SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน การออกกาลังกาย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาว ปิยะฉัตร ใจเย็น เลขที่ 17 ชั้นม.6 ห้อง 14
2.นางสาว เบญจวรรณ ทับเสือ เลขที่ 22 ชั้น ม.6 ห้อง 14
3.นาย พุทธิพงษ์พรหมเมือง เลขที่ 40 ชั้น ม.6 ห้อง 14
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
2
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาว ปิยะฉัตร ใจเย็น เลขที่ 17
2. นางสาว เบญจวรรณ ทับเสือ เลขที่ 22
3.นายพุทธิพงษ์พรหมเมือง เลขที่ 40
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การออกกาลังกาย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Exercise
3
ประเภทโครงงาน
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาว ปิยะฉัตร ใจเย็น เลขที่ 17
2.นางสาว เบญจวรรณ ทับเสือ เลขที่ 22
3.นาย พุทธิพงษ์พรหมเมือง เลขที่ 40
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
การออกกาลังกาย หมายถึง กิจกรรมที่ทีกระทาแล้วทาให้ร่างกายมีสุขภาพที่ดี มี
ความฟิต การออกกาลังกายจะทาให้กล้ามเนื้อ หัวใจและหลอดเลือดแข็งแรง
ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็ง
การออกกาลังกายไม่ได้หมายถึงการต้องไปแข่งขันกีฬากับผู้อื่น แต่การออกกาลัง
กายเป็นการแข่งขันกับตัวเอง
หลายคนก่อนจะออกกาลังกายมักจะอ้างเหตุผลของการไม่ออกกาลังกาย เช่น ไม่มี
เวลา ไม่มีสถานที่ ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ ปัญหาเกี่ยวกับอากาศ ทั้งหมดเป็นข้ออ้าง
4
ที่จะไม่ออกกาลังกาย แต่ลืมไปว่าการออกกาลังกาย อาจจะให้ผลดีมากกว่าสิ่งที่เขา
เสียไป
เป็นที่น่าดีใจว่าการออกกาลังให้สุขภาพดีไม่ต้องใช้เวลามากมาย เพียงแค่วันละครึ่ง
ชั่วโมงก็พอ และก็ไม่ต้องใช้พื้นที่หรือเครื่องมืออะไร มีเพียงพื้นที่ในการเดินก็
พอแล้ว การออกกาลังจะทาให้รูปร่างดูดี กล้ามเนื้อแข็งแรง ป้องกันโรคหัวใจ
ป้องกันโรคกระดูกพรุน ป้องกันโรคอ้วน การออกกาลังกายทาให้ร่างกายสดชื่น มี
พลังที่จะทางานและต่อสู้กับชีวิต นอกจากนั้นยังสามารถลดความเครียดได้ด้วย
ความสาคัญของการออกกาลังกาย
ร่างกายมนุษย์มีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา เพื่อความเจริญเติบโตและรักษาสภาพ
การทางานที่ดีเอาไว้การที่ไม่ค่อยได้ออกกาลังกาย ไม่เพียงแต่จะทาให้เกิดความ
เสื่อมโทรมของสมรรถภาพทางกายหรือสุขภาพ แต่ยังเป็นสาเหตุของความผิดปกติ
ของร่างกายและโรคร้ายหลายชนิดที่ป้องกันได้ซึ่งเป็นโรคที่เป็นปัญหาทาง
การแพทย์ที่พบมากในปัจจุบัน ในทางการแพทย์การออกกาลังกายอาจเปรียบได้กับ
ยาสารพัดประโยชน์ เพราะใช้เป็นยาบารุงเป็นยาป้องกันและเป็นยาบาบัดรักษาหรือ
ฟื้นฟูสภาพร่างกาย แต่การที่ได้ชื่อว่ายาแล้วไม่ว่าจะวิเศษเพียงไรก็จะต้องใช้ด้วย
ขนาดหรือปริมาณที่เหมาะสมกับคนแต่ละคน ในคนที่ใช้โดยไม่คานึงถึงขนาดหรื
อปริมาณที่เหมาะสม นอกจากอาจไม่ได้ผลแล้วยังอาจเกิดโทษจากยาได้ด้วย การ
ออกกาลังกายให้เกิดประโยชน์แก่สุขภาพคือ การจัดชนิดของความหนัก ความนาน
และความบ่อยของการออกกาลังกายให้เหมาะสมกับเพศ วัย สภาพร่างกาย
สภาพแวดล้อม และจุดประสงค์ของแต่ละคน
5
ประโยชน์ของการออกกาลังกาย
1. เพื่อการเจริญเติบโต การออกกาลังกายจัดเป็นปัจจัยสาคัญอันหนึ่งที่มีผลกระทบ
ต่อการเจริญเติบโต เด็กที่ไม่ค่อยได้ออกกาลังกายแต่มีการกินอาหารมากอาจมี
ส่วนสูงและน้าหนักตัวมากกว่าเด็กในวัยเดียวกันโดยเฉลี่ย แต่ส่วนใหญ่แล้วจะทา
ให้ร่างกายมีไขมันมากเกินไป มีกระดูกเล็ก หัวใจมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับน้าหนักตัว
และรูปร่างอาจผิดปกติได้เช่น เข่าชิดกัน อ้วนแบบฉุ เป็นต้น ซึ่งถือว่าเป็นการ
เจริญเติบโตที่ผิดปกติ ตรงข้ามกับเด็กที่ออกกาลังกายถูกต้องสม่าเสมอ ร่างกายจะ
ผลิตฮอร์โมนที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโตอย่างถูกส่วน จึงกระตุ้นให้อวัยวะต่าง ๆ
เจริญขึ้นพร้อมกันไปทั้งขนาด รูปร่าง และหน้าที่การทางาน และเมื่อประกอบกับผล
ของการออกกาลังกายที่ทาให้เจริญอาหาร การย่อยอาหารและการขับถ่ายดี เด็กที่
ออกกาลังกายอย่างถูกต้องและสม่าเสมอจึงมีการเจริญเติบโตดีกว่าเด็กที่ไม่ค่อยได้
