึกว่าอาหารทาให้ใจสงบ
จึงยึดอาหารไว้เป็นสิ่งที่สร้างความสบายใจ - แต่ในทางกลับกัน
บางคนที่รู้สึกเสียใจ กลุ้มใจ ก็กินอาหารไม่ได้ ถ้าในระยะเวลานานๆ
ก็มีผลทาให้เกิดการขาดอาหาร ฯลฯ
 ความไม่สมดุลกับความรู้สึกอิ่ม ความหิว ความอยากอาหาร -
เมื่อใดที่ความอยากกินเพิ่มขึ้นเมื่อนั้นการบริโภคก็จะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งถึงขั้น
"กินจุ" ในที่สุดก็จะทาให้เกิดความอ้วน
 เพศ - ผู้หญิงสามารถอ้วนได้ง่ายกว่าผู้ชาย
เพราะโดยธรรมชาติมักสรรหาอาหารมากินได้ตลอดเวลา
อีกทั้งผู้หญิงจะต้องตั้งครรภ์ทาให้น้าหนักตัวมากขึ้น
เพราะต้องกินอาหารมากขึ้น เพื่อบารุงร่างกายและทารกในครรภ์
และบางคนหลังจากคลอดบุตรแล้วก็ไม่สามารถลดน้าหนักลงให้เท่ากับเมื่อก่อน
ตั้งครรภ์ได้
5
 อายุ - เมื่ออายุมากขึ้น โอกาสที่จะอ้วนก็เพิ่มขึ้น ทั้งผู้ชายและผู้หญิง
ซึ่งอาจเกิดจากการใช้พลังงานน้อยลง
 กระบวนการทางเคมีที่เกิดกับร่างกาย
 ยา - ผู้ป่วยบางโรคนั้น จะได้รับสเตียรอยด์เป็นเวลานานก็ทาให้อ้วนได้
และในผู้หญิงที่ฉีดยาหรือใช้ยาคุมกาเนิด ก็ทาให้อ้วนได้เหมือนกัน
 โรคบางชนิด เช่น ไฮโปไทรอยด์
โรคนี้รักษาได้อย่างไรบ้าง
การบริโภคอาหารและเครื่องดื่ม การปรับพฤติกรรมการกินช่วยลดน้าหนักและควบ
คุมปริมาณแคลอรี่ที่ร่างกายจะได้รับ เป็นการรักษาที่ได้ผลดีในระยะยาว
เริ่มจากการศึกษาปริมาณแคลอรี่ที่ร่างกายควรได้รับต่อวัน
แคลอรี่ที่ได้จากอาหารแต่ละชนิด แล้ววางแผน ตั้งเป้าหมาย
ควบคุมน้าหนักและลดปริมาณแคลอรี่ลงภายใน 6 เดือน
อย่างการจัดทาเมนูอาหารในแต่ละวันตามปริมาณแคลอรี่และสารอาหารที่ร่างกายค
วรได้รับอย่างเหมาะสม
สาหรับผู้ชายที่ต้องการลดน้าหนัก ควรบริโภค 1,500-1,800 แคลอรี่/วัน
ส่วนผู้หญิงควรบริโภคแคลอรี่ 1,200-1,500 แคลอรี่/วัน
ตัวอย่างปริมาณแคลอรี่ในอาหารจานเดียว
 ข้าวมันไก่ ปริมาณ 259 กรัม มีพลังงาน 619 แคลอรี่
 ข้าวผัดหมู ปริมาณ 315 กรัม มีพลังงาน 581 แคลอรี่
 ข้าวหมูแดง + น้าราด ปริมาณ 352 กรัม มีพลังงาน 521 แคลอรี่
 ก๋วยเตี๋ยวเส้นเล็กน้า หมู ปริมาณ 507 กรัม มีพลังงาน 401 แคลอรี่
 ขนมจีนแกงเขียวหวาน ปริมาณ 370 กรัม มีพลังงาน 416 แคลอรี่
 ขนมจีนน้ายากะทิ ปริมาณ 342 กรัม มีพลังงาน 346 แคลอรี่
 ขนมจีนน้าเงี้ยว ปริมาณ 480 กรัม มีพลังงาน 308 แคลอรี่
 สุกี้ไก่ น้า ปริมาณ 540 กรัม มีพลังงาน 253 แคลอรี่
 เกี๊ยวน้า ปริมาณ 523 กรัม มีพลังงาน 141 แคลอรี่
ในการลดน้าหนัก
ควรหลีกเลี่ยงและลดการบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีไขมันสูงและมีน้าตาล
อย่างอาหารทอด เนื้อสัตว์ติดมัน ขนมหวาน ลูกอม ลูกกวาด น้าหวาน น้าอัดลม
แอลกอฮอล์ เพราะอาหารบางชนิด แม้จะรับประทานในปริมาณน้อย
แต่มีปริมาณแคลอรี่และน้าตาลสูง
รวมทั้งหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารมื้อหนักหรือปริมาณมากอย่างอาหารประเภท
บุฟเฟ่ต์ด้วย ควรเน้นรับประทานพวกธัญพืช ถั่ว ผัก ผลไม้
เพราะเป็นอาหารที่มีประโยชน์ สามารถรับประทานได้ในปริมาณมาก มีแคลอรี่ต่า
แต่มีสารอาหารที่จาเป็นอย่างแคลเซียมและวิตามินสูง
และควรเลือกรับประทานแต่เนื้อสัตว์ที่ไม่มีไขมัน นมไขมันต่าหรือพร่องมันเนย
เพื่อลดการสะสมไขมันภายในร่างกาย
6
หลังผ่านไป 6 เดือน และแผนการลดน้าหนักประสบความเร็จ
ให้ควบคุมอาหารต่อไปอย่างน้อยอีก 1 ปี
เพื่อปรับสภาพร่างกายให้คงที่และเคยชินกับการรับประทานอาหารอย่างเหมาะสม
จากนั้นควรเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ดีต่อสุขภาพ
ให้พลังงานในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
และไม่รับประทานอาหารแคลอรี่สูงจนเสี่ยงต่อการสะสมของไขมันที่จะทาให้เกิดภา
วะอ้วนได้
ทั้งนี้ ไม่ควรอดอาหาร หรือลดปริมาณแคลอรี่ลงทันที
อย่างการรับประทานโปรตีนแท่งทดแทนมื้ออาหาร
