SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคอ้วน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว พิมลภา ปัญญามี เลขที่ 16 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาว พิมลภา ปัญญามี เลขที่ 16 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 9
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคอ้วน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Obesity
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พิมลภา ปัญญามี
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
จากรายงานสุขภาพคนไทย ในปี 2557 ระบุว่า โรคอ้วนถือเป็นสาเหตุให้เจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัย
อันควรจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable Diseases : NCDs) อาทิ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
โรคตับ โรคมะเร็ง โรคเกี่ยวกับถุงน้าดี โรคซึมเศร้า ภาวะหายใจลาบากและหยุดหายใจขณะหลับและโรคข้อเข่า
เสื่อม เป็นต้น โดยคนอ้วนมีโอกาสเป็นโรคเหล่านี้มากกว่าปกติ 2-3 เท่า
นอกจากนี้ภาวะโรคอ้วนในประเทศไทย มีแนวโน้มจะขยายตัวเพิ่มขึ้นอีกในอนาคต จากผลการสารวจ
สุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายพบคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปหรือมากกว่า 1 ใน 3 อยู่ในภาวะ
น้าหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวเมื่อเทียบกับในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา และหากเปรียบเทียบในระดับ
ภูมิภาคอาเซียนพบว่าคนไทยอ้วนสูงสุดเป็นอันดับ 2 จากทั้งหมด 10 ประเทศอาเซียน รองจากประเทศ
มาเลเซียเท่านั้น โดยมีคนไทยอ้วนถึงร้อยละ 8.5 (ประมาณ 5.6 ล้านคน) และพบว่าคนไทยร้อยละ 0.9
เข้าเกณฑ์เป็นโรคอ้วนที่พึงได้รับการผ่าตัด (ประมาณ 6.7 แสนคน)
3
หลักการในการรักษาโรคอ้วนในปัจจุบัน คือการลดน้าหนัก ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการหลัก 3 ข้อหลัก ได้แก่
1. การควบคุมการกินอาหารและเครื่องดื่ม 2. การออกกาลังกาย 3. การติดตามผลการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง
การศึกษาในประเทศอิสราเอลพบว่าสาหรับผู้เป็นโรคอ้วน (ดัชนีมวลกาย: body mass index; BMI ตั้งแต่ 40
กิโลกรัมต่อตารางเมตร) แล้วโอกาสที่จะลดน้าหนักสาเร็จได้ด้วยกระบวนการเหล่านี้ คือประมาณร้อยละ 7.5
และโอกาสไม่ประสบความสาเร็จสูงถึงร้อยละ 92.5 เทียบกับผู้เป็นโรคอ้วนที่เข้ารับการผ่าตัดที่ประสบ
ความสาเร็จสูงถึงร้อยละ 59.3 คือโอกาสสาเร็จมากกว่ากันถึง 7.9 เท่า
นอกจากความสาเร็จในเรื่องน้าหนักที่ลดลง ยังมีเรื่องความสาเร็จในการควบคุมและรักษาโรคร่วมที่เกิด
จากโรคอ้วน โดยเฉพาะ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหยุดหายใจขณะหลับ และภาวะระดับไขมัน
ในเลือดสูง ซึ่งผู้เข้ารับการผ่าตัดจะสามารถควบคุมโรคร่วมดังกล่าวได้มากกว่าผู้ไม่ผ่าตัดถึงเกือบ 5 เท่า ที่
สาคัญที่สุดคือชีวิตที่ยืนยาวขึ้น การศึกษาในประเทศสวีเดนพบว่าผู้เข้ารับการผ่าตัดมีอายุเฉลี่ยที่ยืนยาวกว่าผู้
ไม่ผ่าตัดถึง 8 ปี ดังนั้นการผ่าตัดรักษาโรคอ้วนจึงเป็นวิธีรักษาโรคอ้วนอย่างได้ผลมานานกว่า 60 ปีแล้ว
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาเรื่องโรคอ้วน
