SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
Technology seeker, Innovation conscious   0




                         รายงาน
                วิชา พฤติกรรมผูบริ โภค
                                ้
    เรื่อง Technology seeker, Innovation conscious



                     สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวประภาภรณ์ ไชยภักดี               51010918247
2. นางสาวนริ ศรา บุตรกุล                  51010918179
3. นางสาววัจนี ศรี พวงผกาพันธุ์           50010919510
4. นางสาว ณัฐกานต์ เมืองโคตร              52010913779
5. นางสาว ณัฐณิชา นอบไทย                  52010913780
6. นางสาว ทัศนี ย ์ เรื องอาไพสกุล        52010913787
7. นางสาว นวพร เก่งปรี ชา                 52010914569



                        นาเสนอ
                  อาจารย์วจนะ ภูผานี




           คณะการบัญชีและการจัดการ
          ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2554
 คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Technology seeker, Innovation conscious          1



                                              คานา

         รายงานเล่มนี้ เป็ นส่วนหนึ่งของวิชา พฤติกรรมผูบริ โภค โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับลักษณะทัวๆไปของ
                                                          ้                                  ่
เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ และปัจจัยในด้านต่างๆที่ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผูบริ โภค     ้
รวมไปถึง ตัวอย่างบริ ษทที่ทาการตลาดโดยการใช้เทคโนโลยี เพื่อการเข้าใจถึงเนื้อหาภายในรายงานได้อย่าง
                        ั
ง่ายขึ้น รายงานเล่มนี้ ได้จดทาขึ้น เพื่อผูที่ตองการศึกษาเพิมเติม หรื อนาไปใช้ประกอบการเรี ยนการสอน
                            ั             ้ ้               ่
         คณะผูจดทา หวังว่า รายงานเล่มนี้เป็ นประโยชน์แก่ผอ่านไม่มากก็นอย หากผิดพลาดประการใดก็
               ้ั                                             ู้           ้
ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ี



                                                                           คณะผูจดทา
                                                                                ้ั
Technology seeker, Innovation conscious   2




                                            สารบัญ

ความหมาย                                                                  3
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลียนแปลงการเกิดขึนของแนวโน้ มนั้นๆ
                        ่              ้
ด้ านวัฒนธรรม                                                             5
ลักษณะประชากรศาสตร์                                                       7
สถานภาพทางสังคม                                                           8
Internal influences ปัจจัยภายใน
          การเรียนรู้                                                     10
          วิถีชีวต
                 ิ                                                        12
ประวัตบริษัทบริษัท แอปเปิ ล อิงค์
        ิ                                                                 13
ผลิตภัณฑ์ของ Apple                                                        23
Market share                                                              25
Market size                                                               26
Competitors (คู่แข่งขัน)                                                  28
Consumer Behavior (6W 1H)                                                 32
กลยุทธ์ STP Analysis                                                      33
Marketing Strategy 4 Ps                                                   36
บทสรุปและข้ อเสนอแนะ                                                      39
อ้างอิง                                                                   40
Technology seeker, Innovation conscious            3



                         Technology seeker, Innovation conscious




ความหมาย
        คนที่ทางานเกี่ยวกับค้นหาเทคโนโลยีใหม่ ๆ การที่มความรู้หรื อก้าวทันเกี่ยวกับนวัตกรรมใหม่ๆ
                                                       ี


เทคโนโลยี(Technology)

         หมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวกับการผลิตการสร้างการใช้สิ่งของกระบวนการหรื อวิธีการดาเนิน
งานรวมไปถึงอุปกรณ์ที่ไม่ได้มีในธรรมชาติสิ่งที่มนุษย์พฒนาขึ้นเพื่อช่วยในการทางานหรื อแก้ปัญหาต่าง ๆ
                                                              ั
เข่น อุปกรณ์, เครื่ องมือ, เครื่ องจักร, วัสดุ หรื อแม้กระทังที่ไม่ได้เป็ นสิ่งของที่จบต้องได้ เช่น
                                                            ่                         ั
กระบวนการต่างๆ

นวัตกรรม (Innovation)

         หมายถึง การนาสิ่งใหม่ ๆ อาจเป็ นแนวความคิด หรื อ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆที่ยงไม่เคยมีใช้มาก่อนหรื อ
                                                                                ั
เป็ นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยูแล้วให้ทนสมัยและได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง
                                        ่      ั
กว่าเดิม ทั้งยังช่วยประหยัดเวลาและแรงงานได้ดวย
                                             ้
Technology seeker, Innovation conscious            4




ปัจจัยที่ส่งผลต่ อการเปลี่ยนแปลงการเกิดขึ้นของแนวโน้ มนั้นๆ




                                External influences ปัจจัยภายนอก

        ด้ านวัฒนธรรม
        เทคโนโลยีกับวัฒนธรรม
          เมื่อกล่าวถึงวัฒนธรรม‚วัฒนธรรมเป็ นสิ่งที่ดีงาม ซึ่งผ่านการขัดเกลา และถ่ายทอดจากคนรุ่ นหนึ่งสู่
คนอีกรุ่ น‛ แต่ขณะเดียวกัน เราก็จะได้ยนข้อความต่างๆที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมข้างต้น เช่น เช่นมีการต่อต้าน
                                         ิ
การเข้ามาของวัฒนธรรมต่างชาติ ไม่ว่าจะเป็ นวัฒนธรรมตะวันตก อเมริ กน และนอกจากนี้เราก็ยงได้ยนการ
                                                                             ั                 ั ิ
เอ่ยถึงวัฒนธรรมต่างๆในแง่ลบ เช่น วัฒนธรรมการกินอาหารขยะหรื ออาหารจานด่วนเป็ นอันตรายต่อ
สุขภาพวัฒนธรรมมาจากคาสองคาคือ วัฒนะ กับธรรม วัฒนะ มีความหมายว่า เจริ ญงอกงาม รุ่ งเรื อง ส่วนคา
ว่า‚ธรรม‛ ในที่น้ ีหมายถึงกฎ ระเบียบหรื อข้อปฏิบติ โดยรวมแล้ว คาว่า‚วัฒนธรรม‛น่าจะหมายถึง ความ
                                                       ั
เป็ นระเบียบ หรื อข้อปฏิบติที่ทาให้เจริ ญรุ่ งเรื อง แต่เราจะเห็นได้ว่ามีการให้ความหมายนอกเหนือจากนี้อีก
                           ั
หลายๆความหมายเช่น ‚มรดกแห่งสังคม ซึ่งสังคมรับ และรักษาไว้ให้เจริ ญงอกงาม เป็ นผลิตผลของ
ส่วนรวม ที่มนุษย์ได้เรี ยนรู้มาจากคนแต่ก่อน สืบต่อเป็ นประเพณี กนมา‛ ‚สิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลง ปรับปรุ ง
                                                                       ั
หรื อผลิตสร้างขึ้น เพื่อความเจริ ญงอกงาม ในวิถีแห่งชีวตของส่วนรวม ถ่ายทอดกันได้ เอาอย่างกันได้‛
                                                            ิ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตพ.ศ.๒๕๔๒ ให้ความหมาย ‚วัฒนธรรม‛ว่า สิ่งที่ทาความเจริ ญงอกงามให้แก่
หมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมในการแต่งกาย หรื อวิถีชีวิตของหมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมชาวเขา พระราชบัญญัติ
วัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ.2535 ให้ความหมายของคาว่า วัฒนธรรมไว้ว่าหมายถึง ความเจริ ญงอกงาม ซึ่งเป็ น
ผลจากระบบความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบมนุษย์ มนุษย์กบสังคม และมนุษย์กบธรรมชาติ จาแนก
                                               ั                ั                  ั
Technology seeker, Innovation conscious             5


ออกเป็ น ๓ ด้านคือ จิตใจ สังคม และวัตถุ มีการสังสมและสืบทอดจากคนรุ่ นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่ นหนึ่ง จาก
                                                        ่
สังคมหนึ่งไปสู่อีกสังคมหนึ่ง จนกลายเป็ นแบบแผนที่สามารถ เรี ยนรู้และก่อให้เกิดผลิตกรรมและผลิตผล
ทั้งที่เป็ นรู ปธรรมและนามธรรม อันควรค่าแก่การวิจย อนุรักษ์ ฟื้ นฟู ถ่ายทอด เสริ มสร้างเอตทัคคะ และ
                                                           ั
แลกเปลี่ยน เพื่อสร้างดุลยภาพแห่งความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ สังคม และธรรมชาติ ซึ่งจะช่วยให้มนุษย์
สามารถดารงชีวิตอย่างมีสุข สันติสุข และอิสรภาพ อันเป็ นพื้นฐานแห่งอารยธรรมของมนุษย์ชาติ อมรรัตน์
เทพกาปนาท กลุ่มประชาสัมพันธ์ สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ได้สรุ ป
ความหมายของ วัฒนธรรมไว้ว่าเป็ น ‚วิถีการดาเนินชีวิต (The Way of Life) ของคนในสังคม นับตั้งแต่วิธี
กิน วิธีอยู่ วิธีแต่งกาย วิธีทางาน วิธีพกผ่อน วิธีแสดงอารมณ์ วิธีสื่อความ วิธีจราจรและขนส่ง วิธีอยูร่วมกัน
                                          ั                                                        ่
เป็ นหมู่คณะ วิธีแสดงความสุขทางใจ และหลักเกณฑ์การดาเนินชีวิต โดยแนวทางการแสดงถึงวิถีชีวตนั้น         ิ
อาจจะมาจากเอกชน หรื อคณะบุคคลทาเป็ นตัวแบบ แล้วต่อมาคนส่วนใหญ่ก็ปฏิบติสืบต่อกันมาวัฒนธรรม
                                                                                      ั
ย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไขและกาลเวลา เมื่อมีการประดิษฐ์หรื อค้นพบสิ่งใหม่ วิธีใหม่ที่ใช้แก้ปัญหา
และตอบสนองความต้องการของสังคมได้ดีกว่า ซึ่งอาจทาให้สมาชิกของสังคมเกิดความนิยม และในที่สุด
อาจเลิกใช้วฒนธรรมเดิม ดังนั้น การรักษาหรื อธารงไว้ซ่ึงวัฒนธรรมเดิม จึงต้องมีการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง
                 ั
หรื อพัฒนาวัฒนธรรมให้เหมาะสมมีประสิทธิภาพตามยุคสมัย‛ ซึ่งข้าพเจ้าเห็นด้วยกับข้อสรุ ปนี้ เพราะ
ข้าพเจ้าคิดว่า หากนาคาว่า ‚ดีงาม‛ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ก็จะทาให้ความหมายของวัฒนธรรมนั้นคลุมเครื อ
เพราะแต่ละคนนั้นมีความเห็นต่างกันออกไป ความดีงามของแต่ละคนนั้นอาจจะต่างกันเล็กน้อย หรื ออาจจะ
ตรงกันข้ามกันเลยก็เป็ นได้ แต่อย่างไรก็ตาม การกล่าวเช่นนี้มิได้หมายความว่าวัฒนธรรมไม่ใช่สิ่งที่ดีงาม
เพียงแต่วาข้าพเจ้าคิดว่าไม่ควรนาเข้ามาเป็ นนิยามเท่านั้น วัฒนธรรมหลายอย่างก็ยงคงมีความดีงาม และพึง
            ่                                                                       ั
ปรารถนา ในขณะเดียวกัน บางวัฒนธรรมก็ไม่ค่อยเข้าข่ายคาว่าดีงามมากนัก แต่มนก็ยงคงอยูต่อมาได้ หรื อ
                                                                                   ั ั     ่
เราอาจกล่าวได้อกอย่างว่า วัฒนธรรมไม่ได้จากัดอยูเ่ พียงแค่คาว่าดีงาม เท่านั้น
                       ี
วัฒนธรรมอาจแบ่งได้เป็ นสองประเภทคือ วัฒนธรรมทางดานวัตถุ และวัฒนธรรมทางจิตใจ วัฒนธรรมทาง
วัตถุ เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับสุขกาย เพื่อให้ได้อยูดีกินดี มีความสะดวกสบาย ในการครองชีพ ได้แก่สิ่งความจาเป็ น
                                                ่
เบื้องต้นในชีวต ๔ อย่างและสิ่งอื่นๆ เช่น เครื่ องมือ เครื่ องใช้ ยานพาหนะ ตลอดจนเครื่ องอาวุธยุทโธปกรณ์
                   ิ
วัฒนธรรมทางจิตใจ เป็ นสิ่งที่ทาให้ปัญญาและจิตใจ มีความเจริ ญงอกงาม ได้แก่ การศึกษา วิชาความรู้อน       ั
บารุ งความคิดทางปัญญา ศาสนา จรรยา ศิลปะ และวรรณคดี กฎหมายและระเบียบประเพณี ซึ่งส่งเสริ ม
ความรู้สึกทางจิตใจให้งอกงามหรื อสบายใจ
Technology seeker, Innovation conscious              6