เพราะแม้จะช่วยให้ลดน้าหนักได้อย่างรวดเร็ว
แต่ไม่ใช่วิธีการรักษาดูแลสุขภาพของภาวะอ้วนในระยะยาว
อาจส่งผลเสียต่อร่างกายจากปริมาณอาหารและแคลอรี่ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็
ว และเมื่อหยุดใช้วิธีดังกล่าว
ก็จะทาให้กลับมามีพฤติกรรมการกินที่นาไปสู่ภาวะอ้วนได้เช่นเดิม
การออกกาลังกาย ผู้ที่มีน้าหนักเกินและผู้ที่อยู่ในภาวะอ้วน
ต้องออกกาลังกายมากขึ้นกว่าปกติ
เพื่อกระตุ้นการเผาผลาญไขมันส่วนเกินที่สะสมอยู่ในร่างกาย
ควรออกกาลังกายอย่างน้อย 150 นาที/สัปดาห์ ด้วยการเดิน วิ่ง เต้นแอโรบิก
ปั่นจักรยาน ว่ายน้า เล่นกีฬา การออกกาลังกายเฉพาะส่วน
อย่างการใช้เครื่องออกกาลังกาย การยกน้าหนัก
หรือออกกาลังกายแบบผสมผสานกันหลายประเภท แม้จะยากลาบากในตอนเริ่มต้น
เพราะอาจมีความปวดเมื่อยเหนื่อยล้าของกล้ามเนื้อแต่ละส่วน
แต่เมื่อออกกาลังกายไปสักระยะหนึ่งแล้ว ร่างกายจะเริ่มปรับตัวได้ดีขึ้น
อาจเพิ่มเวลาในการออกกาลังกายขึ้นเป็น 300 นาที/สัปดาห์ หรือมากกว่านั้น
ตามความเหมาะสมต่อสภาพร่างกาย
การออกกาลังกายไม่ได้จากัดแต่เพียงในโรงยิม
เพราะสามารถเปลี่ยนกิจกรรมที่ทาในชีวิตประจาวันให้เป็นการออกกาลังกายไปในข
ณะเดียวกันได้ด้วย เช่น การยืดเส้นยืดสายหลังตื่นนอน การทางานบ้านด้วยตนเอง
ลดการใช้สิ่งอานวยความสะดวกลง การเดินให้มากขึ้น อย่างเดินไปเรียน ไปทางาน
หรือจอดรถในที่จอดไกล ๆ แล้วเดินไปยังจุดหมายแทน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทั้งพฤติกรรมการกินและพฤติกรรมการใช้ชีวิตล้วนส่งผล
ต่อภาวะอ้วนทั้งสิ้น หากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้วยตนเองเป็ นเรื่องที่ยากลาบาก
หรือมีสภาวะทางจิตใจที่ไม่มั่นคงและต้องการความช่วยเหลือและคาแนะนา
สามารถเข้ารับการปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์
เพื่อช่วยให้ผู้เผชิญภาวะอ้วนทาความเข้าใจกับปัญหาของตน
ตระหนักถึงปัจจัยที่ทาให้เกิดภาวะอ้วน ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นตามมา
ความสาคัญของการรักษา หาวิธีจัดการความเครียดความวิตกกังวลที่เกิดขึ้น
แล้ววางแผนรักษาและดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้
7
การเข้ากลุ่มบาบัด ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ทาให้ผู้ที่อยู่ในภาวะอ้วนเช่นเดียวกัน
และมีประสบการณ์คล้ายกัน ได้มาเข้าร่วมกลุ่มพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน
แล้วตั้งเป้าหมายวางแผนการลดน้าหนักร่วมกันภายใต้การดูแลของแพทย์
การใช้ยาลดน้าหนัก ในบางรายที่มีข้อจากัดสาคัญทาให้ไม่สามารถรักษาด้วยวิธีอื่นไ
ด้ผล แพทย์อาจจ่ายยาลดน้าหนักให้เพื่อรักษาอาการ เช่น ผู้ป่วยที่มีค่า BMI ตั้งแต่
28 ขึ้นไปที่ป่วยด้วยความดันโลหิตสูง หรือเป็นเบาหวานประเภทที่ 2
จึงไม่สามารถออกกาลังกายที่ต้องใช้แรงมาก ๆ
หรือไม่สามารถออกกาลังกายเป็นเวลานาน ๆ ได้
ปัจจุบันยาลดน้าหนักหรือยาลดความอ้วนกาลังอยู่ในขั้นทดสอบ
แต่มีเพียงยาชนิดเดียวที่ได้รับการรับรองว่าปลอดภัยและมีประสิทธิภาพทางการรักษ
าภาวะอ้วน คือ Orlistat
ยาตัวนี้จะช่วยป้องกันไม่ให้ร่างกายดูดซึมไขมันจากอาหารที่กินประมาณ 1 ใน 3
ส่วน แต่จะส่งผ่านไขมันไปยังระบบขับถ่ายแทน
ผู้ป่วยควรควบคุมการกินและการออกกาลังกายควบคู่ไปกับการใช้ยา
และแม้หยุดใช้ยาก็ต้องควบคุมพฤติกรรมของตนต่อไปเพื่อไม่ให้น้าหนักเพิ่มขึ้นได้
อีก
Orlistat เป็นยาแคปซูลสาหรับรับประทานก่อนหรือหลังอาหารมื้อหลักหนึ่งชั่วโมง
หรือรับประทานพร้อมมื้ออาหาร ใช้ยาไม่เกินวันละ 3 แคปซูล หลังใช้ยา
น้าหนักของผู้ป่วยจะลดลงประมาณ 5% ภายใน 3 เดือน
แต่หากน้าหนักไม่ลดลงควรปรึกษาแพทย์เพื่อหาทางรักษาอื่นที่ได้ผล
การใช้ยาลดน้าหนักต้องใช้ภายใต้ใบสั่งแพทย์เท่านั้น
และรับประทานยาตามที่กาหนด
หลังใช้ยาอาจเห็นผลน้อยหรือช้าหากมีอาการป่วยโรคอื่นร่วมด้วย ดังนั้น