2.เพื่อศึกษาหาวิธีการรักษาผู้ป่วยโรคอ้วน
3.เพื่อเป็นสื่อในการเผยแพร่ความรู้เรื่องโรคอ้วน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
โครงงานเรื่อง โรคอ้วน มีเนื้อหาเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของโรค เช่น อาการของโรค สาเหตุของโรค
วิธีการรักษา โดยผู้จัดทาการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้ทาการศึกษาใน ภาคเรียนที่ 1 ปี
การศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึ่งมีระยะเวลาด าเนินโครงงาน 29 สิงหาคม – 14 กันยายน 2562
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
อ้วน (Obesity) เป็นภาวะที่ร่างกายมีการสะสมไขมันมากผิดปกติหรือมากเกินกว่าที่ร่างกายจะเผาผลาญ
ออกไป จนทาให้เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพ เหนื่อยง่าย หายใจลาบาก ทากิจกรรมต่าง ๆ ยากลาบากขึ้น
สูญเสียความมั่นใจ นอนกรน ปวดข้อ ปวดหลัง ไขมันในเลือดสูง หอบหืด โรคเบาหวาน โรคหัวใจ ไปจนถึง
มะเร็งลาไส้ และโรคร้ายแรงอื่น ๆ ที่อาจพัฒนาตามหลังจากภาวะอ้วนได้
อาการของภาวะอ้วน
ผู้ที่มีภาวะอ้วน คือ ผู้ที่มีไขมันส่วนเกินสะสมอยู่ในร่างกายปริมาณมาก ทาให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ คือ
หายใจติดขัด นอนกรน เหนื่อยง่าย ร้อนง่าย เหงื่อออกง่าย ทากิจกรรมต่าง ๆ ได้ยากลาบาก จนอาจทาให้เกิด
ปัญหาสุขภาพอื่น ๆ รวมถึงความไม่มั่นใจในตนเอง อาจทาให้มีปัญหาด้านความสัมพันธ์หรือการเข้าสังคม และ
ปัญหาสุขภาพจิตอย่างภาวะซึมเศร้าที่อาจเกิดขึ้นตามมา
4
สาเหตุของภาวะอ้วน
ภาวะอ้วน คือ การที่ร่างกายมีการสะสมไขมันมากผิดปกติ หรือมากเกินกว่าที่ร่างกายจะเผาผลาญออกไปผ่าน
กิจกรรมประจาวัน เกิดจากหลายปัจจัย เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการใช้ชีวิต กรรมพันธุ์ อายุ
ปัจจัยทางการแพทย์ที่อาจมีผลข้างเคียงทาให้เกิดภาวะอ้วน และปัจจัยภายนอกอื่น ๆ อย่างสภาพแวดล้อม
และสถานภาพทางเศรษฐกิจ เป็นต้น
การวินิจฉัยภาวะอ้วน
การตรวจหาภาวะอ้วนทาได้ด้วยการหาค่า BMI และการตรวจวัดรอบเอว
เมื่อไปพบแพทย์ แพทย์จะตรวจร่างกาย ซักประวัติสุขภาพ การใช้ชีวิตประจาวัน การบริโภคอาหารและ
เครื่องดื่ม การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การใช้สารเสพติด การทากิจกรรมต่าง ๆ ประวัติสุขภาพของครอบครัว
ความรู้สึกที่มีต่อภาวะอ้วน และปัญหาที่กาลังเผชิญจากภาวะอ้วน
ส่วนการตรวจเพิ่มเติมเมื่อทราบว่าผู้ป่วยกาลังเผชิญกับภาวะอ้วน ได้แก่ การตรวจวัดความดันโลหิต การ
ตรวจหาระดับน้าตาลและไขมันในเลือด เพื่อให้ทราบผลความผิดปกติแล้วนาไปสู่การวางแผนรักษาต่อไป
การรักษาภาวะอ้วน
เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะอ้วนมีน้าหนักอยู่ในเกณฑ์ปกติ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และมีสุขภาพจิตที่ดี สามารถ
ทาได้โดยการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ควบคุมอาหารและพฤติกรรมการบริโภค ออกกาลังกายอย่างเหมาะสม
สม่าเสมอ
ส่วนการรักษาทางการแพทย์ แพทย์จะพิจารณาเป็นกรณี อาจมีบางรายที่ควรรับประทานยาลดน้าหนักภายใต้
ใบสั่งแพทย์ควบคู่กับการดูแลตนเอง หรือบางราย แพทย์อาจต้องทาการผ่าตัดเพื่อช่วยเหลือให้ผู้ป่วยมีอาการดี