ออกกาลังกาย
2. เพื่อสุขภาพ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า การออกกาลังกายมีประโยชน์ต่อ
สุขภาพถึงแม้จะไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าการออกกาลังกายสามารถเพิ่มภูมิต้านทาน
โรคที่เกิดจากการติดเชื้อได้แต่มีหลักฐานที่พบบ่อยครั้งว่า เมื่อนักกีฬาเกิดการ
เจ็บป่วยจากการติดเชื้อจะสามารถหายได้เร็วกว่า และมีโรคแทรกซ้อนน้อยกว่า ข้อ
ที่ทาให้เชื่อได้แน่ว่าผู้ที่ออกกาลังกายย่อมมีสุขภาพดีกว่าผู้ที่ไม่ค่อยออกกาลังกาย
คือ การที่อวัยวะต่าง ๆ มีการพัฒนาทั้งขนาด รูปร่าง และหน้าที่การทางาน โอกาส
ของการเกิดโรคที่ไม่ใช่โรคติดเชื้อ เช่น โรคเสื่อมสมรรถภาพในการทางานของ
อวัยวะจึงมีน้อยกว่า
6
3. เพื่อสมรรถภาพทางกาย ถ้าการออกกาลังกายเป็นยาบารุง การออกกาลังกายถือ
เป็นยาบารุงเพียงอย่างเดียวที่สามารถเพิ่มสมรรถภาพทางกายได้เพราะไม่มียาใด ๆ
ที่สามารถทาให้ร่างกายมีสมรรถภาพเพิ่มขึ้นได้อย่างแท้จริงและถาวร ยาบางอย่าง
อาจทาให้ผู้ใช้สามารถทนทางานบางอย่างได้นานกว่าปกติ แต่เมื่อทาไปแล้วร่างกาย
ก็จะอ่อนเพลียกว่าปกติจนต้องพักผ่อนนานกว่าปกติ หรือร่างกาย ทรุดโทรมลงไป
ในทางปฏิบัติเราสามารถเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายทุก ๆ ด้านได้เช่น ความ
แข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความอ่อนตัว ความอดทนของกล้ามเนื้อ ความอดทนของ
ระบบไหลเวียนเลือด ความคล่องตัว ฯลฯ
4. เพื่อรูปร่างและทรวดทรง การออกกาลังกายเป็นได้ทั้งยาป้องกันและยารักษาโรค
การเสียทรวดทรงในช่วงการเจริญเติบโตดังข้อ 1. ย่อมป้องกันได้ด้วยการออกกาลัง
กาย แต่เมื่อ เติบโตเต็มที่แล้วยังขาดการออกกาลังกาย ก็จะทาให้ทรวดทรงเสียไปได้
เช่น ตัวเอียง หลังงอ พุงป่อง ซึ่งทาให้เสียบุคลิกภาพได้อย่างมาก ในระยะนี้ ถ้า
กลับมาออกกาลังกายอย่างถูกต้อง เป็นประจาสม่าเสมอยังสามารถแก้ไขให้
ทรวดทรงกลับดีขึ้นมาได้แต่การแก้ไขบางอย่างอาจต้องใช้เวลานานเป็นเดือน เป็น
ปี แต่บางอย่างอาจเห็นผลภายในเวลาไม่ถึง 1 เดือน เช่น พุงป่อง การบริหารกายเพื่อ
เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหน้าท้องเพียง 2 สัปดาห์ ก็ทาให้กล้ามเนื้อหน้าท้อง
มีความตึงตัวเพิ่มขึ้นจนกระชับอวัยวะภายในไว้ไม่ให้ดันออกมาเห็นพุงป่องได้
5. เพื่อการป้องกันโรค การออกกาลังกายสามารถป้องกันโรคได้หลายชนิด
โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของอวัยวะอันเนื่องจากการมีอายุมากขึ้น ซึ่ง
ประกอบกับปัจจัยอื่น ๆ ในชีวิตประจาวันเช่น การกินอาหารมากเกินความจาเป็น
ความเคร่งเครียด การสูบบุหรี่มาก หรือกรรมพันธุ์ โรคเหล่านี้ได้แก่ โรคประสาท
เสียดุลยภาพ หลอดเลือดหัวใจเสื่อมสภาพ ความดันเลือดสูง โรคอ้วน โรคเบาหวาน
7
โรคข้อต่อเสื่อมสภาพ เป็นต้น ผู้ที่ออกกาลังกายเป็นประจามีโอกาสเกิดโรคเหล่านี้
ได้ช้ากว่าผู้ที่ขาดการออกกาลังกาย หรืออาจไม่เกิดขึ้นเลยจนชั่วชีวิต การออกกาลัง
กายจึงช่วยชะลอชรา
6. เพื่อการรักษาโรคและฟื้นฟูสภาพ โรคต่าง ๆ ที่กล่าวในข้อ 5 หากเกิดขึ้นแล้ว การ
เลือกวิธีออกกาลังกายที่เหมาะสมจัดเป็นวิธีรักษาและฟื้นฟูสภาพที่สาคัญในปัจจุบัน
แต่ในการจัดการออกกาลังกายที่เหมาะสมมีปัญหามาก เพราะบางครั้งโรคกาเริบ
รุนแรงจนการออกกาลังกายแม้เพียงเบา ๆ ก็เป็นข้อห้าม ในกรณีดังกล่าว การ
ควบคุมโดยใกล้ชิดจากแพทย์ผู้ทาการรักษาและการตรวจสอบสภาพร่างกายโดย
ละเอียดเป็นระยะเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง
ชนิดของการออกกาลังกาย
Aerobic exercise คือ การออกกาลังกายที่ไม่รุนแรงมากแต่มีความต่อเนื่อง เช่น เดิน
วิ่งเหยาะ ๆ วิ่งทางไกล ว่ายน้า ถีบจักรยาน กระโดดเชือก เต้นแอโรบิค เป็นต้น เป็น
การออกกาลังกายเพื่อสุขภาพควรทาเป็นประจา
Anaerobic exercise คือ การออกกาลังกายแบบช่วยกลั้นลมหายใจ เช่น วิ่งระยะสั้น
ยกน้าหนัก เทนนิส เป็นต้น
การเตรียมตัวก่อนออกกาลังกาย
- ออกกาลังกายหลังรับประทานอาหารอย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง
- หลีกเลี่ยงการออกกาลังกายทันทีหลังตื่นนอน และควรหยุดออกกาลังกายอย่าง