ควรแจ้งให้แพทย์ทราบถึงปัญหาสุขภาพที่กาลังเผชิญและยาหรือการรักษาที่กาลังใช้
อยู่ในปัจจุบันก่อนใช้ยาลดน้าหนัก และอาจมีผลข้างเคียงอย่างปวดหัว ปวดท้อง
อุจจาระบ่อย อุจจาระมีไขมันปน มีไขมันไหลออกจากทวาร เป็นต้น
ที่สาคัญคือไม่ควรใช้ยาลดน้าหนักเองเด็ดขาด
เพราะเป็นอันตรายถึงชีวิตหากใช้ยาไม่ถูกต้องหรือใช้เกินขนาด
การผ่าตัดลดความอ้วน (Bariatric
Surgery) แพทย์จะมีดุลยพินิจให้ผู้ป่วยภาวะอ้วนอย่างรุนแรงบางรายเข้ารับการผ่า
ตัด อย่างผู้ที่มีค่า BMI สูง ตั้งแต่ 40 ขึ้นไป หรือผู้ป่วยที่มีค่า BMI 35-40
ที่มีปัญหาสุขภาพร้ายแรง จาเป็นต้องรักษาด้วยการลดน้าหนักทันที เช่น
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานประเภทที่ 2
ผู้ที่รักษาภาวะอ้วนด้วยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผล โดยการผ่าตัดลดความอ้วนมีหลายวิธี
ได้แก่
 การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Roux-en-Y Gastric
Bypass เป็นวิธีการผ่าตัดสร้างถุงที่กระเพาะอาหารส่วนบน
และตัดลาไส้เล็กที่อยู่ด้านล่างของกระเพาะอาหารนามาเชื่อมต่อกับถุงที่สร้างไว้
ทาให้อาหารที่รับประทานจะถูกส่งไปยังลาไส้โดยตรง
วิธีการนี้จะทาให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อยลงและรู้สึกอิ่มเร็วขึ้น
8
 การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Laparoscopic Adjustable Gastric
Banding (LAGB) แพทย์จะผ่าตัดนาห่วงที่ยืดหยุ่นได้ไปรัดกระเพาะแบ่งเป็น 2
ส่วน พื้นที่ว่างในกระเพาะอาหารจึงลดลง
ทาให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารน้อยลงเพราะอิ่มเร็วขึ้น ห่วงนี้จะคงอยู่ได้อย่างถาวร
โดยที่สามารถปรับขนาดและยืดขยายได้ในภายหลัง
 การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Gastric
Sleeve เป็นการผ่าตัดเอาบางส่วนของกระเพาะอาหารออกไป
ให้เหลือเพียงกระเพาะอาหารที่เล็กลง เป็นวิธีการผ่าตัดที่มีความซับซ้อนน้อยกว่า 2
วิธีแรก และผู้ป่วยจะรับประทานอาหารได้น้อยลง เพราะมีกระเพาะอาหารที่เล็กลง
 การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Biliopancreatic Diversion with
Duodenal Switch แพทย์จะทาการผ่าตัดผนังกระเพาะอาหารส่วนใหญ่ออก
ให้มีเพียงกระเพาะอาหารบางส่วนที่ยังทาหน้าที่เหมือนเดิม
โดยกระเพาะอาหารส่วนนี้จะถูกนาไปต่อกับลาไส้เล็กส่วนบน
ในขณะที่กระเพาะอาหารส่วนที่ถูกผ่าแยกออกไปจะถูกนาไปเชื่อมกับลาไส้เล็กส่วนล่
าง เพื่อให้ยังคงมีกระบวนการย่อยอาหารที่ลาไส้ส่วนนี้
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับคุณครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
-ไม่มีค่าใช้จ่าย
9
ขั้นตอนและการดาเนินงาน
ลาดับที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1 12
1
3
1
4
1
5 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้จัดทามีความเข้าใจหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2. สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนได้จริง
3. สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้
4. ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขึ้น
สถานที่ดาเนินงาน
1. ห้องคอมพิวเตอร์
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
10
แหล่งอ้างอิง
การรัษาภาวะอ้วน
เข้าถึงได้จากhttps://www.pobpad.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B
1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E
0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%99(วันที่สืบค้นข้อมูล : 31 มกราคม 2563)
โรคอ้วน เข้าถึงได้จาก :
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B9%89%E0%B8%A7
%E0%B8%99) (วันที่สืบค้นข้อมูล : 31 มกราคม 2563)