อิทธิพลของเทคโนโลยีที่มีต่อวัฒนธรรม

          จะเห็นได้ว่าวัฒนธรรมเป็ นเรื่ องชีวิต เราเติบโตมาในวัฒนธรรม และเช่นเดียวกัน กับเทคโนโลยี เรา
ไม่อาจปฏิเสธได้ว่า มันไม่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม เพราะเราจะเห็นได้ว่า ชีวิตเราก็มีความเกี่ยวข้องกับ
เทคโนโลยีเช่นกัน
          เทคโนโลยีเกิดขึ้นมานานแล้วในโลกของเรา มันช่วยให้ชีวิตของมนุษย์ง่ายขึ้น เมื่อมันเกิดมาแล้ว
ตรงกับความต้องการของมนุษย์ มันก็จะถูกนามาใช้อย่างแพร่ หลาย ต่อเนื่องจนกลายเป็ นวัฒนธรรม ในแง่น้ ี
เราจึงสามารถกล่าวได้ว่า เทคโนโลยีก็เป็ นวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง เทคโนโลยีใหม่ๆเกิดขึ้นมามากมาย
หลากหลาย เทคโนโลยีที่ใหม่กว่า ทันสมัยกว่า และที่ สาคัญ ทาให้ชีวิตมนุษย์สุขสบายง่ายยิงขึ้นกว่าเดิมก็จะ
                                                                                        ่
มาแทนที่เทคโนโลยีท่ีเก่ากว่า ในแง่น้ ีเราก็กล่าวได้ว่า เทคโนโลยีทาลายวัฒนธรรมเดิมซึ่งเป็ นเทคโนโลยี
เช่นกัน แล้ววัฒนธรรมอื่นๆ ที่ไม่ใช่เทคโนโลยีล่ะ เทคโนโลยีเป็ นที่มาของวัฒนธรรมใหม่ๆหลายอย่างซึ่งไม่
เคยเกิดขึ้นในอดีต จึงไม่อาจกล่าวว่ามันทาลายทุกวัฒนธรรมเดิมซะทีเดียว มันเพียงแต่เพิ่มเติมขึ้นมาเป็ น
วัฒนธรรมใหม่ ซึ่งมีผลกระทบต่อวัฒนธรรมเดิม

ตัวอย่ างที่เห็นได้ ชัดของเทคโนโลยีททาให้ เกิดวัฒนธรรมใหม่
                                    ี่

          คือ อินเตอร์เน็ต ภายใต้ระบบอินเตอร์เน็ตนี้ เกิดการสนทนาโต้ตอบกันในห้องสนทนาหรื อที่
เรี ยกว่าแชท เกิดการตั้งกระทูหรื อฟอรั่มที่มีการแยกกันอย่างเป็ นหมวดหมู่ ซึ่งมีให้เลือกเข้าไปอ่าน ตั้งคาถาม
                              ้
ตอบคาถามกันตามความสนใจ เกิดเกมส์ออนไลน์ที่เป็ นมีเนื้อหาหลายแนว ทั้งเกมต่อสู้ เกมส์วางแผน เกมส์
ที่จาลองการเล่นกีฬาต่างๆ และด้วยทางเลือกต่างๆที่มีอยูอย่างหลากหลายนี้ ก็ทาให้เกิดวัฒนธรรมใหม่ข้ ึนมา
                                                           ่
คนหลายคนมีชีวิตอยูในหน้าจอคอมพิวเตอร์มากกว่า 5 ชัวโมงในแต่ละวัน ซึ่งรวมถึงการเช็คจดหมาย
                      ่                                      ่
อิเล็กทรอนิกส์ แชทกับเพื่อน ติดตามกระทูที่ตนสนใจ เล่นเกมส์เพื่อเพิมเลเวล จะเห็นได้ว่าผูคนจานวนไม่
                                            ้                          ่                    ้
น้อยหมดเวลาไปกับสิ่งเหล่านี้หลายชัวโมงต่อวัน แล้วเราก็ไม่อาจปฏิเสธได้ว่ามันเกิดมาเป็ นระยะเวลานาน
                                       ่
หลายปี แล้ว ดังนั้นเราก็จึงอาจเรี ยกเหตุการณ์เช่นนี้ได้ว่าเป็ นวัฒนธรรม เป็ นส่วนหนึ่งในการดารงชีวิตของ
พวกเขา วัฒนธรรมดังกล่าวย่อมมีผลกระทบต่อวัฒนธรรมอื่นๆ เนื่องจากที่กล่าวไปแล้วว่า ผุคนจานวนมาก  ้
ใช้เวลาแต่ละวันไปไม่นอยในการใช้อินเตอร์เน็ต ก็ทาให้เวลาในการทากิจกรรมอื่นลดน้อยลงตามไปด้วย
                         ้
บางคนอาจจะเลิกทางานอดิเรกแล้วหันมา ‚เล่นเนต‛ แทน หลายคนงดกินข้าวบางมื้อ หรื อเอามากินหน้าคอม
เพื่อให้ได้เล่นเกมส์ได้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้เวลาในการมีปฏิสมพันธ์กบคนรอบข้างก็ถกดึงไปโดยความ
                                                                   ั      ั               ู
ต้องการที่จะมีปฏิสมพันธ์กบคนในโปรแกรมสนทนาแทน
                    ั       ั
Technology seeker, Innovation conscious             7




         แต่อย่างเราก็ตาม เราคงจะปฏิเสธไม่ได้ว่า เทคโนโลยีมีผลต่อวัฒนธรรมต่างๆอย่างมาก โดยเฉพาะ
เทคโนโลยี อินเตอร์เน็ตดังที่ได้กล่าวมานี้ เห็นได้จากการที่ นิ ตยาสารไทม์ ได้ยกตาแหน่งบุคคลแห่งปี 2549
ให้กบผูใช้อินเตอร์เน็ตทั้งหลาย ในฐานะที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนให้เกิดพลังใหม่บินเครื อข่าย
    ั ้
อินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ยงยกย่องว่า คนบนอินเตอร์ เน็ตทัวโลกคือพลังแห่งระบอบประชาธิปไตยยุคดิจิตอล
                         ั                             ่
ใหม่ ซึ่งแสดงออกผ่านสื่ออินเตอร์เน็ตได้โดยเสรี ผนึกกาลังขึ้นเป็ นชุมชนอันแข็งแกร่ งและก่อให้เกิด
ผลกระทบในวงกว้าง