น้อย 3 ชั่วโมงก่อนเข้านอน
8
- ควรดื่มน้าหนึ่งแก้ว ก่อนออกมาซ้อมวิ่ง และพยายามดื่มน้าให้มากทุกวัน วิ่งเสร็จ
แล้วก็ควรดื่มน้าด้วย เพื่อป้องกันภาวะร่างกายขาดน้า
- เลือกชุดกีฬาและรองเท้าที่เหมาะสมกับชนิดของกีฬา เช่น ชุดวิ่งควรจะเบาและ
ระบายความร้อนจากร่างกายได้ดี ควรเลือกให้เหมาะกับสภาพอากาศ เช่น เสื้อกล้าม
เหมาะกับฤดูร้อน ชุดวอร์มเหมาะกับอากาศหนาวเย็น
- ถ้าไม่สบาย เป็นไข้หรือท้องเสีย ควรงดการซ้อมวิ่ง ถ้าขัดเคล็ดยอก แพลง ก็ควร
ลดการวิ่งลง อาจเลือกการออกกาลังกายแบบอื่นทดแทน
ควรพักผ่อนให้เพียงพอ
ขั้นตอนการออกกาลังกาย
1. การอบอุ่นร่างกายหรือการอุ่นเครื่อง (warm up)
เป็นการเตรียมร่างกายโดยเฉพาะปอดและหัวใจให้พร้อมที่จะรับการออกกาลังกาย
การอบอุ่นร่างกายที่ดีก็คือกิจกรรมที่สามารถทาให้อุณหภูมิร่างกาย อุณหภูมิ
กล้ามเนื้อและปริมาณเลือดที่ไหลเวียนสู่กล้ามเนื้อที่จะใช้งานเพิ่มสูงขึ้นจากสภาวะ
พัก อาจเริ่มด้วยการเดินช้าๆ แล้วค่อยๆเดินเร็วขึ้นจนชีพจรของเราเริ่มเต้นเร็วขึ้น
จาก 70 ครั้งต่อนาทีมาเป็น 100 หรือ 110 ครั้งต่อนาที ช่วงนี้ร่างกายของเราจะค่อยๆ
ปรับตัว ทาให้ไม่เกิดอันตรายในการออกกาลังกาย การอบอุ่นร่างกายควรใช้เวลา
อย่างน้อย 5-10 นาที
2. การยืดกล้ามเนื้อ (stretching)
เป็นการเตรียมกล้ามเนื้อ เอ็น และเอ็นข้อต่อของร่างกายให้เตรียมพร้อมที่จะรับการ
ออกกาลังกาย ทาให้ไม่เกิดการบาดเจ็บขึ้นเมื่อเราเริ่มออกกาลังกาย ช่วงนี้ก็ใช้เวลา
5-10 นาที
9
3. ช่วงของการออกกาลังกาย (training zone exercise)
ช่วงนี้ก็คือช่วงของการออกกาลังกายแบบแอโรบิค (aerobic exercise) เช่นถ้าวิ่ง ก็จะ
วิ่งให้มีความหนักเพียงพอ คือให้หัวใจเต้นประมาณ 60-80 % ของชีพจรสูงสุด ซึ่ง
จะเป็นช่วงที่มีผลต่อการฝึกปอดและหัวใจโดยที่ไม่มีอันตรายต่อร่างกาย
4. การผ่อนกาย (cool down)
หลังการออกกาลังกายเป็นการปรับสภาพร่างกายจากการออกกาลังกายมาเป็นสภาพ
ปกติ ถ้าเราหยุดทันที หัวใจที่เคยเต้น 130 ? 140 ครั้งต่อนาที จะกลับมาสู่สภาพปกติ
คือเต้น 70 ครั้งต่อนาทีในเวลาสั้น ๆ ก็อาจเกิดอันตรายได้เพราะปอดและหัวใจ
ปรับตัวไม่ทัน เนื่องจากปริมาณเลือดของร่างกายส่วนใหญ่จะไหลเวียนไปยัง
กล้ามเนื้อขณะออกกาลังกาย หากหยุดออกกาลังกายทันทีทันใดจะทาให้เลือดที่
ไหลเวียนกลับสู่หัวใจน้อยลงโดยเลือดจะคั่งค้างอยู่ที่หลอดเลือดภายในกล้ามเนื้อ
โดยเฉพาะกล้ามเนื้อของขา (pooling effect) ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่บีบออกจาก
หัวใจเพื่อส่งไปอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายลดลงโดยเฉพาะสมองจึงทาให้เกิด
อาการหน้ามืดเป็นลมได้เราจึงต้องใช้เวลา 5-10 นาทีในการปรับตัวคือ ค่อยๆลดชีพ
จรลงจนเป็นปกติ
5. การยืดกล้ามเนื้อหลังการออกกาลังกาย (stretching)
เพื่อช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อหลังการออกกาลังกายและช่วยลดอาการตึงหรือเกร็ง
ของกล้ามเนื้อและจะเป็นการเพิ่มความยืดหยุ่นของร่างกาย
10
ขณะป่วยควรออกกาลังกายหรือไม่
ขณะเจ็บป่วยไม่ควรจะออกกาลังกายเพราะจะทาให้โรคเป็นมากขึ้น ควรจะพักจน
อาการดีขึ้น หากพักเกินสองสัปดาห์เวลาเริ่มออกกาลังกายควรจะเริ่มเบาๆก่อน และ
หากท่านเป็นโรคเรื้อรังควรจะปรึกษาแพทย์ก่อนออกกาลังกาย
จริงหรือไม่ที่การออกกาลังกายโดยการเดินดีพอพอกับการวิ่ง
การเริ่มต้นออกกาลังควรใช้วิธีเดิน เนื่องจากจะไม่เหนื่อยมาก ปวดข้อไม่มาก และ
ลดน้าหนักได้ส่วนการวิ่งจะเป็นการออกกาลังที่คุณเตรียมร่างกายไว้พร้อม เพราะ
การวิ่งจะทาให้หัวใจเต้นเร็ว ทาให้เหนื่อย มีการปวดข้อ ดังนั้นการออกกาลังโดย
การเดินเหมาะสาหรับผู้ที่เริ่มออกกาลัง คนอ้วน คนที่มีโรคประจาตัว แต่สาหรับการ
วิ่งเหมาะสาหรับคนที่ไม่มีโรค และต้องการความฟิต
คนท้องควรจะออกกาลังหรือไม่
คนท้องควรออกกาลังกายเป็นประจา แต่ออกกาลังกายแบบเบาๆโดยการเดิน ไม่
ควรจะวิ่ง ไม่ควรยกของหนัก รายละเอียดอ่าน การออกกาลังในคนท้อง
จะรู้ได้อย่างไรว่าออกกาลังมากไป
ท่านสามารถสังเกตขณะออกกาลังกายว่ามากไปหรือไม่ โดยสังเกตอาการ
ดังต่อไปนี้
11
- หัวใจเต้นเร็วมากจนรู้สึกเหนื่อย
- หายใจเหนื่อยจนพูดไม่เป็นประโยค
- เหนื่อยจนเป็นลม