ขึ้น ก่อนจะรักษาในขั้นต่อ ๆ ไป
ภาวะแทรกซ้อนของภาวะอ้วน
เมื่อเผชิญกับภาวะอ้วน ทาให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคและอาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ไปจนถึงโรคและ
อาการที่ร้ายแรงที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง มีปัญหาในระบบทางเดินหายใจ
ประจาเดือนมาไม่ปกติ เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ภาวะมีลูกยาก หอบหืด ปวดตามกระดูกข้อต่อ ปวดหลัง ข้อ
เสื่อม มีนิ่วในถุงน้าดี โรคเบาหวาน โรคตับ โรคไต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองตีบตัน และโรคมะเร็งต่าง ๆ
ส่วนปัญหาสุขภาพจิตที่กระทบต่อการใช้ชีวิตซึ่งอาจเกิดขึ้นตามมา ได้แก่ การขาดความมั่นใจในตนเอง
ความรู้สึกโดดเดี่ยว เก็บตัว แยกตัว นาไปสู่ปัญหาด้านความสัมพันธ์ การเข้าสังคม การเรียน การทางาน หรือ
อาจเกิดภาวะซึมเศร้าได้
การป้ องกันภาวะอ้วน
ภาวะอ้วนที่เกิดจากพฤติกรรมการกินและการใช้ชีวิต สามารถป้องกันได้โดยการควบคุมอาหารและพฤติกรรม
การกิน รับประทานผักและผลไม้ หลีกเลี่ยงอาหารที่ไม่มีประโยชน์ มีไขมันสูงและมีน้าตาลมาก ดื่มน้าเปล่าแทน
เครื่องดื่มที่มีน้าตาลหรือน้าอัดลม ออกกาลังกายอย่างเหมาะสมสม่าเสมอ และชั่งน้าหนักอยู่เสมอเพื่อตรวจดู
และควบคุมน้าหนักให้อยู่ในเกณฑ์สุขภาพดี
5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- เลือกหัวข้อที่สนใจ
- นาเสนอหัวข้อกับครูที่ปรึกษา
- ศึกษาและรวบรวมข้อมูล
- ลงมือทาโครงงาน
- นาเสนอครูที่ปรึกษา
- ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- อินเตอร์เน็ต
- คอมพิวเตอร์
- โทรศัพท์มือถือ
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอ
บ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคอ้วนมากขึ้น
2.สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยโรคอ้วนได้
3.ผู้ที่สนใจได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคอ้วนและสามารถนาไปประยุกต์และต่อยอดได้
สถานที่ดาเนินการ
ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง
เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
ปรีดา สัมฤทธิ์ประดิษฐ์. (2562). แก้วิกฤตคนไทยอ้วนด้วยการผ่าตัด…ป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
[ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์: https://www.hfocus.org/content/2019/04/17091
POBPAD. (2562). อ้วน (Obesity). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์:
https://www.pobpad.com/อ้วน

More Related Content

Similar to 2562 final-project 16-pimolpa

การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
Patitta Sitti
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Phimwaree
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
Nantharat Pansara
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วนโครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
Jungle Jam
 
2562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-1909231634522562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-190923163452
ssuserc41687
 