ลักษณะประชากรศาสตร์
            ในกลุ่ม Generation Y เป็ นกลุ่มที่มีความสนใจในเทคโนโลยีใหม่ๆ อีกทั้งสิ่งที่ตอบสนองความ
ต้องการของคนกลุ่มนี้ได้มากที่สุด คือ สินค้าประเภทนวัตกรรมใหม่ๆ เนื่องจากกลุ่ม Gen Y ชอบการ
เรี ยนรู้สิ่งใหม่ๆอยูเ่ สมอ แล้วการได้เรี ยนรู้ให้กาวทันเทคโนโลยีใหม่ๆที่ทนสมัย ดูจะเป็ นสิ่งที่กลุ่ม Gen Y
                                                   ้                      ั
จะให้ความสนใจมากที่สุด ประกอบกับ กลุ่ม Gen Y มีความมันใจและเป็ นตัวของตัวเองสูงมาก การหา
                                                               ่
อะไรที่สื่อความเป็ นตัวของตัวเอง อีกทั้งการตอบสนองการต้องการเรี ยนรู้ส่ิงใหม่ตลอดเวลา ทาให้กลุ่มนี้มี
การพร้อมที่ทางานในสถานที่แปลกๆ ที่ไม่คนเคยได้เป็ นอย่างดี และ กลุ่มGen Y เป็ นกลุ่มที่มีอายุระหว่าง
                                                ุ้
21 – 31 ปี
            กลุ่ม Generation Z เป็ นกลุ่มที่มีความคุนเคยกับเทคโนโลยีมาก เนื่องจากการดูแลเอาใจใส่เป็ น
                                                     ้
อย่างดีจากพ่อแม่ที่อยูในกลุ่ม GEN Y โดยพ่อแม่ของ Gen Z จะมีความชื่นชอบในเทคโนโลยีใหม่ๆและมี
                          ่
การส่งเสริ มให้มีการเรี ยนรู้ในเทคโนโลยีใหม่ๆ ทาให้กลุ่มGEN Z จะเป็ นกลุ่มที่มีความชอบและคุนเคยกับ  ้
เทคโนโลยีใหม่ๆ ถึงแม้ว่าจะมีอานาจในการซื้อที่ค่อนข้างต่า แต่มีมลค่าตลาดที่สูง ทั้งนี้ เพราะ พ่อแม่ของ
                                                                     ู
กลุ่ม Gen Z จะตอบสนองต่อความต้องการของลูกมาก ดังนั้นการซื้อผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่มีความทันสมัย ไม่
ว่าจะเป็ นในเรื่ องเทคโนโลยีและรู ปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์กจะได้รับการตอบสนองจากพ่อแม่กลุ่ม Gen Y
                                                             ็
Technology seeker, Innovation conscious            8



        สถานภาพทางสั งคม
        เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเปลี่ยนแปลง
         แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้การกระจายข้อมูลข่าวสาร
เป็ นไปอย่างรวดเร็ ว ทุกทิศทาง และมีระบบตอบสนอง ด้วยเหตุน้ ีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้าน
เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ผลของความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดแนวโน้มการ
เปลี่ยนแปลงที่สาคัญหลายด้าน แนวโน้มที่สาคัญที่เกิดจากเทคโนโลยีที่สาคัญและเป็ นที่กล่าวถึงกันมาก
ดังนี้
    1) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้สงคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็ นสังคมสารสนเทศ สภาพของ
                                  ั
สังคมโลกได้เปลี่ยนแปลงมาแล้วสองครั้ง จากสังคมความเป็ นอยูแบบเร่ ร่อนมาเป็ นสังคมเกษตรที่มการ
                                                            ่                               ี
เพาะปลูกและสร้างผลิตผลทางการเกษตร ทาให้มีการสร้างบ้านเรื อนเป็ นหลักแหล่ง ต่อมามีความจาเป็ นต้อง
ผลิตสินค้าให้ได้ปริ มาณมากและต้นทุนถูก จึงต้องหันมาผลิตแบบอุตสาหกรรม ทาให้สภาพความเป็ นอยู่
ของมนุ ษย์เปลี่ยนแปลงมาเป็ นสังคมเมือง มีการรวมกลุ่มอยูอาศัยเป็ นเมือง มีอุตสาหกรรมเป็ นฐานการผลิต
                                                       ่
สังคมอุตสาหกรรมได้ดาเนินการมาจนถึงปัจจุบน และเข้าสู่สงคมสารสนเทศ การดาเนินธุรกิจใช้สารสนเทศ
                                            ั            ั
อย่างกว้างขวาง เกิดคาใหม่ว่า ไซเบอร์สเปซ มีการดาเนินกิจกรรมต่างๆ เช่น การพูดคุยผ่านอินเทอร์เน็ต การ
ซื้อสินค้าและบริ การ ฯลฯ




   2) เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นเทคโนโลยีแบบตอบสนองตามความต้องการของผูใช้แต่ละคน เช่น การดู
                                                                                   ้
โทรทัศน์ วิทยุ เมื่อเราเปิ ดเครื่ องรับโทรทัศน์หรื อวิทยุ เราไม่สามารถเลือกตามความต้องการได้ หากไม่พอใจ
ก็ทาได้เพียงเลือกสถานีใหม่ แนวโน้มจากนี้ไปจะมีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่เรี ยกว่า on demand เราจะมี
โทรทัศน์และวิทยุแบบเลือกดู เลือกฟังได้ตามความต้องการ หากระบบการศึกษาจะมีระบบ education on
demand คือสามารถเลือกเรี ยนตามต้องการได้ การตอบสนองตามความต้องการ เป็ นหนทางที่เป็ น ไปได้
Technology seeker, Innovation conscious          9


