SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน สูงวัยกับโรคซึมเศร้า (elderly peoplemajor depressive disorder)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1นางสาวศุภนิดา ทาส้าว เลขที่ 32 ชั้น 6 ห้อง 5
2นางสาวธวัลรัตน์ จันต๊ะ เลขที่ 37 ชั้น 6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
1นางสาวศุภนิดา ทาส้าว เลขที่ 32 ชั้น 6 ห้อง 5
2นางสาวธวัลรัตน์ จันต๊ะ เลขที่ 37 ชั้น 6 ห้อง 5
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
(elderly peoplemajor depressive disorder)
ประเภทโครงงาน จาลองทฤษฎี
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวศุภนิดา ทาส้าว
นางสาวธวัลรัตน์ จันต๊ะ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
บ่อยครั้งที่เรามักเห็นคนแก่นั่งเหม่อลอยอยู่คนเดียว เรื่องราวที่ผ่านมาชีวิตอันยาวนานทาให้ไม่สามารถลบออกจาก
ห้วงคานึงได้ง่ายๆ และบ่อยครั้งที่อยากกลับย้อนไปอยู่ในอดีตที่ผ่านมา เคยได้ทางานได้ทากับข้าว ได้ดูแลผู้คนมากมาย
แต่ปัจจุบันกลับต้องกลายเป็นผู้ถูกดูแล ทาให้ผู้สูงอายุหลายคนรู้สึกไร้คุณค่า รู้สึกขาดความสาคัญแลขาดความมั่นใจใน
ตัวเอง ภาวะซึมเศร้าจึงรุกเร้าเข้ามาแทนที่ จากการที่พบว่าผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเช่นนี้ถ้าเป็นไม่มาก
นักอาจเข้าข่าย “ภาวะซึมเศร้า” แต่หากมีอาการมากและกินระยะเวลานานก็สามารถพัฒนากลายเป็น “โรคซึมเศร้า”
ซึ่งจะทาให้ไม่มีความสุขในชีวิต ทากิจกรรมต่างๆในชีวิตประจาวันได้ไม่ดีเหมือนเดิมและบางรายอาจท้อแท้หรือหมด
หวัง อาจส่งผลให้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป และในฐานะผู้จัดทาโครงงานเรื่องนี้ได้มีการสนใจถึงวิธีที่จะรักษาหรือ
บรรเทาอาการซึมเศร้าของผู้สูงอายุ การป้องกันการเกิดโรคซึมเศร้า โดยต้องคิดไว้ล่วงหน้าเลยถ้าหยุดทางานแล้ว จะ
ทาอะไรผู้สูงอายุควรมีกิจกรรมทาเป็นประจา ไม่ใช่แค่นอนดูทีวีอยู่บ้าน เช่น ควรออกกาลังกาย 3-4 วันต่อสัปดาห์ มี
งานอดิเรกทาชัดเจนหรือทางานเล็กเล็กๆน้อยๆ เพื่อให้มีอะไรทาและรู้สึกว่าตัวเองยงสามารถทาอะไรได้นอกจากนี้
ควรมีการเข้าสังคมบ้างอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ ทั้งหมดที่กล่าวมาจึงเป็นเหตุที่ผู้จัดทาโครงงานตัดสินใจเลือก
หัวข้อนี้ เพราะสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ผู้สูงอายุในครอบครัวของผู้ที่ได้มาศึกษาโครงงานนี้ร่วมถึงผู้จัดทา
ด้วย
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาแนวทางการป้องกันและบรรเทาอาการโรคซึมเศร้า
2. เพื่อทราบวิธีลดปัจจัยเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้า
3. เพื่อศึกษาผลเสียในการเป็นโรคซึมเศร้า
4. เพื่อศึกษาวิธีการที่จะทาให้ผู้สูงอายุหายจากโรคซึมเศร้า
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาโรคซึมเศร้าในวัยสูงอายุ มีการป้องกนโรคและแนวทางในการรักษาโรคซึมเศร้า วิธีลดปัจจัยเสี่ยงขาดการเป็น