More Related Content

What's hot

โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักโครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักPao Pro
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)Nuties Electron
 
2562 final-project -31-nutchaya
2562 final-project -31-nutchaya2562 final-project -31-nutchaya
2562 final-project -31-nutchayaNatchaya49391
 

What's hot (6)

โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักโครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
 
2562 final-project -31-nutchaya
2562 final-project -31-nutchaya2562 final-project -31-nutchaya
2562 final-project -31-nutchaya
 

Similar to Obesity

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมjetaimej_
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาBream Mie
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่างAom Nachanok
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักโครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักPao Pro
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานDduang07
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Phimwaree
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sarita Witesd
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)Jutamas123
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกFrench Natthawut
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weedssuser8b5bea
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 

Similar to Obesity (20)

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่าง
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักโครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed
 
2560 project -1 new
2560 project -1 new2560 project -1 new
2560 project -1 new
 
Do you-know-green-tea
Do you-know-green-teaDo you-know-green-tea
Do you-know-green-tea
 
Final Project computer_4
Final Project computer_4Final Project computer_4
Final Project computer_4
 
โคร
โครโคร
โคร
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Obesity

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปี การศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน obesity ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ ธีรเทพ แก้วเรือนเลขที่6ชั้นม.6ห้อง8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพวิเตอร์ สมาชกิในกลุ่ม .……
  • 2. 2 นาย ธีรเทพ แก้วเรือน เลขที่ ม 6/8 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคอ้วน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)obesity ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทา นาย ธีรเทพ แก้วเรือน ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม- ระยะเวลาดาเนินงาน- ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันโลกได้มีวิวัฒนาการทางด้านอาหารมากมาย อาหารที่คนส่วนใหญ่มักบริโภคก็คืออาหารที่ไขมันค่อนข้างสูงและเมื่อร่างกายได้รับ ปริมาณที่มากเกินไปจะทาให้ร่างกายเกิดการแปรรูปไขมันกักเก็บเอาไว้ในบริเวณใ ต้ผิวหนังของเรา และเมื่อเราบริโภคอาหารเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง ก็จะเกิดการสะสมไขมันในร่างกายมากขึ้น และกลายเป็นโรคอ้วนในที่สุด ซึ่งโรคอ้วนนั้นเป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพต่างๆที่ตามมา เช่นการเคลื่อนที่ลาบาก หายใจได้ไม่สะดวก เหนื่อยง่าย เป็นต้น และเป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายแรงต่างๆตามมา เช่น โรคหัวใจ ความดัน เบาหวาน ไขมันอุดตันในเส้นเลือด ข้อกระดูกเสื่อม โรคอ้วนเป็นสภาวะทางการแพทย์ที่มีการสะสมไขมันในร่างกายมากถึงขนาดที่อาจมี ผลเสียต่อสุขภาพ ทาให้มีอายุสั้นลง และมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง การพิจารณาว่าบุคคลใดอ้วนนั้นพิจารณาจากดัชนีมวลกาย ( BMI) ซึ่งเป็นการวัด มีค่าเท่ากับน้าหนัก (หน่วยเป็นกิโลกรัม) หารด้วยส่วนสูง (หน่วยเป็นเมตร) ยกกาลังสอง บุคคลที่มีดัชนีมวลกายเกิน 30 กิโลกรัมต่อตารางเมตรถือว่าเป็ นโรคอ้วน โดยในช่วง 25-30 กิโลกรัมต่อตารางเมตรนิยามเป็นน้าหนักเกิน โรคอ้วนเพิ่มโอกาสการป่วยเป็นโรคหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคหัวใจ เบาหวานชนิดที่ 2 ภาวะหยุดหายใจขณะหลับชนิดอุดกั้น มะเร็งบางชนิด และโรคข้อเสื่อม โรคอ้วนมีสาเหตุมาจากการรับพลังงานจากอาหารมากเกิน การขาดการออกกาลังกาย และความเสี่ยงทางพันธุกรรมร่วมกันมากที่สุด
  • 3. 3 แม้ว่าผู้ป่วยน้อยรายจะเกิดจากยีนหรือพันธุกรรม ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อยาหรือการป่วยจิตเวชเป็นหลัก สาหรับมุมมองที่ว่าคนอ้วนบางรายกินน้อยแต่น้าหนักเพิ่มเพราะเมแทบอลิซึมช้านั้น มีหลักฐานสนับสนุนจากัด โดยเฉลี่ยแล้ว คนอ้วนมีการเสียพลังงานมากกว่าคนผอมเนื่องจากต้องใช้พลังงานมากกว่าในการรั กษามวลร่างกายที่เพิ่มขึ้นคนอ้วนจึงเหนื่อยเร็วกว่าคนผอม การจากัดอาหารและการออกกาลังกายเป็นหลักของการรักษาโรคอ้วน สามารถปรับปรุงคุณภาพอาหารได้โดยการลดการบริโภคอาหารพลังงานสูง เช่น อาหารที่มีไขมันและน้าตาลสูง และโดยการเพิ่มการรับใยอาหาร อาจบริโภคยาลดวามอ้วนเพื่อลดความอยากอาหาร หรือลดการดูดซึมไขมันเมื่อใช้ร่วมกันกับอาหารที่เหมาะสมหากอาหาร การออกกาลังกายและยาไม่ได้ผล การทาบอลลูนกระเพาะอาหาร (gastric ballon) อาจช่วยให้น้าหนักลดได้ หรืออาจมีการผ่าตัดเพื่อลดปริมาตรกระเพาะอาหารและความยาวลาไส้ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งทาให้รู้สึกอิ่มเร็วขึ้นและลดความสามารถในการดูดซึมสารอาหาร โรคอ้วนเป็นสาเหตุการตายอันดับต้น ๆ ทั่วโลกที่สามารถป้องกันได้ โดยมีอัตราเพิ่มขึ้นทั้งในผู้ใหญ่และเด็ก ทางการมองว่าโรคอ้วนเป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่ร้ายแรงที่สุดในคริสต์ศตวรร ษที่ 21 ดังนั้นโครงงานนี้จึงจัดทาขึ้นเพื่อศึกษาโรคนี้และนาความรู้ที่ได้จากการศึกษามาปรั บใช้แก่กลุ่มคนที่มีภาวะเสี่ยงหรือเป็นโรคอ้วนเพื่อให้กลุ่มคนเหล่านี้มีสุขภาพที่แข็งแ รง และปลอดภัยจากโรคร้ายต่างๆ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ความรู้กับบุคคลทั่วไปและกลุ่มบุคคลที่เป็ นโรคหรือมีภาวะเสี่ยง 2.เพื่อเสนอแนวทางการรักษาโรคอ้วนอย่างถูกวิธี 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเปิดใจที่จะรักษาและมีสภาพร่างกายที่ดีขึ้น 4.เพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ขอบเขตโครงงาน โครงงานนี้ศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการรักษาโรคอ้วนที่ถูกวิธีเพื่อให้ผู้ป่วยมีสุขภาพที่ ดีต่อตนเองโดยโครงงานนี้จากัดขอบเขตเพียงนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและทฤษฎี
  • 4. 4 อาหารที่คนส่วนใหญ่มักบริโภคก็คืออาหารที่ไขมันค่อนข้างสูงและเมื่อร่างกายได้รับ ปริมาณที่มากเกินไปจะทาให้ร่างกายเกิดการแปรรูปไขมันกักเก็บเอาไว้ในบริเวณใ ต้ผิวหนังของเรา และเมื่อเราบริโภคอาหารเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง ก็จะเกิดการสะสมไขมันในร่างกายมากขึ้น และกลายเป็นโรคอ้วนในที่สุด ซึ่งโรคอ้วนนั้นเป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพต่างๆที่ตามมา เช่นการเคลื่อนที่ลาบาก หายใจได้ไม่สะดวก เหนื่อยง่าย เป็นต้น และเป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายแรงต่างๆตามมา เช่น โรคหัวใจ ความดัน เบาหวาน ไขมันอุดตันในเส้นเลือด ข้อกระดูกเสื่อม โรคอ้วนเป็นสภาวะทางการแพทย์ที่มีการสะสมไขมันในร่างกายมากถึงขนาดที่อาจมี ผลเสียต่อสุขภาพ ทาให้มีอายุสั้นลง และมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น สาเหตุเกิดจากอะไรได้บ้าง  กรรมพันธุ์ - ถ้าพ่อและแม่อ้วนทั้งคู่ลูกจะมีโอกาสอ้วนถึงร้อยละ 