เพราะเทคโนโลยีมีพฒนาการที่กาวหน้าจนสามารถนาระบบสื่อสารมาตอบสนองตามความต้องการของ
                 ั         ้
มนุษย์
   3) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้เกิดสภาพการทางานแบบทุกสถานที่ และทุกเวลา เมื่อการสื่อสาร
ก้าวหน้าและแพร่ หลายขึ้น การโต้ตอบผ่านเครื อข่ายทาให้มีปฏิสมพันธ์ได้ เกิดระบบการประชุมทางวีดิทศน์
                                                           ั                                  ั
ระบบประชุมบนเครื อข่าย ระบบโทรศึกษา ระบบการค้าบนเครื อข่าย ลักษณะของการดาเนินงานเหล่านี้ ทา
ให้ผใช้ขยายขอบเขตการดาเนินกิจกรรมไปทุกหนทุกแห่งตลอด 24 ชัวโมง เราจะเห็นจากตัวอย่างที่มมานาน
    ู้                                                          ่                          ี
แล้ว เช่น ระบบเอทีเอ็ม ทาให้การเบิกจ่ายได้เกือบตลอดเวลา และกระจายไปใกล้ตวผูรับบริ การมากขึ้น และ
                                                                            ั ้
ด้วยเทคโนโลยีที่กาวหน้าขึ้น การบริ การจะกระจายมากยิงขึ้นจนถึงที่บาน ในอนาคตสังคมการทางานจะ
                 ้                                  ่             ้
กระจายจนงานบางงานอาจนังทาที่บานหรื อที่ใดก็ได้ และเวลาใดก็ได้
                           ่       ้
   4) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบท้องถิ่นไปเป็ นเศรษฐกิจโลก ระบบ
เศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจากัดภายในประเทศ ก็กระจายเป็ นเศรษฐกิจโลก ทัวโลกจะมีกระแสการ
                                                                        ่
หมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้า บริ การอย่างกว้างขวางและรวดเร็ ว เทคโนโลยีสารสนเทศมีส่วนเอื้ออานวยให้
การดาเนินการมีขอบเขตกว้างขวางมากยิงขึ้น ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกเชื่อมโยงและมี
                                      ่
ผลกระทบต่อกัน
    5) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้องค์กรมีลกษณะผูกพันหน่วยงานภายในเป็ นแบบเครื อข่ายมากขึ้น แต่
                                              ั
เดิมการจัดองค์กรมีการวางเป็ นลาดับขั้น มีสายการบังคับบัญชาจากบนลงล่าง แต่เมื่อการสื่อสารแบบสอง
ทางและการกระจายข่าวสารดีข้ ึน มีการใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์กรผูกพันกันเป็ นกลุ่มงาน มีการเพิ่ม
คุณค่าขององค์กรด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดโครงสร้างขององค์กรจึงปรับเปลี่ยนจากเดิม และมี
แนวโน้มที่จะสร้างองค์กรเป็ นเครื อข่ายที่มีลกษณะการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น หน่วยธุรกิจจะมี
                                            ั
ขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็ นเครื อข่าย โครงสร้างขององค์กรจึงเปลี่ยนแปลงไปตาม
กระแสของเทคโนโลยี
   6) เทคโนโลยีสารสนเทศ ก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทาให้วิถีการ
ตัดสินใจรอบคอบมากขึ้น แต่เดิมการตัดสินปั ญหาอาจมีหนทางให้เลือกได้นอย เช่น มีคาตอบเดียว ใช่ และ
                                                                     ้
ไม่ใช่ แต่ดวยข้อมูลข่าวสารที่สนับสนุนการตัดสินใจ ทาให้วิถีความคิดในการตัดสินปัญหาเปลี่ยนไป ผู้
           ้
ตัดสินใจมีทางเลือกได้มากและมีความรอบครอบในการตัดสินปัญหาได้ดีข้ ึน
   7) เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นเทคโนโลยีเดียวที่มีบทบาทที่สาคัญในทุกวงการ ดังนั้นจึงมีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม ศีลธรรม การศึกษาเศรษฐกิจและการเมืองได้อย่างมาก ลองนึกดูว่าขณะนี้
เราสามารถชมข่าว ชมรายการทีวี ที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทวโลก เราสามารถรับรู้
                                                                              ั่
ข่าวสารได้ทนที เราใช้เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตในการสื่อสารระหว่างกัน และติดต่อกับคนได้ทวโลก จึงเป็ นที่
           ั                                                                        ั่
Technology seeker, Innovation conscious             10


แน่ชดว่าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองจึงมีลกษณะเป็ นสังคมโลก
    ั                                                                    ั
มากขึ้น




Internal influences ปัจจัยภายใน
       การเรียนรู้

              เทคโนโลยีกบการเรียนรู้
                        ั

       ในปั จจุ บนนี้ เทคโนโลยีมีค วามสาคัญอย่างมากต่อชีวิตประจ าวัน ของคนเรา ซึ่ งก็ร วมไปถึงการใช้
                 ั
เทคโนโลยีเกี่ยวกับการเรี ยนรู้ดวยโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กล่าวไว้ว่า ผูเ้ รี ยนมี
                                  ้
ความสาคัญมากที่สุด และควรที่จะมีการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัด
ของผูเ้ รี ยน โดยค านึ งถึงความแตกต่ างระหว่างบุ คคลด้ว ย ซึ่ งมาตรา 66 ของพระราชบัญญัติ การศึก ษา
แห่ งชาติได้กล่าวไว้ว่า ผูเ้ รี ยนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ดวยตนเองได้อย่าง
                                                                                         ้
ต่อเนื่องตลอดชีวิต ซึ่งสิ่งเหล่านี้ ก็จะเกี่ยวข้องกันกับใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยในการเรี ยนรู้ดวย โดย
                                                                                                    ้
เทคโนโลยีการเรี ยนรู้จะประกอบด้วยองค์ประกอบหลักอยู่ 4 องค์ประกอบ คือ

1. เทคโนโลยีการศึกษาด้านสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ ตารา เอกสารชุดวิชาและพิมพ์อื่น ๆ

2. เทคโนโลยีดานสื่อโสตทัศน์ เช่น วัสดุอุปกรณ์ และโสตทัศนูปกรณ์เทปเสียงและวีดีทศน์
             ้                                                                ั
Technology seeker, Innovation conscious              11


3. เทคโนโลยีดานสื่อสารมวลชน เช่น รายการวิทยุกระจายเสียงทางการศึกษาและรายการวิทยุโทรทัศน์
             ้
การศึกษา

4. เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย เครื อข่ายฐานข้อมูล และ Internet

  โดยทั้ง 4 องค์ประกอบนี้เราสามารถนามาเป็ นตัวที่ช่วยให้การจัดการเรี ยนการสอนได้รวดเร็วและ
สะดวกมากยิงขึ้น
            ่

   ซึ่งเทคโนโลยีโดยปกติจะเกี่ยวข้องกับการเรี ยนการสอน 3 ลักษณะ คือ

1.การเรี ยนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี ได้แก่เรี ยนรู้ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ เรี ยนรู้จนสามารถใช้ระบบ
คอมพิวเตอร์ได้ ทาระบบข้อมูลสารสนเทศเป็ น สื่อสารข้อมูลทางไกลผ่าน E-mail และ Internet ได้ เป็ นต้น

2. การเรี ยนรู้โดยใช้เทคโนโลยี ได้แก่การเรี ยนรู้ความรู้ใหม่ ๆ และฝึ กความสามารถ ทักษะ บางประการโดย
ใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI เรี ยนรู้ทกษะใหม่ ๆ ทางโทรทัศน์ที่ส่งผ่านดาวเทียม
                                                              ั
การค้นคว้าเรื่ องที่สนใจผ่าน Internet เป็ นต้น