โรค โดยมีข้อจากัดคือไม่สามารถทาการทดลองเองได้ ต้องศึกษาจากอินเตอร์เน็ต หนังสือ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
นพ.พิชัย อิฏฐสกุล จิตแพทย์ โรงพยาบาลมนารมย์ อธิบายเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าให้ฟังว่า โรคซึมเศร้าถือเป็นโรค
ทางด้านจิตเวชที่พบมากเป็นอันดับต้นๆ ของเมืองไทย เกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือปัจจัยทางชีวภาพหรือพันธุกรรม
เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของเคมีในสมอง เช่นความผันผวนของระดับฮอร์โมนที่สาคัญ สืบทอดจากพ่อแม่สู่ลูก และ
เกิดจากปัจจัยด้านจิตใจหรือสิ่งแวดล้อมที่เรียกว่าปัจจัยทางอารมณ์ เป็นผลมาจากสถานการณ์ความตึงเครียดทาง
อารมณ์ เช่นหากเป็นภาวะซึมเศร้าในวัยเด็ก (Childhood Depression) อาจมีสาเหตุจากความตึงเครียดในครอบครัว
เหตุการณ์สะเทือนใจอย่างรุนแรง หรือความคาดหวังทางการศึกษาเล่าเรียนที่สูงส่งเกินความสามารถของตน ภาวะ
ซึมเศร้าในโรคประสาท (Neurotic depression) ซึ่งอาจพบร่องรอยว่าถูกบีบคั้นอย่างมากในวัยเด็ก แล้วปะทุออกมา
ในช่วงชีวิตภายหลัง ภาวะซึมเศร้าเพราะความชรา (Depression of age) เกิดเพราะความสามารถในการปรับตัวลด
น้อยลง มีชีวิตโดดเดี่ยว ปัญหาช่องว่างระหว่างวัยหรือปัญหาที่เรียกกันว่า ภาวะสะเทือนใจหลังเกษียณ (สูญเสียคุณค่า
ในตนไม่มีงาน ความรู้สึกว่าไร้สมรรถภาพ) นอกจากนี้ยังรวมไปถึงภาวะซึมเศร้าจากปฏิกิริยาทางใจ (Reactive
depression) เช่น อาการซึมเศร้าภายหลังจากคู่แต่งงานเสียชีวิต ตกงาน หย่าร้าง ภาวะซึมเศร้าเพราะสภาพจิตใจ
อ่อนล้า (Depression of fatigue) เป็นการตอบสนองทางใจต่อสภาวะความเครียดเรื้อรัง เช่น ชีวิตสมรสมีปัญหา
ขัดแย้งไม่รู้จบ ความกดดันจากงานที่ต้องรับผิดชอบ การเปลี่ยนงาน ภาระมากเกินไป ภาวะซึมเศร้าชนิดนี้มักเกิดใน
หญิงซึ่งต้องรับภาระทั้งในครอบครัวและทางานนอกบ้าน และในชายที่อยู่ในช่วงอายุ 50 – 60 ปี ซึ่งถูกกดดันจากการ
ไม่อาจขึ้นสู่จุดสูงสุดในอาชีพการงานของตนได้
4
ข้อสังเกตว่าเมื่อคนในครอบครัวหรือใกล้ชิดเข้าข่ายซึมเศร้า หลักการสังเกตง่ายๆ ควรจะสังเกตถึงพฤติกรรม
ดังต่อไปนี้
1. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางความคิด คือมักจะมีความคิดไปในทาง Negative Thinking หรือ
ความคิดที่เป็นด้านลบตลอดเวลา มักจะรู้สึกสิ้นหวังมองโลกในแง่ร้าย รู้สึกผิดรู้สึกตัวเองไร้ค่าไม่มีความหมาย
และคิดว่าไม่มีทางเยียวยาได้ จนทาให้มีมีความคิดที่จะทาร้ายตัวเอง ในที่สุดก็จะคิดทาร้ายตัวเอง คิดถึงแต่
เรื่องความตายลพยายามที่จะฆ่าตัวตาย
2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางการเรียนรู้หรือการทางาน มักไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ความสนุก งาน
อดิเรก หรือกิจกรรมที่เพิ่มความสนุกรวมทั้งกิจกรรมทางเพศ รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีพลังงาน การทางานช้าลง
การงานแย่ลง ไม่มีสมาธิ ความจาเสื่อม การตัดสินใจแย่ลง
3. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์คือ มักจะมีความรู้สึกซึมเศร้า กังวล อยู่ตลอดเวลา มัก
หงุดหงิดฉุนเฉียว โกรธง่าย อยู่ไม่สุข กระวนกระวาย เป็นต้น
4. พฤติกรรมที่เปลี่ยนปลงไปอย่างเด่นชัด เช่น นอนไม่หลับ ตื่นเร็ว หรือบางรายหลับมากเกินไป บางคนเบื่อ
อาหารทาให้น้าหนักลด บางคนรับประทานอาหารมากทาให้น้าหนักเพิ่ม มีอาการทางกายรักษาด้วยยา
ธรรมดาไม่หายเช่น อาการปวดศีรษะ แน่นท้อง ปวดเรื้อรัง ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นแย่ลง
ข้อควรปฏิบัติสาหรับผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า โดยมีหลัก 9 ข้อดังต่อไปนี้
1. อย่าตั้งเป้าหมายในการทางาน และปฏิบัติตัวที่ยากเกินไป หรือรับผิดชอบมากเกินไป
2. แยกแยะปัญหาใหญ่ๆ ให้เป็นส่วนย่อยๆ พร้อมทั้งจัดเรียงความสาคัญก่อนหลังและลงมือทาเท่าที่สามารถทา
ได้
3. อย่าพยายามบังคับตนเอง หรือตั้งเป้ากับตนเองให้สูงเกินไป เพราะอาจไปเพิ่มความรู้สึกล้มเหลวในภายหลัง
4. พยายามทากิจกรรมต่างๆร่วมกับบุคคลอื่น ซึ่งดีกว่าอยู่เพียงลาพัง
5. เลือกทากิจกรรมที่จะสร้างความรู้สึกที่ดีขึ้น หรือเพลิดเพลินและไม่หนักเกินไปเช่นการออกกาลังเบาๆ การชม
ภาพยนตร์ การร่วมทากิจกรรมทางสังคม
6. อย่าตัดสินใจในเรื่องที่สาคัญต่อชีวิตมากๆ เช่น การลาออกจากงาน การแต่งงาน หรือ การหย่าร้าง โดยไม่ได้
ปรึกษาผู้ใกล้ชิดที่รู้จักผู้ป่วยดี และ ต้องเป็นบุคคลที่สามารถพิจารณาเหตุการณ์นั้นอย่าง ที่ยงตรง มีความ
เป็นกลาง และ ปราศจากอคติที่เกิดจากอารมณ์มาบดบัง ถ้าเป็นไปได้ และ ดีที่สุด คือ เลื่อนการตัดสินใจ
ออกไปจนกว่าภาวะโรคซึมเศร้าจะหายไปหรือดีขึ้น มากแล้ว
7. ไม่ควรตาหนิ หรือลงโทษตนเองที่ไม่สามารถทา ได้อย่างที่ต้องการ เพราะ ไมใช่ความผิดของผู้ป่วย ควรทา
เท่าที่ตนเองทาได้
8. อย่ายอมรับว่าความคิดในแง่ร้ายที่เกิดขึ้นในภาวะ ซึมเศร้าว่าเป็นส่วนหนึ่งที่แท้จริงของตนเองเพราะโดย
แท้จริงแล้วมันเป็นส่วนหนึ่งของโรค หรือ ความเจ็บป่วย และ สามารถหายไปได้เมื่อรักษา
9. ในขณะที่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลายเป็นคนที่ต้องการ ความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นแต่ก็อาจมีบุคคลรอบตัวๆ ที่
ไม่เข้าใจในความเจ็บป่วยของผู้ป่วย และ อาจสนองตอบในทางตรงกันข้ามและกลายเป็น การซ้าเติมโดยไม่ได้
ตั้งใจ
5
นพ.พิชัย กล่าวว่า ปัจจุบันนี้โรคซึมเศร้ามีโอกาสเกิดขึ้นได้กับทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย หากเราสังเกตเห็นคนใกล้ชิด
มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปและเข้าข่ายของภาวะซึมเศร้าหรือเป็นโรคซึมเศร้าแล้ว อย่ามองว่าเป็นความคิดแง่
ลบที่สร้างขึ้นมาเอง มองโลกในแง่ร้ายเอง แต่ควรเปิดใจรับฟังและพยายามหาทางช่วยเหลือเท่าที่จะทาได้ เพราะ
โรคนี้ส่งผลรุนแรงแต่อาการอาจจะดูเหมือนคนมีอารมณ์วิตกกังวลเพียงเท่านั้น ซึ่งคนใกล้ชิดควรจะช่วยเหลือผู้ที่มี
ภาวะซึมเศร้าดังต่อไปนี้