- มีอาการปวดข้อหลังจากการออกกาลังกาย
- หากมีอาการดังกล่าวให้หยุดการออกกาลังกายสองวัน และให้ลดระดับการออก
กาลังกาย
โรคที่มากับคนที่ไม่ออกกาลังกาย
• กลุ่มโรคความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจขาดเลือด
• โรคอ้วน
• โรคเบาหวานและไขมันในเลือดสูง
• โรคเครียด
• โรคภูมิแพ้
• โรคปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
• โรคมะเร็ง
ขณะป่วยควรออกกาลังกายหรือไม่
ขณะเจ็บป่วยไม่ควรจะออกกาลังกายเพราะจะทาให้โรคเป็นมากขึ้น ควรจะพักจน
อาการดีขึ้น หากพักเกินสองสัปดาห์เวลาเริ่มออกกาลังกายควรจะเริ่มเบาๆก่อน และ
หากท่านเป็นโรคเรื้อรังควรจะปรึกษาแพทย์ก่อนออกกาลังกาย
จริงหรือไม่ที่การออกกาลังกายโดยการเดินดีพอพอกับการวิ่ง
การเริ่มต้นออกกาลังควรใช้วิธีเดิน เนื่องจากจะไม่เหนื่อยมาก ปวดข้อไม่มาก และ
ลดน้าหนักได้ส่วนการวิ่งจะเป็นการออกกาลังที่คุณเตรียมร่างกายไว้พร้อม เพราะ
การวิ่งจะทาให้หัวใจเต้นเร็ว ทาให้เหนื่อย มีการปวดข้อ ดังนั้นการออกกาลังโดย
12
การเดินเหมาะสาหรับผู้ที่เริ่มออกกาลัง คนอ้วน คนที่มีโรคประจาตัว แต่สาหรับการ
วิ่งเหมาะสาหรับคนที่ไม่มีโรค และต้องการความฟิต
คนท้องควรจะออกกาลังหรือไม่
คนท้องควรออกกาลังกายเป็นประจา แต่ออกกาลังกายแบบเบาๆโดยการเดิน ไม่
ควรจะวิ่ง ไม่ควรยกของหนัก รายละเอียดอ่าน การออกกาลังในคนท้อง
จะรู้ได้อย่างไรว่าออกกาลังมากไป
ท่านสามารถสังเกตขณะออกกาลังกายว่ามากไปหรือไม่ โดยสังเกตอาการ
ดังต่อไปนี้
หัวใจเต้นเร็วมากจนรู้สึกเหนื่อย
หายใจเหนื่อยจนพูดไม่เป็นประโยค
เหนื่อยจนเป็นลม
มีอาการปวดข้อหลังจากการออกกาลังกาย
หากมีอาการดังกล่าวให้หยุดการออกกาลังกายสองวัน และให้ลดระดับการออก
กาลังกาย
การออกกาลังกาย การออกกาลังของผู้ที่มีโรคหัวใจ การออกกาลังเพื่อให้หัวใจ
แข็งแรง การออกกาลังกับโรคไต การออกกาลังในน้า การออกกาลังใน
โรคเบาหวาน
13
วัตถุประสงค์
1. เพื่อต้องการศึกษาหาความรู้และแบ่งปันในความรู้เกี่ยวกับการออกกาลังกาย
2. เพื่อส่งเสริมให้ทุกๆคนมีสุขภาพที่ดีและแข็งแรง
ขอบเขตโครงงาน
สร้างสื่อวีดีทัศน์ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการออกกาลังกายโดยใช้โปรแกรม
อิเล็กทรอนิกส์
หลักการและทฤษฎี
การมีชีวิตที่สะดวกสบายและสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
เป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา แต่การที่จะเกิดสิ่งเหล่านี้ขึ้นกับบุคคลใดย่อมขึ้นอยู่กับ
ปัจจัยหลาย ๆ อย่าง โดยเฉพาะการที่จะมีสุขภาพที่ดีนั้น ทาได้หลายวิธี การเลือก
ออกกาลังกายเพื่อสุขภาพที่แข็งแรง และการรู้จักระวังภัยจากโรคต่าง ๆ ก็เป็นอีก
วิธีหนึ่งที่สามารถช่วยเราแต่รวดเร็วทันใจ เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือกับ
สถานการณ์ปัจจุบัน โดยการจัดกิจกรรมให้ความรู้สอดแทรกความบันเทิงและ
สันทนาการต่างๆหรือการจัดการเต้นแอโรบิคนั่นเอง
วิธีดาเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.อินเทอร์เน็ต
งบประมาณ
14
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลา
ดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช
อบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อ
โครงงาน
/ / ปิยะฉัตร
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
/ / เบญจ
วรรณ
3 จัดทาโครงร่าง
งาน
/ ปิยะฉัตร
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
/ พุทธิ
พงษ์
5 ปรับปรุงทดสอบ / / เบญจ
วรรณ
6 การทา
เอกสารรายงาน
/ พุทธิ
พงษ์
7 ประเมินผลงาน / ปิยะฉัตร
8 นาเสนอโครงงาน / เบญจ
วรรณ
15
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องการออกกาลังกาย
2. มีผู้สนใจในการศึกษาครั้งนี้
3. สามารถนาความรู้นี้ไปแบ่งปั้นหรือเผยแผ่ออกไปแก่ผู้ที่ต้องการศึกษาได้
ครบถ้วนและสามมารถนาไปปฏิบัติได้
สถานที่ดาเนินการ
บ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระวิชาสุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง
• https://www.siamhealth.net/public_html/Health/good_health_living/exercis
e/index.htm
• http://haamor.com/th/