3. การเรี ยนรู้กบเทคโนโลยี ได้แก่การเรี ยนรุ ้ดวยระบบการสื่ อสาร 2 ทางกับเทคโนโลยี เช่น การฝึ กทักษะ
                ั                              ้
ภาษากับโปรแกรมที่ให้ขอมูลย้อนกลับถึงความถูกต้อง การฝึ กการแก้ปัญหากับสถานการณ์จาลอง เป็ นต้น
                        ้

    ซึ่งผูเ้ ขียนเห็นว่าเทคโนโลยีเหล่านี้จะช่วยให้ท้งผูสอนและนักเรี ยนมีการเรี ยนรู้ได้ตลอดเวลา ซึ่งเราก็ไม่
                                                    ั ้
จาเป็ นที่จะต้องเรี ยนรู้แต่เฉพาะในห้องเรี ยน โดยถ้านักเรี ยนสนใจที่จะหาความรู้ดวยตนเองก็สามารถหา
                                                                                 ้
ข้อมูลผ่านทางระบบ Internet ได้ แต่สื่อเหล่านี้ก็ไม่ค่อยน่าเป็ นห่วงเท่าไหร่ เพราะถ้าเรามีงบประมาณพอเราก็
จัดหาได้ไม่ยาก แต่สิ่งที่ยงขาดแคลนคือข้อมูล เพราะถ้าขาดข้อมูลสารสนเทศไม่ดีแล้ว ตัวระบบเทคโนโลยีก็
                             ั
ไร้ความหมาย
Technology seeker, Innovation conscious             12


วิถีชีวต
       ิ




          ในปัจจุบนเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้เข้ามาเกี่ยวข้องกับวิถีชีวตหรื อการดาเนินชีวิตในแต่ละวันของ
                        ั                                          ิ
ผูบริ โภค และการนาเทคโนโลยีต่างๆมาใช้มากขึ้น ทั้งนี้ เพราะเทคโนโลยีมการปฏิบติการณ์ที่ตอบสนอง
   ้                                                                        ี            ั
ความต้องการของผูบริ โภคมากขึ้น ในแง่ของความบันเทิง ความสะดวกสบายและความรวดเร็ว แตกต่าง
                          ้
จากเมื่อก่อนที่เทคโนโลยียงไม่มความทันสมัยมากนัก เนื่องสมัยก่อนนั้น การผลิตและวิถีชีวิตของผูคนใน
                            ั ี                                                                     ้
สมัยก่อน เป็ นไปอย่างเรี ยบง่าย แบบพออยูพอกิน จนในปัจจุบนการมีการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มา
                                         ่                   ั
ประยุกต์ใช้กบกระบวนการผลิตต่างๆ จนทาให้เกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรม ที่ส่งผลให้วิถีชีวิตของ
                  ั
ประชาชนที่อยูในละแวกนั้นมีการเปลี่ยนแปลงไป ในด้านของการอพยพย้ายถิ่นที่พกอาศัยไปยังแหล่งที่มี
                    ่                                                                ั
ความเจริ ญในด้านเทคโนโลยีที่ทนสมัย รวมทั้งการรับเทคโนโลยีจากภายนอกให้เข้ามาควบคุม
                                 ั
ความสัมพันธ์กบบุคคลในสังคม และกิจกรรมที่ทาร่ วมกันในสังคม ที่มีเทคโนโลยีเป็ นสื่อในการทากิจกรรม
                      ั
ร่ วมกันกับผูอื่นอย่าง การนาเทคโนโลยีมาช่วยให้การปลูกข้าว ทาให้ชาวนาสามารถปลูกข้าวได้อย่าง
                ้
รวดเร็ ว ประหยัดเวลาและการเสียค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงานมาช่วยในการปลูกข้าว หรื อในแง่ของ
อุตสาหกรรม ที่มีการนาเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามามีส่วนช่วยในกระบวนการผลิต ที่มความสะดวก รวดเร็ว
                                                                                   ี
และปลอดภัย รวมทั้งต้นทุนในการผลิตก็ลดลง แทนการใช้แรงงานคน
          เมื่อเทคโนโลยีใหม่ๆถูกนามาใช้อย่างแพร่ หลาย ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตจากรู ปแบบหนึ่ง
มาสู่อีกรู ปแบบหนึ่งที่แตกต่างไปจากเดิม ซึ่งการปรับตัวเองเข้าสู่วิถีชีวิตความเป็ นอยูแบบใหม่น้ ีไม่ใช่ของ
                                                                                       ่
ง่าย ผูที่ประสบความล้มเหลวอาจกลายเป็ นคนยากจนที่มความเสื่อมทางด้านจิตใจและศีลธรรมที่จะนาไปสู่
        ้                                               ี
ปัญหาทางสังคมนานัปการได้และ การใช้เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์เพื่อการผลิตผลิตผลทางเศรษฐกิจจน
เกินความจาเป็ น ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมธรรมชาติที่พอจะเหลือไว้ให้คนในรุ่ นหลังๆ
ได้ดารงอยูอย่างราบรื่ นนั้นหมดสิ้นไปโดยไม่จาเป็ น
              ่
Technology seeker, Innovation conscious            13



                                        บริษัทApple, Inc.




ประวัตบริษัทบริษัท แอปเปิ ล อิงค์
      ิ


จุดเริ่มต้นในปี 1976–1980




ผลิตภัณฑ์แรกของ Apple ถูกขายเป็ นแผงวงจรที่ประกอบและการขาดคุณสมบัติพ้นฐานเช่นแป้ นพิมพ์
                                                                              ื
จอภาพและกรณี ที่ เจ้าของของหน่วยนี้จะเพิ่มแป้ นพิมพ์และเป็ นกรณี ที่ทาด้วยไม้

         บริ ษท Apple Computer Inc. ได้เกิดขึ้นจากการร่ วมกันก่อตั้งของ สตีฟ จ็อบส์ และ สตีฟ วอซเนี ยก
               ั
ทาการปฏิวติธุรกิจคอมพิวเตอร์ ต้ งโต๊ะในยุค 70 โดยการนาเครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องแรกที่ประดิษฐ์จาก
             ั                    ั
โรงรถออกมาขาย ในชื่อ Apple ที่ราคาจาหน่าย 666.66 เหรี ยญในจานวนและระยะเวลาจากัด ภายในปี ถัดมา
ก็ได้ผลิตเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ทายอดจาหน่ ายสูงสุ ดให้กบบริ ษท ณ ขณะนั้นคือ Apple II ซึ่งเป็ นการเปิ ด
                                                         ั    ั
ศักราชใหม่แห่งวงการไมโครคอมพิวเตอร์ และเป็ นการสร้างมาตรฐานให้กบไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เกิดมา
                                                                          ั
Technology seeker, Innovation conscious             14