Similar to 2562 final-project 16-pimolpa (20)

Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
2560 project 9,22
2560 project 9,222560 project 9,22
2560 project 9,22
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วนโครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
 
ใบงานที่ 5 โครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงงานใบงานที่ 5 โครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงงาน
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
2562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-1909231634522562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-190923163452
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 

2562 final-project 16-pimolpa

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคอ้วน ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว พิมลภา ปัญญามี เลขที่ 16 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาว พิมลภา ปัญญามี เลขที่ 16 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 9 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคอ้วน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Obesity ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พิมลภา ปัญญามี ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) จากรายงานสุขภาพคนไทย ในปี 2557 ระบุว่า โรคอ้วนถือเป็นสาเหตุให้เจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัย อันควรจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable Diseases : NCDs) อาทิ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคตับ โรคมะเร็ง โรคเกี่ยวกับถุงน้าดี โรคซึมเศร้า ภาวะหายใจลาบากและหยุดหายใจขณะหลับและโรคข้อเข่า เสื่อม เป็นต้น โดยคนอ้วนมีโอกาสเป็นโรคเหล่านี้มากกว่าปกติ 2-3 เท่า นอกจากนี้ภาวะโรคอ้วนในประเทศไทย มีแนวโน้มจะขยายตัวเพิ่มขึ้นอีกในอนาคต จากผลการสารวจ สุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายพบคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปหรือมากกว่า 1 ใน 3 อยู่ในภาวะ น้าหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัวเมื่อเทียบกับในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา และหากเปรียบเทียบในระดับ ภูมิภาคอาเซียนพบว่าคนไทยอ้วนสูงสุดเป็นอันดับ 2 จากทั้งหมด 10 ประเทศอาเซียน รองจากประเทศ มาเลเซียเท่านั้น โดยมีคนไทยอ้วนถึงร้อยละ 8.5 (ประมาณ 5.6 ล้านคน) และพบว่าคนไทยร้อยละ 0.9 เข้าเกณฑ์เป็นโรคอ้วนที่พึงได้รับการผ่าตัด (ประมาณ 6.7 แสนคน)
  • 3. 3 หลักการในการรักษาโรคอ้วนในปัจจุบัน คือการลดน้าหนัก ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการหลัก 3 ข้อหลัก ได้แก่ 1. การควบคุมการกินอาหารและเครื่องดื่ม 2. การออกกาลังกาย 3. การติดตามผลการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง การศึกษาในประเทศอิสราเอลพบว่าสาหรับผู้เป็นโรคอ้วน (ดัชนีมวลกาย: body mass index; BMI ตั้งแต่ 40 กิโลกรัมต่อตารางเมตร) แล้วโอกาสที่จะลดน้าหนักสาเร็จได้ด้วยกระบวนการเหล่านี้ คือประมาณร้อยละ 7.5 และโอกาสไม่ประสบความสาเร็จสูงถึงร้อยละ 