1. การช่วยพยุง หรือประคับประคองทางอารมณ์นับเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดอันได้แก่การรับฟัง ความเข้าใจ ความ
อดทน ความห่วงใย
2. การสนับสนุนและให้กาลังใจการรับฟังผู้ป่วยอย่างตั้งใจ โดยแทนที่จะแสดงท่าทีราคาญ หรือดูแคลนผู้ป่วย
แต่ควรจะชี้ให้เห็นถึงความเป็นจริงตลอดจนความหวัง
3. การชักชวนผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม หรืองานอดิเรกที่เคยให้ความสนุกสนานต่อผู้ป่วย มาก่อน เช่น
เดินเล่น ชมภาพยนตร์ หรือเล่นกีฬา แต่ไม่ควรผลักดันมากเกินไป และเร็วเกินกว่าที่ผู้ป่วยจะรับได้เพราะอาจ
ไปเพิ่มความรู้สึกไร้ค่าไร้ความ สามารถให้มากขึ้น
4. อย่าเรียกร้องให้ผู้ป่วยต้องหายจากโรคอย่างรวดเร็ว อย่ากล่าวโทษผู้ป่วยซึมเศร้าว่าแสร้งทา หรือขี้เกียจ
เพราะถึงแม้ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาก็ยังต้องใช้เวลา ช่วงหนึ่งจึงจะมีอาการดีขึ้น
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. เลือกหัวข้อโครงงาน คือ สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
2. วางแผนการดาเนินงาน โดยศึกษาค้นคว้าข้อมูล
3. ทาแบบโครงงาน
4. นาเสนอโครงงาน
5. ประเมินผล
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
ใช้คอมพิวเตอร์ในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวกับแนวทางการป้องกันและบรรเทาอาการโรคซึมเศร้า
วิธีลดปัจจัยเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้า ตลอดจนจัดทาแบบร่างโครงงานและนาเสนอ เนื่องจากเป็นโครงงานประเภทจาลอง
ทฤษฎี ที่ไม่สามารถทาการทดลองเองได้
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน คณะผู้จัดทา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล คณะผู้จัดทา
3 จัดทาโครงร่างงาน คณะผู้จัดทา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน คณะผู้จัดทา
5 ปรับปรุงทดสอบ คณะผู้จัดทา
6 การทาเอกสารรายงาน คณะผู้จัดทา
7 ประเมินผลงาน คณะผู้จัดทา
8 นาเสนอโครงงาน คณะผู้จัดทา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ได้ทราบวิธีการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจจะเป็นโรคซึมเศร้า ทราบแนวทางการลดหรือบรรเทาอาการการสร้าง
ความสุขให้กับผู้สูงอายุที่เสี่ยงหรือเป็นโรคซึมเศร้าให้มีอาการดีขึ้นจากเดิม
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา และกลุ่มการเรียนรู้สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
ดนยา สุเวทเวทิน Team Content (2560) www.thaihealth.or.th. ข้อมูลจาก หนังสือ ‘คู่มือการดูแลผู้สูงวัย:
สูตรคลายซึมเศร้า สืบค้นเมื่อ 25/12/2560 , จากเว็บไซต์ : http://www.thaihealth.or.th/Content/35832
โรงพยาบาลมนารมย์(2559) จิตแพทย์แนะ 9 วิธีรักษาโรคซึมเศร้า สืบค้นเมื่อ 25/12/2560 , จากเว็บไซต์ :
โรงพยาบาลมนารมย์ : http://www.manarom.com
บทความเพื่อสุขภาพ (2559) สูงวัยกับโรคซึมเศร้า สืบค้นเมื่อ 25/12/2560 , จากเว็บไซต์
http://health.haijai.com