ตามหลังทั้งหมด (อย่างไรก็ดี ในช่วงเวลาดังกล่าว ทางบริ ษทจะมุ่งเน้นการขายระบบปฏิบติการมากกว่าที่จะ
                                                       ั                        ั
ขายผลิตภัณฑ์ไมโครคอมพิวเตอร์ เนื่องจากประสิ ท ธิภาพของผลิตภัณฑ์จากบริ ษท Intel และ IBM ทางาน
                                                                           ั
ได้ดีกว่า)

          Apple Inc. เป็ นบริ ษทสัญชาติอเมริ กนที่ทาธุรกิจหลายแขนง ทั้งด้านอุปกรณ์อิเลคโทรนิกส์สาหรับ
                               ั              ั
ผู้ บริ โภค, ซอฟต์แวร์ของคอมพิวเตอร์ และเครื่ องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยมีผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงอย่าง
Macintosh ซึ่งมีหลายรุ่ นด้วยกัน, iPhone, iPod และ iPad โดยซอฟต์แวร์ที่ Apple พัฒนานั้น มี Mac OS X
อันเป็ นซอฟต์แวร์ระบบปฏิบติการคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ดีที่สุด, iTunes ที่ใช้เล่นสื่ อต่างๆไม่ว่า จะเป็ น
                                 ั
เพลง, รายการทีว,ี ภาพยนตร์ และล่าสุดจะรวมไปถึงในส่วนของหนังสือ ที่ใช้ร่วมกับ iPad, นอกจากนี้ ยังมี
iLife อันเป็ นซอฟต์แวร์ที่ใช้สร้างและจัดการสื่อหลายๆประเภท เช่น เพลง ภาพยนตร์ รู ปภาพ เว็บไซต์ และ
iWork ที่ใช้ในการทางานเอกสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นพรี เซนเทชัน, สื่อพิมพ์ และ ชาร์ต ตารางตัวเลข,
                                                              ่
Aperture ที่ใช้แต่งภาพและจัดการไฟล์รูปภาพในระดับมืออาชีพ, Final Cut Studio ที่ใช้ตดต่อไฟล์งานวิดีโอ
                                                                                      ั
ในสตูดิโอชั้นนาทัวโลก, Logic Studio ที่ใช้ในการทาเพลงอย่างแพร่ หลายในสตูดิโอชั้นนาเช่นกัน
                   ่

          และล่าสุดได้มีการเปิ ดตัว iOS อันเป็ นระบบปฏิบติการที่ยอส่วนมาจาก MAC OS X เพื่อนามาใช้กบ
                                                         ั       ่                                      ั
ผลิตภัณฑ์เคลื่อนที่ท้งหลาย ไม่ว่าจะเป็ น iPhone, iPod touch, iPad และนอกจากนี้ Apple, Inc. ยังได้มีร้านค้า
                     ั
อย่างเป็ นทางการของตนกว่า 301 สาขาใน 10 ประเทศ เพื่อตอบรับความต้องการของลูกค้าที่สนใจใน
ผลิตภัณฑ์แอปเปิ้ ลอย่างแพร่ หลาย โดยที่สาคัญที่สุดยังมีการให้บริ การร้านค้าออนไลน์ที่ขายทั้งอุปกรณ์
ต่างๆ และซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่ เช่นกัน

          ก่อตั้งเมื่อ 1 เมษายน 1976 ใน Cupertino, California, และมีผร่วมถือหุนในวันที่ 3 มกราคม 1977
                                                                     ู้       ้
บริ ษท ฯ ได้ต้งชื่อไว้ก่อนหน้านี้ Apple Computer, Inc. และมีการใช้ชื่อนี้มากว่า 30 ปี แต่ภายหลังได้ตดคา
       ั        ั                                                                                    ั
ว่า"Computer"ออกเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2007 เพื่อสะท้อนให้เห็น การขยายตัวต่อเนื่องของบริ ษท ที่กาวเข้าสู่
                                                                                               ั ้
ตลาดอิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่สาหรับผูบริ โภคนอกเหนือจากการมุ่งเน้นดั้งเดิมบนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
                                         ้
โดยเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2010 แอปเปิ้ ลมีจานวนพนักงานเต็มเวลา 46,600 คน และ 2,800 คนแบบชัวคราวมี  ่
ยอดขายทัวโลกประจาปี ของ $ 65,230,000,000 เพื่อความเป็ นต่างๆเป็ นปรัชญาของการออกแบบที่ครบวงจร
            ่
เพื่อความสวยงามที่โดดเด่นของแคมเปญการโฆษณา, แอปเปิ้ ลได้มีชื่อเสียงโดดเด่นในอุตสาหกรรม
เครื่ องใช้ไฟฟ้ า ซึ่งรวมถึงฐานลูกค้าที่อุทิศให้กบบริ ษท และตราสินค้าของตนโดยเฉพาะอย่างยิงในประเทศ
                                                 ั     ั                                     ่
สหรัฐอเมริ กา

        นิตยสารฟอร์จูนมอบตาแหน่งแอปเปิ้ ลชื่นชมมากที่สุดของ บริ ษททั้งหมดในประเทศสหรัฐอเมริ กา
                                                                 ั
ในปี 2008 และในโลกในปี 2008, 2009, และ 2010 บริ ษท ฯ ได้รับการวิจารณ์อย่างกว้างขวางทั้งสาหรับผูใช้
                                                 ั                                             ้
แรงงานผูรับเหมา, สิ่งแวดล้อมและแนวทางการดาเนินธุรกิจ
         ้
Technology seeker, Innovation conscious         15


          Apple ถูกก่อตั้ง โดย Steve Jobs, Steve Wozniak และ Ronald Wayne, พวกเขาได้ขาย Apple I ชุด
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็ นเครื่ องแรก ที่สร้างขึ้นโดย Wozniak และแสดงครั้งแรกต่อประชาชนที่
Homebrew Computer Club โดยถูกขายเป็ นเมนบอร์ด (มี CPU, RAM, และชิฟแสดง ข้อความขั้นพื้นฐาน)
ซึ่งถือว่าน้อยกว่าความเป็ นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่สมบูรณ์ในวันนี้ สิ่งที่ Apple ขายในเดือนกรกฎาคม
1976 และเป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีราคา $ 666.66 ($ 2,572 ในปี 2010 ดอลลาร์เมื่อปรับอัตราเงินเฟ้ อ)