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้Thanyalak Chanmai
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5qnlivyatan
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sarita Witesd
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14ssuser72ad1c1
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2sarawut chaicharoen
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1tassanee chaicharoen
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)Jutamas123
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยNarrongdej3110
 
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักโครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักPao Pro
 

What's hot (19)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
 
Projectcom 2560
Projectcom 2560Projectcom 2560
Projectcom 2560
 
Nut1
Nut1Nut1
Nut1
 
สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
2561 project 03
2561 project  032561 project  03
2561 project 03
 
Kannika1
Kannika1Kannika1
Kannika1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
2562 final-project 14......
2562 final-project 14......2562 final-project 14......
2562 final-project 14......
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักโครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
 

Similar to กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาBream Mie
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Benya Chaiwan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Benya Chaiwan
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project mew46716
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าNattanichaYRC
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมAkanit Srilaruk
 
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักโครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักJorJames Satawat
 
2560 project 602
2560  project 6022560  project 602
2560 project 602opor kwn
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่างAom Nachanok
 

Similar to กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
2561 project 22..
2561 project  22..2561 project  22..
2561 project 22..
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Obesity
ObesityObesity
Obesity
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Obesity
ObesityObesity
Obesity
 
2560 project -1 new
2560 project -1 new2560 project -1 new
2560 project -1 new
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอม
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักโครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
2560 project 602
2560  project 6022560  project 602
2560 project 602
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่าง
 

More from Guy Prp

ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
กิจกรรม3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรม3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรม3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรม3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
กิจกรรม2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรม2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรม2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรม2 โครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2Guy Prp
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project Guy Prp
 
โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยGuy Prp
 

More from Guy Prp (11)

ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรม3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรม3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรม3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรม3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรม2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรม2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรม2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรม2 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทย
 

กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน การออกกาลังกาย ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาว ปิยะฉัตร ใจเย็น เลขที่ 17 ชั้นม.6 ห้อง 14 2.นางสาว เบญจวรรณ ทับเสือ เลขที่ 22 ชั้น ม.6 ห้อง 14 3.นาย พุทธิพงษ์พรหมเมือง เลขที่ 40 ชั้น ม.6 ห้อง 14 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
  • 2. 2 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาว ปิยะฉัตร ใจเย็น เลขที่ 17 2. นางสาว เบญจวรรณ ทับเสือ เลขที่ 22 3.นายพุทธิพงษ์พรหมเมือง เลขที่ 40 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การออกกาลังกาย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Exercise
  • 3. 3 ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาว ปิยะฉัตร ใจเย็น เลขที่ 17 2.นางสาว เบญจวรรณ ทับเสือ เลขที่ 22 3.นาย พุทธิพงษ์พรหมเมือง เลขที่ 40 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน การออกกาลังกาย หมายถึง กิจกรรมที่ทีกระทาแล้วทาให้ร่างกายมีสุขภาพที่ดี มี ความฟิต การออกกาลังกายจะทาให้กล้ามเนื้อ หัวใจและหลอดเลือดแข็งแรง ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็ง การออกกาลังกายไม่ได้หมายถึงการต้องไปแข่งขันกีฬากับผู้อื่น แต่การออกกาลัง กายเป็นการแข่งขันกับตัวเอง หลายคนก่อนจะออกกาลังกายมักจะอ้างเหตุผลของการไม่ออกกาลังกาย เช่น ไม่มี เวลา ไม่มีสถานที่ ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ ปัญหาเกี่ยวกับอากาศ ทั้งหมดเป็นข้ออ้าง
  • 4. 4 ที่จะไม่ออกกาลังกาย แต่ลืมไปว่าการออกกาลังกาย อาจจะให้ผลดีมากกว่าสิ่งที่เขา เสียไป เป็นที่น่าดีใจว่าการออกกาลังให้สุขภาพดีไม่ต้องใช้เวลามากมาย เพียงแค่วันละครึ่ง ชั่วโมงก็พอ และก็ไม่ต้องใช้พื้นที่หรือเครื่องมืออะไร มีเพียงพื้นที่ในการเดินก็ พอแล้ว การออกกาลังจะทาให้รูปร่างดูดี กล้ามเนื้อแข็งแรง ป้องกันโรคหัวใจ ป้องกันโรคกระดูกพรุน ป้องกันโรคอ้วน การออกกาลังกายทาให้ร่างกายสดชื่น มี พลังที่จะทางานและต่อสู้กับชีวิต นอกจากนั้นยังสามารถลดความเครียดได้ด้วย ความสาคัญของการออกกาลังกาย ร่างกายมนุษย์มีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา เพื่อความเจริญเติบโตและรักษาสภาพ การทางานที่ดีเอาไว้การที่ไม่ค่อยได้ออกกาลังกาย ไม่เพียงแต่จะทาให้เกิดความ เสื่อมโทรมของสมรรถภาพทางกายหรือสุขภาพ แต่ยังเป็นสาเหตุของความผิดปกติ ของร่างกายและโรคร้ายหลายชนิดที่ป้องกันได้ซึ่งเป็นโรคที่เป็นปัญหาทาง การแพทย์ที่พบมากในปัจจุบัน ในทางการแพทย์การออกกาลังกายอาจเปรียบได้กับ ยาสารพัดประโยชน์ เพราะใช้เป็นยาบารุงเป็นยาป้องกันและเป็นยาบาบัดรักษาหรือ ฟื้นฟูสภาพร่างกาย แต่การที่ได้ชื่อว่ายาแล้วไม่ว่าจะวิเศษเพียงไรก็จะต้องใช้ด้วย ขนาดหรือปริมาณที่เหมาะสมกับคนแต่ละคน ในคนที่ใช้โดยไม่คานึงถึงขนาดหรื อปริมาณที่เหมาะสม นอกจากอาจไม่ได้ผลแล้วยังอาจเกิดโทษจากยาได้ด้วย การ ออกกาลังกายให้เกิดประโยชน์แก่สุขภาพคือ การจัดชนิดของความหนัก ความนาน และความบ่อยของการออกกาลังกายให้เหมาะสมกับเพศ วัย สภาพร่างกาย สภาพแวดล้อม และจุดประสงค์ของแต่ละคน
  • 5. 5 ประโยชน์ของการออกกาลังกาย 1. เพื่อการเจริญเติบโต การออกกาลังกายจัดเป็นปัจจัยสาคัญอันหนึ่งที่มีผลกระทบ ต่อการเจริญเติบโต เด็กที่ไม่ค่อยได้ออกกาลังกายแต่มีการกินอาหารมากอาจมี ส่วนสูงและน้าหนักตัวมากกว่าเด็กในวัยเดียวกันโดยเฉลี่ย แต่ส่วนใหญ่แล้วจะทา ให้ร่างกายมีไขมันมากเกินไป มีกระดูกเล็ก หัวใจมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับน้าหนักตัว และรูปร่างอาจผิดปกติได้เช่น เข่าชิดกัน อ้วนแบบฉุ เป็นต้น ซึ่งถือว่าเป็นการ เจริญเติบโตที่ผิดปกติ ตรงข้ามกับเด็กที่ออกกาลังกายถูกต้องสม่าเสมอ ร่างกายจะ ผลิตฮอร์โมนที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโตอย่างถูกส่วน จึงกระตุ้นให้อวัยวะต่าง ๆ เจริญขึ้นพร้อมกันไปทั้งขนาด รูปร่าง และหน้าที่การทางาน และเมื่อประกอบกับผล ของการออกกาลังกายที่ทาให้เจริญอาหาร การย่อยอาหารและการขับถ่ายดี เด็กที่ ออกกาลังกายอย่างถูกต้องและสม่าเสมอจึงมีการเจริญเติบโตดีกว่าเด็กที่ไม่ค่อยได้ ออกกาลังกาย 2. เพื่อสุขภาพ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า การออกกาลังกายมีประโยชน์ต่อ สุขภาพถึงแม้จะไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าการออกกาลังกายสามารถเพิ่มภูมิต้านทาน โรคที่เกิดจากการติดเชื้อได้แต่มีหลักฐานที่พบบ่อยครั้งว่า เมื่อนักกีฬาเกิดการ เจ็บป่วยจากการติดเชื้อจะสามารถหายได้เร็วกว่า และมีโรคแทรกซ้อนน้อยกว่า ข้อ ที่ทาให้เชื่อได้แน่ว่าผู้ที่ออกกาลังกายย่อมมีสุขภาพดีกว่าผู้ที่ไม่ค่อยออกกาลังกาย คือ การที่อวัยวะต่าง ๆ มีการพัฒนาทั้งขนาด รูปร่าง และหน้าที่การทางาน โอกาส ของการเกิดโรคที่ไม่ใช่โรคติดเชื้อ เช่น โรคเสื่อมสมรรถภาพในการทางานของ อวัยวะจึงมีน้อยกว่า