80 แต่ถ้าพ่อหรือแม่คนใดคนหนึ่งที่อ้วนลูกจะมีโอกาสอ้วนถึงร้อยละ 40 แต่ไม่ควรที่จะวิตกกังวลจนเกินเหตุ ไม่ใช่ว่าคุณจะสิ้นโอกาสผอมหรือหุ่นดี  นิสัยจากการรับประทานอาหาร - คนที่มีนิสัยไม่ดีในการรับประทานอาหาร หรือที่เรียกกันว่า กินจุบจิบ ไม่เป็นเวลาก็ทาให้อ้วนขึ้นได้  การไม่ออกกาลังกาย - ถ้ารับประทานอาหารที่มากเกินพอดี แต่มีการออกกาลังกาย บ้างก็อาจทาให้ยืดเวลาความอ้วน แต่ถ้ารับประทานอาหารที่มากเกินพอดีแล้วนั่งๆ นอนๆ โดยไร้ซึ่งการยืดเส้นยืดสาย ในไม่ช้าก็จะเกิดการสะสมไขมันในร่างกาย  อารมณ์และจิตใจ - มีบางคนที่รับประทานอาหารตามอารมณ์และจิตใจ เช่น กินอาหารเพื่อดับความโกรธแค้น กลุ้มใจ กังวลใจ บุคคลเหล่านี้จะรู้สึกว่าอาหารทาให้ใจสงบ จึงยึดอาหารไว้เป็นสิ่งที่สร้างความสบายใจ - แต่ในทางกลับกัน บางคนที่รู้สึกเสียใจ กลุ้มใจ ก็กินอาหารไม่ได้ ถ้าในระยะเวลานานๆ ก็มีผลทาให้เกิดการขาดอาหาร ฯลฯ  ความไม่สมดุลกับความรู้สึกอิ่ม ความหิว ความอยากอาหาร - เมื่อใดที่ความอยากกินเพิ่มขึ้นเมื่อนั้นการบริโภคก็จะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งถึงขั้น "กินจุ" ในที่สุดก็จะทาให้เกิดความอ้วน  เพศ - ผู้หญิงสามารถอ้วนได้ง่ายกว่าผู้ชาย เพราะโดยธรรมชาติมักสรรหาอาหารมากินได้ตลอดเวลา อีกทั้งผู้หญิงจะต้องตั้งครรภ์ทาให้น้าหนักตัวมากขึ้น เพราะต้องกินอาหารมากขึ้น เพื่อบารุงร่างกายและทารกในครรภ์ และบางคนหลังจากคลอดบุตรแล้วก็ไม่สามารถลดน้าหนักลงให้เท่ากับเมื่อก่อน ตั้งครรภ์ได้
  • 5. 5  อายุ - เมื่ออายุมากขึ้น โอกาสที่จะอ้วนก็เพิ่มขึ้น ทั้งผู้ชายและผู้หญิง ซึ่งอาจเกิดจากการใช้พลังงานน้อยลง  กระบวนการทางเคมีที่เกิดกับร่างกาย  ยา - ผู้ป่วยบางโรคนั้น จะได้รับสเตียรอยด์เป็นเวลานานก็ทาให้อ้วนได้ และในผู้หญิงที่ฉีดยาหรือใช้ยาคุมกาเนิด ก็ทาให้อ้วนได้เหมือนกัน  โรคบางชนิด เช่น ไฮโปไทรอยด์ โรคนี้รักษาได้อย่างไรบ้าง การบริโภคอาหารและเครื่องดื่ม การปรับพฤติกรรมการกินช่วยลดน้าหนักและควบ คุมปริมาณแคลอรี่ที่ร่างกายจะได้รับ เป็นการรักษาที่ได้ผลดีในระยะยาว เริ่มจากการศึกษาปริมาณแคลอรี่ที่ร่างกายควรได้รับต่อวัน แคลอรี่ที่ได้จากอาหารแต่ละชนิด แล้ววางแผน ตั้งเป้าหมาย ควบคุมน้าหนักและลดปริมาณแคลอรี่ลงภายใน 6 เดือน อย่างการจัดทาเมนูอาหารในแต่ละวันตามปริมาณแคลอรี่และสารอาหารที่ร่างกายค วรได้รับอย่างเหมาะสม สาหรับผู้ชายที่ต้องการลดน้าหนัก ควรบริโภค 1,500-1,800 แคลอรี่/วัน ส่วนผู้หญิงควรบริโภคแคลอรี่ 1,200-1,500 แคลอรี่/วัน ตัวอย่างปริมาณแคลอรี่ในอาหารจานเดียว  ข้าวมันไก่ ปริมาณ 259 กรัม มีพลังงาน 619 แคลอรี่  ข้าวผัดหมู ปริมาณ 315 กรัม มีพลังงาน 581 แคลอรี่  ข้าวหมูแดง + น้าราด ปริมาณ 352 กรัม มีพลังงาน 521 แคลอรี่  ก๋วยเตี๋ยวเส้นเล็กน้า หมู ปริมาณ 507 กรัม มีพลังงาน 401 แคลอรี่  ขนมจีนแกงเขียวหวาน ปริมาณ 370 กรัม มีพลังงาน 416 แคลอรี่  ขนมจีนน้ายากะทิ ปริมาณ 342 กรัม มีพลังงาน 346 แคลอรี่  ขนมจีนน้าเงี้ยว ปริมาณ 480 กรัม มีพลังงาน 308 แคลอรี่  สุกี้ไก่ น้า ปริมาณ 540 กรัม มีพลังงาน 253 แคลอรี่  เกี๊ยวน้า ปริมาณ 523 กรัม มีพลังงาน 141 แคลอรี่ ในการลดน้าหนัก ควรหลีกเลี่ยงและลดการบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีไขมันสูงและมีน้าตาล อย่างอาหารทอด เนื้อสัตว์ติดมัน ขนมหวาน ลูกอม ลูกกวาด น้าหวาน น้าอัดลม แอลกอฮอล์ เพราะอาหารบางชนิด แม้จะรับประทานในปริมาณน้อย แต่มีปริมาณแคลอรี่และน้าตาลสูง รวมทั้งหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารมื้อหนักหรือปริมาณมากอย่างอาหารประเภท บุฟเฟ่ต์ด้วย ควรเน้นรับประทานพวกธัญพืช ถั่ว ผัก ผลไม้ เพราะเป็นอาหารที่มีประโยชน์ สามารถรับประทานได้ในปริมาณมาก มีแคลอรี่ต่า แต่มีสารอาหารที่จาเป็นอย่างแคลเซียมและวิตามินสูง และควรเลือกรับประทานแต่เนื้อสัตว์ที่ไม่มีไขมัน นมไขมันต่าหรือพร่องมันเนย เพื่อลดการสะสมไขมันภายในร่างกาย