More Related Content

What's hot

โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าNattanichaYRC
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีมeyecosmomo
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์jungkookjin
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sarita Witesd
 
สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้Thanyalak Chanmai
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยNarrongdej3110
 
2562 final-project-15
2562 final-project-152562 final-project-15
2562 final-project-15KUMBELL
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 

What's hot (19)

โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
Help student
Help studentHelp student
Help student
 
Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีม
 
W.11
W.11W.11
W.11
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project -1 new
2560 project -1 new2560 project -1 new
2560 project -1 new
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
2562 final-project-15
2562 final-project-152562 final-project-15
2562 final-project-15
 
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพแผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

Similar to 2560 project (20)

W.1
W.1W.1
W.1
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอม
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)
 
2562 final-project 14......
2562 final-project 14......2562 final-project 14......
2562 final-project 14......
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2562 final-project computer
2562 final-project computer2562 final-project computer
2562 final-project computer
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
 
2560 project 9,22
2560 project 9,222560 project 9,22
2560 project 9,22
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

More from Gear Tanatchaporn

สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่Gear Tanatchaporn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าGear Tanatchaporn
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าสูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าGear Tanatchaporn
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าสูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าGear Tanatchaporn
 

More from Gear Tanatchaporn (6)

สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าสูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าสูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน สูงวัยกับโรคซึมเศร้า (elderly peoplemajor depressive disorder) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1นางสาวศุภนิดา ทาส้าว เลขที่ 32 ชั้น 6 ห้อง 5 2นางสาวธวัลรัตน์ จันต๊ะ เลขที่ 37 ชั้น 6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม สูงวัยกับโรคซึมเศร้า 1นางสาวศุภนิดา ทาส้าว เลขที่ 32 ชั้น 6 ห้อง 5 2นางสาวธวัลรัตน์ จันต๊ะ เลขที่ 37 ชั้น 6 ห้อง 5 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) สูงวัยกับโรคซึมเศร้า ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) (elderly peoplemajor depressive disorder) ประเภทโครงงาน จาลองทฤษฎี ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวศุภนิดา ทาส้าว นางสาวธวัลรัตน์ จันต๊ะ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) บ่อยครั้งที่เรามักเห็นคนแก่นั่งเหม่อลอยอยู่คนเดียว เรื่องราวที่ผ่านมาชีวิตอันยาวนานทาให้ไม่สามารถลบออกจาก ห้วงคานึงได้ง่ายๆ และบ่อยครั้งที่อยากกลับย้อนไปอยู่ในอดีตที่ผ่านมา เคยได้ทางานได้ทากับข้าว ได้ดูแลผู้คนมากมาย แต่ปัจจุบันกลับต้องกลายเป็นผู้ถูกดูแล ทาให้ผู้สูงอายุหลายคนรู้สึกไร้คุณค่า รู้สึกขาดความสาคัญแลขาดความมั่นใจใน ตัวเอง ภาวะซึมเศร้าจึงรุกเร้าเข้ามาแทนที่ จากการที่พบว่าผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเช่นนี้ถ้าเป็นไม่มาก นักอาจเข้าข่าย “ภาวะซึมเศร้า” แต่หากมีอาการมากและกินระยะเวลานานก็สามารถพัฒนากลายเป็น “โรคซึมเศร้า” ซึ่งจะทาให้ไม่มีความสุขในชีวิต ทากิจกรรมต่างๆในชีวิตประจาวันได้ไม่ดีเหมือนเดิมและบางรายอาจท้อแท้หรือหมด หวัง อาจส่งผลให้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป และในฐานะผู้จัดทาโครงงานเรื่องนี้ได้มีการสนใจถึงวิธีที่จะรักษาหรือ บรรเทาอาการซึมเศร้าของผู้สูงอายุ การป้องกันการเกิดโรคซึมเศร้า โดยต้องคิดไว้ล่วงหน้าเลยถ้าหยุดทางานแล้ว จะ ทาอะไรผู้สูงอายุควรมีกิจกรรมทาเป็นประจา ไม่ใช่แค่นอนดูทีวีอยู่บ้าน เช่น ควรออกกาลังกาย 3-4 วันต่อสัปดาห์ มี งานอดิเรกทาชัดเจนหรือทางานเล็กเล็กๆน้อยๆ เพื่อให้มีอะไรทาและรู้สึกว่าตัวเองยงสามารถทาอะไรได้นอกจากนี้ ควรมีการเข้าสังคมบ้างอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ ทั้งหมดที่กล่าวมาจึงเป็นเหตุที่ผู้จัดทาโครงงานตัดสินใจเลือก หัวข้อนี้ เพราะสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ผู้สูงอายุในครอบครัวของผู้ที่ได้มาศึกษาโครงงานนี้ร่วมถึงผู้จัดทา ด้วย
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาแนวทางการป้องกันและบรรเทาอาการโรคซึมเศร้า 2. เพื่อทราบวิธีลดปัจจัยเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้า 3. เพื่อศึกษาผลเสียในการเป็นโรคซึมเศร้า 4. เพื่อศึกษาวิธีการที่จะทาให้ผู้สูงอายุหายจากโรคซึมเศร้า ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาโรคซึมเศร้าในวัยสูงอายุ มีการป้องกนโรคและแนวทางในการรักษาโรคซึมเศร้า วิธีลดปัจจัยเสี่ยงขาดการเป็น โรค โดยมีข้อจากัดคือไม่สามารถทาการทดลองเองได้ ต้องศึกษาจากอินเตอร์เน็ต หนังสือ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) นพ.พิชัย อิฏฐสกุล จิตแพทย์ โรงพยาบาลมนารมย์ อธิบายเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าให้ฟังว่า โรคซึมเศร้าถือเป็นโรค ทางด้านจิตเวชที่พบมากเป็นอันดับต้นๆ ของเมืองไทย เกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือปัจจัยทางชีวภาพหรือพันธุกรรม เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของเคมีในสมอง เช่นความผันผวนของระดับฮอร์โมนที่สาคัญ สืบทอดจากพ่อแม่สู่ลูก และ เกิดจากปัจจัยด้านจิตใจหรือสิ่งแวดล้อมที่เรียกว่าปัจจัยทางอารมณ์ เป็นผลมาจากสถานการณ์ความตึงเครียดทาง อารมณ์ เช่นหากเป็นภาวะซึมเศร้าในวัยเด็ก (Childhood Depression) อาจมีสาเหตุจากความตึงเครียดในครอบครัว เหตุการณ์สะเทือนใจอย่างรุนแรง หรือความคาดหวังทางการศึกษาเล่าเรียนที่สูงส่งเกินความสามารถของตน ภาวะ ซึมเศร้าในโรคประสาท (Neurotic depression) ซึ่งอาจพบร่องรอยว่าถูกบีบคั้นอย่างมากในวัยเด็ก แล้วปะทุออกมา ในช่วงชีวิตภายหลัง ภาวะซึมเศร้าเพราะความชรา (Depression of age) เกิดเพราะความสามารถในการปรับตัวลด น้อยลง มีชีวิตโดดเดี่ยว ปัญหาช่องว่างระหว่างวัยหรือปัญหาที่เรียกกันว่า ภาวะสะเทือนใจหลังเกษียณ (สูญเสียคุณค่า ในตนไม่มีงาน ความรู้สึกว่าไร้สมรรถภาพ) นอกจากนี้ยังรวมไปถึงภาวะซึมเศร้าจากปฏิกิริยาทางใจ (Reactive depression) เช่น อาการซึมเศร้าภายหลังจากคู่แต่งงานเสียชีวิต ตกงาน หย่าร้าง ภาวะซึมเศร้าเพราะสภาพจิตใจ อ่อนล้า (Depression of fatigue) เป็นการตอบสนองทางใจต่อสภาวะความเครียดเรื้อรัง เช่น ชีวิตสมรสมีปัญหา ขัดแย้งไม่รู้จบ ความกดดันจากงานที่ต้องรับผิดชอบ การเปลี่ยนงาน ภาระมากเกินไป ภาวะซึมเศร้าชนิดนี้มักเกิดใน หญิงซึ่งต้องรับภาระทั้งในครอบครัวและทางานนอกบ้าน และในชายที่อยู่ในช่วงอายุ 50 – 60 ปี ซึ่งถูกกดดันจากการ ไม่อาจขึ้นสู่จุดสูงสุดในอาชีพการงานของตนได้