92.5 เทียบกับผู้เป็นโรคอ้วนที่เข้ารับการผ่าตัดที่ประสบ ความสาเร็จสูงถึงร้อยละ 59.3 คือโอกาสสาเร็จมากกว่ากันถึง 7.9 เท่า นอกจากความสาเร็จในเรื่องน้าหนักที่ลดลง ยังมีเรื่องความสาเร็จในการควบคุมและรักษาโรคร่วมที่เกิด จากโรคอ้วน โดยเฉพาะ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหยุดหายใจขณะหลับ และภาวะระดับไขมัน ในเลือดสูง ซึ่งผู้เข้ารับการผ่าตัดจะสามารถควบคุมโรคร่วมดังกล่าวได้มากกว่าผู้ไม่ผ่าตัดถึงเกือบ 5 เท่า ที่ สาคัญที่สุดคือชีวิตที่ยืนยาวขึ้น การศึกษาในประเทศสวีเดนพบว่าผู้เข้ารับการผ่าตัดมีอายุเฉลี่ยที่ยืนยาวกว่าผู้ ไม่ผ่าตัดถึง 8 ปี ดังนั้นการผ่าตัดรักษาโรคอ้วนจึงเป็นวิธีรักษาโรคอ้วนอย่างได้ผลมานานกว่า 60 ปีแล้ว วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาเรื่องโรคอ้วน 2.เพื่อศึกษาหาวิธีการรักษาผู้ป่วยโรคอ้วน 3.เพื่อเป็นสื่อในการเผยแพร่ความรู้เรื่องโรคอ้วน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) โครงงานเรื่อง โรคอ้วน มีเนื้อหาเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของโรค เช่น อาการของโรค สาเหตุของโรค วิธีการรักษา โดยผู้จัดทาการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้ทาการศึกษาใน ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึ่งมีระยะเวลาด าเนินโครงงาน 29 สิงหาคม – 14 กันยายน 2562 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) อ้วน (Obesity) เป็นภาวะที่ร่างกายมีการสะสมไขมันมากผิดปกติหรือมากเกินกว่าที่ร่างกายจะเผาผลาญ ออกไป จนทาให้เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพ เหนื่อยง่าย หายใจลาบาก ทากิจกรรมต่าง ๆ ยากลาบากขึ้น สูญเสียความมั่นใจ นอนกรน ปวดข้อ ปวดหลัง ไขมันในเลือดสูง หอบหืด โรคเบาหวาน โรคหัวใจ ไปจนถึง มะเร็งลาไส้ และโรคร้ายแรงอื่น ๆ ที่อาจพัฒนาตามหลังจากภาวะอ้วนได้ อาการของภาวะอ้วน ผู้ที่มีภาวะอ้วน คือ ผู้ที่มีไขมันส่วนเกินสะสมอยู่ในร่างกายปริมาณมาก ทาให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ คือ หายใจติดขัด นอนกรน เหนื่อยง่าย ร้อนง่าย เหงื่อออกง่าย ทากิจกรรมต่าง ๆ ได้ยากลาบาก จนอาจทาให้เกิด ปัญหาสุขภาพอื่น ๆ รวมถึงความไม่มั่นใจในตนเอง อาจทาให้มีปัญหาด้านความสัมพันธ์หรือการเข้าสังคม และ ปัญหาสุขภาพจิตอย่างภาวะซึมเศร้าที่อาจเกิดขึ้นตามมา
  • 4. 4 สาเหตุของภาวะอ้วน ภาวะอ้วน คือ การที่ร่างกายมีการสะสมไขมันมากผิดปกติ หรือมากเกินกว่าที่ร่างกายจะเผาผลาญออกไปผ่าน กิจกรรมประจาวัน เกิดจากหลายปัจจัย เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการใช้ชีวิต กรรมพันธุ์ อายุ ปัจจัยทางการแพทย์ที่อาจมีผลข้างเคียงทาให้เกิดภาวะอ้วน และปัจจัยภายนอกอื่น ๆ อย่างสภาพแวดล้อม และสถานภาพทางเศรษฐกิจ เป็นต้น การวินิจฉัยภาวะอ้วน การตรวจหาภาวะอ้วนทาได้ด้วยการหาค่า BMI และการตรวจวัดรอบเอว เมื่อไปพบแพทย์ แพทย์จะตรวจร่างกาย ซักประวัติสุขภาพ การใช้ชีวิตประจาวัน การบริโภคอาหารและ เครื่องดื่ม การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การใช้สารเสพติด การทากิจกรรมต่าง ๆ ประวัติสุขภาพของครอบครัว ความรู้สึกที่มีต่อภาวะอ้วน และปัญหาที่กาลังเผชิญจากภาวะอ้วน