  • 6. 6 หลังผ่านไป 6 เดือน และแผนการลดน้าหนักประสบความเร็จ ให้ควบคุมอาหารต่อไปอย่างน้อยอีก 1 ปี เพื่อปรับสภาพร่างกายให้คงที่และเคยชินกับการรับประทานอาหารอย่างเหมาะสม จากนั้นควรเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ดีต่อสุขภาพ ให้พลังงานในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย และไม่รับประทานอาหารแคลอรี่สูงจนเสี่ยงต่อการสะสมของไขมันที่จะทาให้เกิดภา วะอ้วนได้ ทั้งนี้ ไม่ควรอดอาหาร หรือลดปริมาณแคลอรี่ลงทันที อย่างการรับประทานโปรตีนแท่งทดแทนมื้ออาหาร เพราะแม้จะช่วยให้ลดน้าหนักได้อย่างรวดเร็ว แต่ไม่ใช่วิธีการรักษาดูแลสุขภาพของภาวะอ้วนในระยะยาว อาจส่งผลเสียต่อร่างกายจากปริมาณอาหารและแคลอรี่ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว และเมื่อหยุดใช้วิธีดังกล่าว ก็จะทาให้กลับมามีพฤติกรรมการกินที่นาไปสู่ภาวะอ้วนได้เช่นเดิม การออกกาลังกาย ผู้ที่มีน้าหนักเกินและผู้ที่อยู่ในภาวะอ้วน ต้องออกกาลังกายมากขึ้นกว่าปกติ เพื่อกระตุ้นการเผาผลาญไขมันส่วนเกินที่สะสมอยู่ในร่างกาย ควรออกกาลังกายอย่างน้อย 150 นาที/สัปดาห์ ด้วยการเดิน วิ่ง เต้นแอโรบิก ปั่นจักรยาน ว่ายน้า เล่นกีฬา การออกกาลังกายเฉพาะส่วน อย่างการใช้เครื่องออกกาลังกาย การยกน้าหนัก หรือออกกาลังกายแบบผสมผสานกันหลายประเภท แม้จะยากลาบากในตอนเริ่มต้น เพราะอาจมีความปวดเมื่อยเหนื่อยล้าของกล้ามเนื้อแต่ละส่วน แต่เมื่อออกกาลังกายไปสักระยะหนึ่งแล้ว ร่างกายจะเริ่มปรับตัวได้ดีขึ้น อาจเพิ่มเวลาในการออกกาลังกายขึ้นเป็น 300 นาที/สัปดาห์ หรือมากกว่านั้น ตามความเหมาะสมต่อสภาพร่างกาย การออกกาลังกายไม่ได้จากัดแต่เพียงในโรงยิม เพราะสามารถเปลี่ยนกิจกรรมที่ทาในชีวิตประจาวันให้เป็นการออกกาลังกายไปในข ณะเดียวกันได้ด้วย เช่น การยืดเส้นยืดสายหลังตื่นนอน การทางานบ้านด้วยตนเอง ลดการใช้สิ่งอานวยความสะดวกลง การเดินให้มากขึ้น อย่างเดินไปเรียน ไปทางาน หรือจอดรถในที่จอดไกล ๆ แล้วเดินไปยังจุดหมายแทน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทั้งพฤติกรรมการกินและพฤติกรรมการใช้ชีวิตล้วนส่งผล ต่อภาวะอ้วนทั้งสิ้น หากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้วยตนเองเป็ นเรื่องที่ยากลาบาก หรือมีสภาวะทางจิตใจที่ไม่มั่นคงและต้องการความช่วยเหลือและคาแนะนา สามารถเข้ารับการปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ เพื่อช่วยให้ผู้เผชิญภาวะอ้วนทาความเข้าใจกับปัญหาของตน ตระหนักถึงปัจจัยที่ทาให้เกิดภาวะอ้วน ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นตามมา ความสาคัญของการรักษา หาวิธีจัดการความเครียดความวิตกกังวลที่เกิดขึ้น แล้ววางแผนรักษาและดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้
  • 7. 7 การเข้ากลุ่มบาบัด ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ทาให้ผู้ที่อยู่ในภาวะอ้วนเช่นเดียวกัน และมีประสบการณ์คล้ายกัน ได้มาเข้าร่วมกลุ่มพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน แล้วตั้งเป้าหมายวางแผนการลดน้าหนักร่วมกันภายใต้การดูแลของแพทย์ การใช้ยาลดน้าหนัก ในบางรายที่มีข้อจากัดสาคัญทาให้ไม่สามารถรักษาด้วยวิธีอื่นไ ด้ผล แพทย์อาจจ่ายยาลดน้าหนักให้เพื่อรักษาอาการ เช่น ผู้ป่วยที่มีค่า BMI ตั้งแต่ 28 ขึ้นไปที่ป่วยด้วยความดันโลหิตสูง หรือเป็นเบาหวานประเภทที่ 2 จึงไม่สามารถออกกาลังกายที่ต้องใช้แรงมาก ๆ หรือไม่สามารถออกกาลังกายเป็นเวลานาน ๆ ได้ ปัจจุบันยาลดน้าหนักหรือยาลดความอ้วนกาลังอยู่ในขั้นทดสอบ แต่มีเพียงยาชนิดเดียวที่ได้รับการรับรองว่าปลอดภัยและมีประสิทธิภาพทางการรักษ าภาวะอ้วน คือ Orlistat ยาตัวนี้จะช่วยป้องกันไม่ให้ร่างกายดูดซึมไขมันจากอาหารที่กินประมาณ 1 ใน 3 ส่วน แต่จะส่งผ่านไขมันไปยังระบบขับถ่ายแทน ผู้ป่วยควรควบคุมการกินและการออกกาลังกายควบคู่ไปกับการใช้ยา และแม้หยุดใช้ยาก็ต้องควบคุมพฤติกรรมของตนต่อไปเพื่อไม่ให้น้าหนักเพิ่มขึ้นได้ อีก Orlistat เป็นยาแคปซูลสาหรับรับประทานก่อนหรือหลังอาหารมื้อหลักหนึ่งชั่วโมง หรือรับประทานพร้อมมื้ออาหาร