  • 4. 4 ข้อสังเกตว่าเมื่อคนในครอบครัวหรือใกล้ชิดเข้าข่ายซึมเศร้า หลักการสังเกตง่ายๆ ควรจะสังเกตถึงพฤติกรรม ดังต่อไปนี้ 1. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางความคิด คือมักจะมีความคิดไปในทาง Negative Thinking หรือ ความคิดที่เป็นด้านลบตลอดเวลา มักจะรู้สึกสิ้นหวังมองโลกในแง่ร้าย รู้สึกผิดรู้สึกตัวเองไร้ค่าไม่มีความหมาย และคิดว่าไม่มีทางเยียวยาได้ จนทาให้มีมีความคิดที่จะทาร้ายตัวเอง ในที่สุดก็จะคิดทาร้ายตัวเอง คิดถึงแต่ เรื่องความตายลพยายามที่จะฆ่าตัวตาย 2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางการเรียนรู้หรือการทางาน มักไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ความสนุก งาน อดิเรก หรือกิจกรรมที่เพิ่มความสนุกรวมทั้งกิจกรรมทางเพศ รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีพลังงาน การทางานช้าลง การงานแย่ลง ไม่มีสมาธิ ความจาเสื่อม การตัดสินใจแย่ลง 3. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์คือ มักจะมีความรู้สึกซึมเศร้า กังวล อยู่ตลอดเวลา มัก หงุดหงิดฉุนเฉียว โกรธง่าย อยู่ไม่สุข กระวนกระวาย เป็นต้น 4. พฤติกรรมที่เปลี่ยนปลงไปอย่างเด่นชัด เช่น นอนไม่หลับ ตื่นเร็ว หรือบางรายหลับมากเกินไป บางคนเบื่อ อาหารทาให้น้าหนักลด บางคนรับประทานอาหารมากทาให้น้าหนักเพิ่ม มีอาการทางกายรักษาด้วยยา ธรรมดาไม่หายเช่น อาการปวดศีรษะ แน่นท้อง ปวดเรื้อรัง ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นแย่ลง ข้อควรปฏิบัติสาหรับผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า โดยมีหลัก 9 ข้อดังต่อไปนี้ 1. อย่าตั้งเป้าหมายในการทางาน และปฏิบัติตัวที่ยากเกินไป หรือรับผิดชอบมากเกินไป 2. แยกแยะปัญหาใหญ่ๆ ให้เป็นส่วนย่อยๆ พร้อมทั้งจัดเรียงความสาคัญก่อนหลังและลงมือทาเท่าที่สามารถทา ได้ 3. อย่าพยายามบังคับตนเอง หรือตั้งเป้ากับตนเองให้สูงเกินไป เพราะอาจไปเพิ่มความรู้สึกล้มเหลวในภายหลัง 4. พยายามทากิจกรรมต่างๆร่วมกับบุคคลอื่น ซึ่งดีกว่าอยู่เพียงลาพัง 5. เลือกทากิจกรรมที่จะสร้างความรู้สึกที่ดีขึ้น หรือเพลิดเพลินและไม่หนักเกินไปเช่นการออกกาลังเบาๆ การชม ภาพยนตร์ การร่วมทากิจกรรมทางสังคม 6. อย่าตัดสินใจในเรื่องที่สาคัญต่อชีวิตมากๆ เช่น การลาออกจากงาน การแต่งงาน หรือ การหย่าร้าง โดยไม่ได้ ปรึกษาผู้ใกล้ชิดที่รู้จักผู้ป่วยดี และ ต้องเป็นบุคคลที่สามารถพิจารณาเหตุการณ์นั้นอย่าง ที่ยงตรง มีความ เป็นกลาง และ ปราศจากอคติที่เกิดจากอารมณ์มาบดบัง ถ้าเป็นไปได้ และ ดีที่สุด คือ เลื่อนการตัดสินใจ ออกไปจนกว่าภาวะโรคซึมเศร้าจะหายไปหรือดีขึ้น มากแล้ว 7. ไม่ควรตาหนิ หรือลงโทษตนเองที่ไม่สามารถทา ได้อย่างที่ต้องการ เพราะ ไมใช่ความผิดของผู้ป่วย ควรทา เท่าที่ตนเองทาได้ 8. อย่ายอมรับว่าความคิดในแง่ร้ายที่เกิดขึ้นในภาวะ ซึมเศร้าว่าเป็นส่วนหนึ่งที่แท้จริงของตนเองเพราะโดย แท้จริงแล้วมันเป็นส่วนหนึ่งของโรค หรือ ความเจ็บป่วย และ สามารถหายไปได้เมื่อรักษา 9. ในขณะที่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลายเป็นคนที่ต้องการ ความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นแต่ก็อาจมีบุคคลรอบตัวๆ ที่ ไม่เข้าใจในความเจ็บป่วยของผู้ป่วย และ อาจสนองตอบในทางตรงกันข้ามและกลายเป็น การซ้าเติมโดยไม่ได้ ตั้งใจ