ส่วนการตรวจเพิ่มเติมเมื่อทราบว่าผู้ป่วยกาลังเผชิญกับภาวะอ้วน ได้แก่ การตรวจวัดความดันโลหิต การ ตรวจหาระดับน้าตาลและไขมันในเลือด เพื่อให้ทราบผลความผิดปกติแล้วนาไปสู่การวางแผนรักษาต่อไป การรักษาภาวะอ้วน เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะอ้วนมีน้าหนักอยู่ในเกณฑ์ปกติ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และมีสุขภาพจิตที่ดี สามารถ ทาได้โดยการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ควบคุมอาหารและพฤติกรรมการบริโภค ออกกาลังกายอย่างเหมาะสม สม่าเสมอ ส่วนการรักษาทางการแพทย์ แพทย์จะพิจารณาเป็นกรณี อาจมีบางรายที่ควรรับประทานยาลดน้าหนักภายใต้ ใบสั่งแพทย์ควบคู่กับการดูแลตนเอง หรือบางราย แพทย์อาจต้องทาการผ่าตัดเพื่อช่วยเหลือให้ผู้ป่วยมีอาการดี ขึ้น ก่อนจะรักษาในขั้นต่อ ๆ ไป ภาวะแทรกซ้อนของภาวะอ้วน เมื่อเผชิญกับภาวะอ้วน ทาให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคและอาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ไปจนถึงโรคและ อาการที่ร้ายแรงที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง มีปัญหาในระบบทางเดินหายใจ ประจาเดือนมาไม่ปกติ เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ภาวะมีลูกยาก หอบหืด ปวดตามกระดูกข้อต่อ ปวดหลัง ข้อ เสื่อม มีนิ่วในถุงน้าดี โรคเบาหวาน โรคตับ โรคไต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองตีบตัน และโรคมะเร็งต่าง ๆ ส่วนปัญหาสุขภาพจิตที่กระทบต่อการใช้ชีวิตซึ่งอาจเกิดขึ้นตามมา ได้แก่ การขาดความมั่นใจในตนเอง ความรู้สึกโดดเดี่ยว เก็บตัว แยกตัว นาไปสู่ปัญหาด้านความสัมพันธ์ การเข้าสังคม การเรียน การทางาน หรือ อาจเกิดภาวะซึมเศร้าได้ การป้ องกันภาวะอ้วน ภาวะอ้วนที่เกิดจากพฤติกรรมการกินและการใช้ชีวิต สามารถป้องกันได้โดยการควบคุมอาหารและพฤติกรรม การกิน รับประทานผักและผลไม้ หลีกเลี่ยงอาหารที่ไม่มีประโยชน์ มีไขมันสูงและมีน้าตาลมาก ดื่มน้าเปล่าแทน เครื่องดื่มที่มีน้าตาลหรือน้าอัดลม ออกกาลังกายอย่างเหมาะสมสม่าเสมอ และชั่งน้าหนักอยู่เสมอเพื่อตรวจดู และควบคุมน้าหนักให้อยู่ในเกณฑ์สุขภาพดี
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - เลือกหัวข้อที่สนใจ - นาเสนอหัวข้อกับครูที่ปรึกษา - ศึกษาและรวบรวมข้อมูล - ลงมือทาโครงงาน - นาเสนอครูที่ปรึกษา - ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - อินเตอร์เน็ต - คอมพิวเตอร์ - โทรศัพท์มือถือ - งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอ บ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคอ้วนมากขึ้น 2.สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยโรคอ้วนได้ 3.ผู้ที่สนใจได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคอ้วนและสามารถนาไปประยุกต์และต่อยอดได้ สถานที่ดาเนินการ ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) ปรีดา สัมฤทธิ์ประดิษฐ์. (2562). แก้วิกฤตคนไทยอ้วนด้วยการผ่าตัด…ป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์: https://www.hfocus.org/content/2019/04/17091 POBPAD. (2562). อ้วน (Obesity). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์: https://www.pobpad.com/อ้วน