ใช้ยาไม่เกินวันละ 3 แคปซูล หลังใช้ยา น้าหนักของผู้ป่วยจะลดลงประมาณ 5% ภายใน 3 เดือน แต่หากน้าหนักไม่ลดลงควรปรึกษาแพทย์เพื่อหาทางรักษาอื่นที่ได้ผล การใช้ยาลดน้าหนักต้องใช้ภายใต้ใบสั่งแพทย์เท่านั้น และรับประทานยาตามที่กาหนด หลังใช้ยาอาจเห็นผลน้อยหรือช้าหากมีอาการป่วยโรคอื่นร่วมด้วย ดังนั้น ควรแจ้งให้แพทย์ทราบถึงปัญหาสุขภาพที่กาลังเผชิญและยาหรือการรักษาที่กาลังใช้ อยู่ในปัจจุบันก่อนใช้ยาลดน้าหนัก และอาจมีผลข้างเคียงอย่างปวดหัว ปวดท้อง อุจจาระบ่อย อุจจาระมีไขมันปน มีไขมันไหลออกจากทวาร เป็นต้น ที่สาคัญคือไม่ควรใช้ยาลดน้าหนักเองเด็ดขาด เพราะเป็นอันตรายถึงชีวิตหากใช้ยาไม่ถูกต้องหรือใช้เกินขนาด การผ่าตัดลดความอ้วน (Bariatric Surgery) แพทย์จะมีดุลยพินิจให้ผู้ป่วยภาวะอ้วนอย่างรุนแรงบางรายเข้ารับการผ่า ตัด อย่างผู้ที่มีค่า BMI สูง ตั้งแต่ 40 ขึ้นไป หรือผู้ป่วยที่มีค่า BMI 35-40 ที่มีปัญหาสุขภาพร้ายแรง จาเป็นต้องรักษาด้วยการลดน้าหนักทันที เช่น ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานประเภทที่ 2 ผู้ที่รักษาภาวะอ้วนด้วยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผล โดยการผ่าตัดลดความอ้วนมีหลายวิธี ได้แก่  การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Roux-en-Y Gastric Bypass เป็นวิธีการผ่าตัดสร้างถุงที่กระเพาะอาหารส่วนบน และตัดลาไส้เล็กที่อยู่ด้านล่างของกระเพาะอาหารนามาเชื่อมต่อกับถุงที่สร้างไว้ ทาให้อาหารที่รับประทานจะถูกส่งไปยังลาไส้โดยตรง วิธีการนี้จะทาให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อยลงและรู้สึกอิ่มเร็วขึ้น
  • 8. 8  การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Laparoscopic Adjustable Gastric Banding (LAGB) แพทย์จะผ่าตัดนาห่วงที่ยืดหยุ่นได้ไปรัดกระเพาะแบ่งเป็น 2 ส่วน พื้นที่ว่างในกระเพาะอาหารจึงลดลง ทาให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารน้อยลงเพราะอิ่มเร็วขึ้น ห่วงนี้จะคงอยู่ได้อย่างถาวร โดยที่สามารถปรับขนาดและยืดขยายได้ในภายหลัง  การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Gastric Sleeve เป็นการผ่าตัดเอาบางส่วนของกระเพาะอาหารออกไป ให้เหลือเพียงกระเพาะอาหารที่เล็กลง เป็นวิธีการผ่าตัดที่มีความซับซ้อนน้อยกว่า 2 วิธีแรก และผู้ป่วยจะรับประทานอาหารได้น้อยลง เพราะมีกระเพาะอาหารที่เล็กลง  การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารแบบ Biliopancreatic Diversion with Duodenal Switch แพทย์จะทาการผ่าตัดผนังกระเพาะอาหารส่วนใหญ่ออก ให้มีเพียงกระเพาะอาหารบางส่วนที่ยังทาหน้าที่เหมือนเดิม โดยกระเพาะอาหารส่วนนี้จะถูกนาไปต่อกับลาไส้เล็กส่วนบน ในขณะที่กระเพาะอาหารส่วนที่ถูกผ่าแยกออกไปจะถูกนาไปเชื่อมกับลาไส้เล็กส่วนล่ าง เพื่อให้ยังคงมีกระบวนการย่อยอาหารที่ลาไส้ส่วนนี้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับคุณครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ -ไม่มีค่าใช้จ่าย
  • 9. 9 ขั้นตอนและการดาเนินงาน ลาดับที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้จัดทามีความเข้าใจหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2. สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนได้จริง 3. สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้ 4. ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขึ้น สถานที่ดาเนินงาน 1. ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
  • 10. 10 แหล่งอ้างอิง การรัษาภาวะอ้วน เข้าถึงได้จากhttps://www.pobpad.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B 1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E 0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%99(วันที่สืบค้นข้อมูล : 31 มกราคม 2563) โรคอ้วน เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B9%89%E0%B8%A7 %E0%B8%99) (วันที่สืบค้นข้อมูล : 31 มกราคม 2563)