  • 5. 5 นพ.พิชัย กล่าวว่า ปัจจุบันนี้โรคซึมเศร้ามีโอกาสเกิดขึ้นได้กับทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย หากเราสังเกตเห็นคนใกล้ชิด มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปและเข้าข่ายของภาวะซึมเศร้าหรือเป็นโรคซึมเศร้าแล้ว อย่ามองว่าเป็นความคิดแง่ ลบที่สร้างขึ้นมาเอง มองโลกในแง่ร้ายเอง แต่ควรเปิดใจรับฟังและพยายามหาทางช่วยเหลือเท่าที่จะทาได้ เพราะ โรคนี้ส่งผลรุนแรงแต่อาการอาจจะดูเหมือนคนมีอารมณ์วิตกกังวลเพียงเท่านั้น ซึ่งคนใกล้ชิดควรจะช่วยเหลือผู้ที่มี ภาวะซึมเศร้าดังต่อไปนี้ 1. การช่วยพยุง หรือประคับประคองทางอารมณ์นับเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดอันได้แก่การรับฟัง ความเข้าใจ ความ อดทน ความห่วงใย 2. การสนับสนุนและให้กาลังใจการรับฟังผู้ป่วยอย่างตั้งใจ โดยแทนที่จะแสดงท่าทีราคาญ หรือดูแคลนผู้ป่วย แต่ควรจะชี้ให้เห็นถึงความเป็นจริงตลอดจนความหวัง 3. การชักชวนผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม หรืองานอดิเรกที่เคยให้ความสนุกสนานต่อผู้ป่วย มาก่อน เช่น เดินเล่น ชมภาพยนตร์ หรือเล่นกีฬา แต่ไม่ควรผลักดันมากเกินไป และเร็วเกินกว่าที่ผู้ป่วยจะรับได้เพราะอาจ ไปเพิ่มความรู้สึกไร้ค่าไร้ความ สามารถให้มากขึ้น 4. อย่าเรียกร้องให้ผู้ป่วยต้องหายจากโรคอย่างรวดเร็ว อย่ากล่าวโทษผู้ป่วยซึมเศร้าว่าแสร้งทา หรือขี้เกียจ เพราะถึงแม้ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาก็ยังต้องใช้เวลา ช่วงหนึ่งจึงจะมีอาการดีขึ้น วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. เลือกหัวข้อโครงงาน คือ สูงวัยกับโรคซึมเศร้า 2. วางแผนการดาเนินงาน โดยศึกษาค้นคว้าข้อมูล 3. ทาแบบโครงงาน 4. นาเสนอโครงงาน 5. ประเมินผล เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ใช้คอมพิวเตอร์ในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวกับแนวทางการป้องกันและบรรเทาอาการโรคซึมเศร้า วิธีลดปัจจัยเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้า ตลอดจนจัดทาแบบร่างโครงงานและนาเสนอ เนื่องจากเป็นโครงงานประเภทจาลอง ทฤษฎี ที่ไม่สามารถทาการทดลองเองได้
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน คณะผู้จัดทา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล คณะผู้จัดทา 3 จัดทาโครงร่างงาน คณะผู้จัดทา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน คณะผู้จัดทา 5 ปรับปรุงทดสอบ คณะผู้จัดทา 6 การทาเอกสารรายงาน คณะผู้จัดทา 7 ประเมินผลงาน คณะผู้จัดทา 8 นาเสนอโครงงาน คณะผู้จัดทา ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ได้ทราบวิธีการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจจะเป็นโรคซึมเศร้า ทราบแนวทางการลดหรือบรรเทาอาการการสร้าง ความสุขให้กับผู้สูงอายุที่เสี่ยงหรือเป็นโรคซึมเศร้าให้มีอาการดีขึ้นจากเดิม สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา และกลุ่มการเรียนรู้สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) ดนยา สุเวทเวทิน Team Content (2560) www.thaihealth.or.th. ข้อมูลจาก หนังสือ ‘คู่มือการดูแลผู้สูงวัย: สูตรคลายซึมเศร้า สืบค้นเมื่อ 25/12/2560 , จากเว็บไซต์ : http://www.thaihealth.or.th/Content/35832 โรงพยาบาลมนารมย์(2559) จิตแพทย์แนะ 9 วิธีรักษาโรคซึมเศร้า สืบค้นเมื่อ 25/12/2560 , จากเว็บไซต์ : โรงพยาบาลมนารมย์ : http://www.manarom.com บทความเพื่อสุขภาพ (2559) สูงวัยกับโรคซึมเศร้า สืบค้นเมื่อ 25/12/2560 , จากเว็บไซต์ http://health.haijai.com