  • 6. 6 3. เพื่อสมรรถภาพทางกาย ถ้าการออกกาลังกายเป็นยาบารุง การออกกาลังกายถือ เป็นยาบารุงเพียงอย่างเดียวที่สามารถเพิ่มสมรรถภาพทางกายได้เพราะไม่มียาใด ๆ ที่สามารถทาให้ร่างกายมีสมรรถภาพเพิ่มขึ้นได้อย่างแท้จริงและถาวร ยาบางอย่าง อาจทาให้ผู้ใช้สามารถทนทางานบางอย่างได้นานกว่าปกติ แต่เมื่อทาไปแล้วร่างกาย ก็จะอ่อนเพลียกว่าปกติจนต้องพักผ่อนนานกว่าปกติ หรือร่างกาย ทรุดโทรมลงไป ในทางปฏิบัติเราสามารถเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายทุก ๆ ด้านได้เช่น ความ แข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความอ่อนตัว ความอดทนของกล้ามเนื้อ ความอดทนของ ระบบไหลเวียนเลือด ความคล่องตัว ฯลฯ 4. เพื่อรูปร่างและทรวดทรง การออกกาลังกายเป็นได้ทั้งยาป้องกันและยารักษาโรค การเสียทรวดทรงในช่วงการเจริญเติบโตดังข้อ 1. ย่อมป้องกันได้ด้วยการออกกาลัง กาย แต่เมื่อ เติบโตเต็มที่แล้วยังขาดการออกกาลังกาย ก็จะทาให้ทรวดทรงเสียไปได้ เช่น ตัวเอียง หลังงอ พุงป่อง ซึ่งทาให้เสียบุคลิกภาพได้อย่างมาก ในระยะนี้ ถ้า กลับมาออกกาลังกายอย่างถูกต้อง เป็นประจาสม่าเสมอยังสามารถแก้ไขให้ ทรวดทรงกลับดีขึ้นมาได้แต่การแก้ไขบางอย่างอาจต้องใช้เวลานานเป็นเดือน เป็น ปี แต่บางอย่างอาจเห็นผลภายในเวลาไม่ถึง 1 เดือน เช่น พุงป่อง การบริหารกายเพื่อ เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหน้าท้องเพียง 2 สัปดาห์ ก็ทาให้กล้ามเนื้อหน้าท้อง มีความตึงตัวเพิ่มขึ้นจนกระชับอวัยวะภายในไว้ไม่ให้ดันออกมาเห็นพุงป่องได้ 5. เพื่อการป้องกันโรค การออกกาลังกายสามารถป้องกันโรคได้หลายชนิด โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของอวัยวะอันเนื่องจากการมีอายุมากขึ้น ซึ่ง ประกอบกับปัจจัยอื่น ๆ ในชีวิตประจาวันเช่น การกินอาหารมากเกินความจาเป็น ความเคร่งเครียด การสูบบุหรี่มาก หรือกรรมพันธุ์ โรคเหล่านี้ได้แก่ โรคประสาท เสียดุลยภาพ หลอดเลือดหัวใจเสื่อมสภาพ ความดันเลือดสูง โรคอ้วน โรคเบาหวาน
  • 7. 7 โรคข้อต่อเสื่อมสภาพ เป็นต้น ผู้ที่ออกกาลังกายเป็นประจามีโอกาสเกิดโรคเหล่านี้ ได้ช้ากว่าผู้ที่ขาดการออกกาลังกาย หรืออาจไม่เกิดขึ้นเลยจนชั่วชีวิต การออกกาลัง กายจึงช่วยชะลอชรา 6. เพื่อการรักษาโรคและฟื้นฟูสภาพ โรคต่าง ๆ ที่กล่าวในข้อ 5 หากเกิดขึ้นแล้ว การ เลือกวิธีออกกาลังกายที่เหมาะสมจัดเป็นวิธีรักษาและฟื้นฟูสภาพที่สาคัญในปัจจุบัน แต่ในการจัดการออกกาลังกายที่เหมาะสมมีปัญหามาก เพราะบางครั้งโรคกาเริบ รุนแรงจนการออกกาลังกายแม้เพียงเบา ๆ ก็เป็นข้อห้าม ในกรณีดังกล่าว การ ควบคุมโดยใกล้ชิดจากแพทย์ผู้ทาการรักษาและการตรวจสอบสภาพร่างกายโดย ละเอียดเป็นระยะเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง ชนิดของการออกกาลังกาย Aerobic exercise คือ การออกกาลังกายที่ไม่รุนแรงมากแต่มีความต่อเนื่อง เช่น เดิน วิ่งเหยาะ ๆ วิ่งทางไกล ว่ายน้า ถีบจักรยาน กระโดดเชือก เต้นแอโรบิค เป็นต้น เป็น การออกกาลังกายเพื่อสุขภาพควรทาเป็นประจา Anaerobic exercise คือ การออกกาลังกายแบบช่วยกลั้นลมหายใจ เช่น วิ่งระยะสั้น ยกน้าหนัก เทนนิส เป็นต้น การเตรียมตัวก่อนออกกาลังกาย - ออกกาลังกายหลังรับประทานอาหารอย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง - หลีกเลี่ยงการออกกาลังกายทันทีหลังตื่นนอน และควรหยุดออกกาลังกายอย่าง น้อย 3 ชั่วโมงก่อนเข้านอน
  • 8. 8 - ควรดื่มน้าหนึ่งแก้ว ก่อนออกมาซ้อมวิ่ง และพยายามดื่มน้าให้มากทุกวัน วิ่งเสร็จ แล้วก็ควรดื่มน้าด้วย เพื่อป้องกันภาวะร่างกายขาดน้า - เลือกชุดกีฬาและรองเท้าที่เหมาะสมกับชนิดของกีฬา เช่น ชุดวิ่งควรจะเบาและ ระบายความร้อนจากร่างกายได้ดี ควรเลือกให้เหมาะกับสภาพอากาศ เช่น เสื้อกล้าม เหมาะกับฤดูร้อน ชุดวอร์มเหมาะกับอากาศหนาวเย็น - ถ้าไม่สบาย เป็นไข้หรือท้องเสีย ควรงดการซ้อมวิ่ง ถ้าขัดเคล็ดยอก แพลง ก็ควร ลดการวิ่งลง อาจเลือกการออกกาลังกายแบบอื่นทดแทน ควรพักผ่อนให้เพียงพอ ขั้นตอนการออกกาลังกาย 1. การอบอุ่นร่างกายหรือการอุ่นเครื่อง (warm up) เป็นการเตรียมร่างกายโดยเฉพาะปอดและหัวใจให้พร้อมที่จะรับการออกกาลังกาย การอบอุ่นร่างกายที่ดีก็คือกิจกรรมที่สามารถทาให้อุณหภูมิร่างกาย อุณหภูมิ กล้ามเนื้อและปริมาณเลือดที่ไหลเวียนสู่กล้ามเนื้อที่จะใช้งานเพิ่มสูงขึ้นจากสภาวะ พัก อาจเริ่มด้วยการเดินช้าๆ แล้วค่อยๆเดินเร็วขึ้นจนชีพจรของเราเริ่มเต้นเร็วขึ้น จาก 70 ครั้งต่อนาทีมาเป็น 100 หรือ 110 ครั้งต่อนาที ช่วงนี้ร่างกายของเราจะค่อยๆ ปรับตัว ทาให้ไม่เกิดอันตรายในการออกกาลังกาย การอบอุ่นร่างกายควรใช้เวลา อย่างน้อย 5-10 นาที 2. การยืดกล้ามเนื้อ (stretching) เป็นการเตรียมกล้ามเนื้อ เอ็น และเอ็นข้อต่อของร่างกายให้เตรียมพร้อมที่จะรับการ ออกกาลังกาย ทาให้ไม่เกิดการบาดเจ็บขึ้นเมื่อเราเริ่มออกกาลังกาย ช่วงนี้ก็ใช้เวลา 5-10 นาที
  • 9. 9 3. ช่วงของการออกกาลังกาย (training zone exercise) ช่วงนี้ก็คือช่วงของการออกกาลังกายแบบแอโรบิค (aerobic exercise) เช่นถ้าวิ่ง ก็จะ วิ่งให้มีความหนักเพียงพอ คือให้หัวใจเต้นประมาณ 60-80 % ของชีพจรสูงสุด ซึ่ง จะเป็นช่วงที่มีผลต่อการฝึกปอดและหัวใจโดยที่ไม่มีอันตรายต่อร่างกาย 4. การผ่อนกาย (cool down) หลังการออกกาลังกายเป็นการปรับสภาพร่างกายจากการออกกาลังกายมาเป็นสภาพ ปกติ ถ้าเราหยุดทันที หัวใจที่เคยเต้น 130 ? 140 ครั้งต่อนาที จะกลับมาสู่สภาพปกติ คือเต้น 70 ครั้งต่อนาทีในเวลาสั้น ๆ ก็อาจเกิดอันตรายได้เพราะปอดและหัวใจ ปรับตัวไม่ทัน เนื่องจากปริมาณเลือดของร่างกายส่วนใหญ่จะไหลเวียนไปยัง กล้ามเนื้อขณะออกกาลังกาย หากหยุดออกกาลังกายทันทีทันใดจะทาให้เลือดที่ ไหลเวียนกลับสู่หัวใจน้อยลงโดยเลือดจะคั่งค้างอยู่ที่หลอดเลือดภายในกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะกล้ามเนื้อของขา (pooling effect) ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่บีบออกจาก หัวใจเพื่อส่งไปอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายลดลงโดยเฉพาะสมองจึงทาให้เกิด อาการหน้ามืดเป็นลมได้เราจึงต้องใช้เวลา 5-10 นาทีในการปรับตัวคือ ค่อยๆลดชีพ จรลงจนเป็นปกติ 5. การยืดกล้ามเนื้อหลังการออกกาลังกาย (stretching) เพื่อช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อหลังการออกกาลังกายและช่วยลดอาการตึงหรือเกร็ง ของกล้ามเนื้อและจะเป็นการเพิ่มความยืดหยุ่นของร่างกาย
  • 10. 10 ขณะป่วยควรออกกาลังกายหรือไม่ ขณะเจ็บป่วยไม่ควรจะออกกาลังกายเพราะจะทาให้โรคเป็นมากขึ้น ควรจะพักจน อาการดีขึ้น หากพักเกินสองสัปดาห์เวลาเริ่มออกกาลังกายควรจะเริ่มเบาๆก่อน และ หากท่านเป็นโรคเรื้อรังควรจะปรึกษาแพทย์ก่อนออกกาลังกาย จริงหรือไม่ที่การออกกาลังกายโดยการเดินดีพอพอกับการวิ่ง การเริ่มต้นออกกาลังควรใช้วิธีเดิน เนื่องจากจะไม่เหนื่อยมาก ปวดข้อไม่มาก และ ลดน้าหนักได้ส่วนการวิ่งจะเป็นการออกกาลังที่คุณเตรียมร่างกายไว้พร้อม เพราะ การวิ่งจะทาให้หัวใจเต้นเร็ว ทาให้เหนื่อย มีการปวดข้อ ดังนั้นการออกกาลังโดย การเดินเหมาะสาหรับผู้ที่เริ่มออกกาลัง คนอ้วน คนที่มีโรคประจาตัว แต่สาหรับการ วิ่งเหมาะสาหรับคนที่ไม่มีโรค และต้องการความฟิต คนท้องควรจะออกกาลังหรือไม่ คนท้องควรออกกาลังกายเป็นประจา แต่ออกกาลังกายแบบเบาๆโดยการเดิน ไม่ ควรจะวิ่ง ไม่ควรยกของหนัก รายละเอียดอ่าน การออกกาลังในคนท้อง จะรู้ได้อย่างไรว่าออกกาลังมากไป ท่านสามารถสังเกตขณะออกกาลังกายว่ามากไปหรือไม่ โดยสังเกตอาการ ดังต่อไปนี้
  • 11. 11 - หัวใจเต้นเร็วมากจนรู้สึกเหนื่อย - หายใจเหนื่อยจนพูดไม่เป็นประโยค - เหนื่อยจนเป็นลม - มีอาการปวดข้อหลังจากการออกกาลังกาย - หากมีอาการดังกล่าวให้หยุดการออกกาลังกายสองวัน และให้ลดระดับการออก กาลังกาย โรคที่มากับคนที่ไม่ออกกาลังกาย • กลุ่มโรคความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจขาดเลือด • โรคอ้วน • โรคเบาหวานและไขมันในเลือดสูง • โรคเครียด • โรคภูมิแพ้ • โรคปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ • โรคมะเร็ง ขณะป่วยควรออกกาลังกายหรือไม่ ขณะเจ็บป่วยไม่ควรจะออกกาลังกายเพราะจะทาให้โรคเป็นมากขึ้น ควรจะพักจน อาการดีขึ้น หากพักเกินสองสัปดาห์เวลาเริ่มออกกาลังกายควรจะเริ่มเบาๆก่อน และ หากท่านเป็นโรคเรื้อรังควรจะปรึกษาแพทย์ก่อนออกกาลังกาย จริงหรือไม่ที่การออกกาลังกายโดยการเดินดีพอพอกับการวิ่ง การเริ่มต้นออกกาลังควรใช้วิธีเดิน เนื่องจากจะไม่เหนื่อยมาก ปวดข้อไม่มาก และ ลดน้าหนักได้ส่วนการวิ่งจะเป็นการออกกาลังที่คุณเตรียมร่างกายไว้พร้อม เพราะ การวิ่งจะทาให้หัวใจเต้นเร็ว ทาให้เหนื่อย มีการปวดข้อ ดังนั้นการออกกาลังโดย
  • 12. 12 การเดินเหมาะสาหรับผู้ที่เริ่มออกกาลัง คนอ้วน คนที่มีโรคประจาตัว แต่สาหรับการ วิ่งเหมาะสาหรับคนที่ไม่มีโรค และต้องการความฟิต คนท้องควรจะออกกาลังหรือไม่ คนท้องควรออกกาลังกายเป็นประจา แต่ออกกาลังกายแบบเบาๆโดยการเดิน ไม่ ควรจะวิ่ง ไม่ควรยกของหนัก รายละเอียดอ่าน การออกกาลังในคนท้อง จะรู้ได้อย่างไรว่าออกกาลังมากไป ท่านสามารถสังเกตขณะออกกาลังกายว่ามากไปหรือไม่ โดยสังเกตอาการ ดังต่อไปนี้ หัวใจเต้นเร็วมากจนรู้สึกเหนื่อย หายใจเหนื่อยจนพูดไม่เป็นประโยค เหนื่อยจนเป็นลม มีอาการปวดข้อหลังจากการออกกาลังกาย หากมีอาการดังกล่าวให้หยุดการออกกาลังกายสองวัน และให้ลดระดับการออก กาลังกาย การออกกาลังกาย การออกกาลังของผู้ที่มีโรคหัวใจ การออกกาลังเพื่อให้หัวใจ แข็งแรง การออกกาลังกับโรคไต การออกกาลังในน้า การออกกาลังใน โรคเบาหวาน
  • 13. 13 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อต้องการศึกษาหาความรู้และแบ่งปันในความรู้เกี่ยวกับการออกกาลังกาย 2. เพื่อส่งเสริมให้ทุกๆคนมีสุขภาพที่ดีและแข็งแรง ขอบเขตโครงงาน สร้างสื่อวีดีทัศน์ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการออกกาลังกายโดยใช้โปรแกรม อิเล็กทรอนิกส์ หลักการและทฤษฎี การมีชีวิตที่สะดวกสบายและสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา แต่การที่จะเกิดสิ่งเหล่านี้ขึ้นกับบุคคลใดย่อมขึ้นอยู่กับ ปัจจัยหลาย ๆ อย่าง โดยเฉพาะการที่จะมีสุขภาพที่ดีนั้น ทาได้หลายวิธี การเลือก ออกกาลังกายเพื่อสุขภาพที่แข็งแรง และการรู้จักระวังภัยจากโรคต่าง ๆ ก็เป็นอีก วิธีหนึ่งที่สามารถช่วยเราแต่รวดเร็วทันใจ เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือกับ สถานการณ์ปัจจุบัน โดยการจัดกิจกรรมให้ความรู้สอดแทรกความบันเทิงและ สันทนาการต่างๆหรือการจัดการเต้นแอโรบิคนั่นเอง วิธีดาเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.อินเทอร์เน็ต งบประมาณ
  • 14. 14 - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลา ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช อบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อ โครงงาน / / ปิยะฉัตร 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล / / เบญจ วรรณ 3 จัดทาโครงร่าง งาน / ปิยะฉัตร 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน / พุทธิ พงษ์ 5 ปรับปรุงทดสอบ / / เบญจ วรรณ 6 การทา เอกสารรายงาน / พุทธิ พงษ์ 7 ประเมินผลงาน / ปิยะฉัตร 8 นาเสนอโครงงาน / เบญจ วรรณ
  • 15. 15 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องการออกกาลังกาย 2. มีผู้สนใจในการศึกษาครั้งนี้ 3. สามารถนาความรู้นี้ไปแบ่งปั้นหรือเผยแผ่ออกไปแก่ผู้ที่ต้องการศึกษาได้ ครบถ้วนและสามมารถนาไปปฏิบัติได้ สถานที่ดาเนินการ บ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระวิชาสุขศึกษา แหล่งอ้างอิง • https://www.siamhealth.net/public_html/Health/good_health_living/exercis e/index.htm • http://haamor.com/th/