         Apple ได้จดทะเบียน 3 มกราคม 1977 โดย Wayne นั้นไม่ร่วมบริ ษทอีกต่อไป, โดยหุนของ บริ ษท
                                                                     ั               ้         ั
นั้นกลับไปหา Jobs และ Wozniak เป็ นจานวน $ 800 เศรษฐีคนสาคัญที่มีชื่อว่า Mike Markkula ให้ความ
เชี่ยวชาญทางธุรกิจที่สาคัญและเงินทุนของ $ 250,000 ในระหว่างการรวมตัวกันของแอปเปิ้ ล

         Apple ได้รับการแนะนาในวันที่ 16 เมษายน 1977 ที่แรกที่ West Coast Computer Fair มันแตกต่าง
จากคู่แข่งรายใหญ่ ซึ่งในขณะนั้นคือ TRS - 80 และ Commodore PET เพราะมาพร้อมกับกราฟิ กสีและ
สถาปัตยกรรมระบบปฏิบติการแบบเปิ ด ในขณะที่รุ่นแรกที่ใช้เทปคาสเซ็ทธรรมดาเป็ นอุปกรณ์จดเก็บข้อมูล
                         ั                                                                 ั
พวกเขาถูกแทนที่โดยการแนะนาของ 5 1 / 4 นิ้วฟลอปปี้ ดิสก์ไดรฟ์ และอินเตอร์เฟซ, Disk Apple ได้รับ
เลือกให้เป็ นแพลตฟอร์มเดสก์ทอปแบบแรกในโลก "app ตัวเด็ด" ของธุรกิจคอมพิวเตอร์โลก ด้วยโปรแกรม
VisiCalc ที่ใช้ทาใบปลิวและเอกสารแบบง่ายๆ โดย VisiCalc สร้างตลาดธุรกิจสาหรับ Apple และให้ผใช้ทีู่้
บ้านด้วยเหตุผลเพิ่มเติมเพื่อซื้อความเข้ากันได้ของ Apple II กับสานักงาน ตาม Brian Bagnall ในตอนแรก
Apple สร้างตัวเลขยอดขายที่พดเกินจริ งและมียอดขายเป็ นอันดับ 3 รองจาก Commodore และ Tandy จน
                                ู
VisiCalc ได้เปิ ดตัวและมาพร้อมกับ Apple II ยอดขายจึงสูงขึ้น

        ณ สิ้นปี 1970 แอปเปิ้ ลมีทีมงานของนักออกแบบคอมพิวเตอร์และสายการผลิตของตนเอง ในช่วง
เดียวกันบริ ษทได้เปิ ดตัว Apple III ในเดือนพฤษภาคม 1980 ด้วยความพยายามที่จะแข่งขันกับไอบีเอ็มและ
             ั
ไมโครซอฟท์ในตลาดคอมพิวเตอร์ธุรกิจและองค์กร แต่กลับประสบความล้มเหลว

          ต่อมา Jobs และพนักงานแอปเปิ้ ลหลายคน รวมทั้ง Jef Raskin เยียมชมบริ ษท Xerox PARC ใน
                                                                     ่        ั
ธันวาคม 1979 เพื่อดู Xerox Alto ซีร็อกซ์ได้รับวิศวกรของแอปเปิ้ ลสามวันของการเข้าถึงสิ่งอานวยความ
สะดวก PARC ตอบแทนสาหรับตัวเลือกในการซื้อ 100,000 หุนของแอปเปิ้ ลที่ราคา IPO ก่อน $ 10 หุน งาน
                                                           ้                                  ้
เชื่อมันทันทีว่าคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องในอนาคตจะใช้อินเตอร์เฟซผูใช้แบบกราฟิ ก (GUI) และการพัฒนาของ
       ่                                                        ้
GUI เริ่ มสาหรับแอปเปิ้ ลลิซ่า

       เมื่อแอปเปิ้ ลเข้าสู่ตลาดหุนจะสามารถสร้างทุนมากกว่า IPO ใด ๆ ตั้งแต่ฟอร์ดมอเตอร์ บริ ษท ในปี
                                  ้                                                          ั
1956 และทันทีที่สร้างเศรษฐีมากขึ้น (ประมาณ 300) กว่า บริ ษท ใด ๆ ในประวัติศาสตร์
                                                          ั
Technology seeker, Innovation conscious            16


1981–1985: Lisa และ แมคอินทอช

         ต่อมาเมื่อเข้ายุค 80s Steve Jobs ได้พฒนาคอมพิวเตอร์อีกรุ่ นในชื่อ Apple Lisa ในปี 1978 แต่แล้ว
                                              ั
ในปี 1982 เขาได้ถกขับออกจากทีมพัฒนานี้ดวยเหตุทะเลาะวิวาทภายในทีม ทาให้ Steve ต้องไปทาโปร
                    ู                           ้
เจกต์คอมพิวเตอร์ที่ต้งใจให้มราคาย่อมเยาอย่าง Macintosh ที่ Jef Raskin ได้เริ่ มทาเอาไว้ สงครามในบริ ษทที่
                       ั       ี                                                                      ั
ต้องงัดข้อกันระหว่าง Jobs และมนุษย์ออฟฟิ ศเริ่ มปะทุข้ ึนเรื่ อยๆ ถกเถียงกันว่าผลิตภัณฑ์ไหนควรจะได้รับ
การเปิ ดตัวก่อนกัน โดยกลายเป็ นว่า Lisa ได้รับการเลือกให้เปิ ดตัวออกมาก่อนในปี 1983 โดย Lisa ถือว่า
เป็ นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเครื่ องแรกที่มาพร้อมกับ GUI แต่กลับล้มเหลวอย่างมาก ด้วยราคาขายปลีกที่สูง
เกินไป จนลูกค้าซื้อไม่ได้




ครั้งแรกที่ แมคอินทอช เปิ ดตัวในปี 1984

        ดังนั้นในปี ต่อมา 1984 ก็เป็ นคิวของการเปิ ดตัว Macintosh ที่คราวนี้ขอเปิ ดตัวอย่างยิงใหญ่ดวย
                                                                                             ่     ้
โฆษณาทีวีทุนสร้างสูงมหาศาลเป็ นประวัติการณ์ดวยเงินจานวน 1.5 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ ในโฆษณาชื่อ
                                                  ้
‘1984’ ซึ่งได้รับการกากับโดย Ridley Scott มากากับหนังโฆษณาให้ ด้วยออกฉายในช่วงพักโฆษณาในงาน
Super BOWL X V ในวันที่ 22 มกราคม 1984

         โดยถือว่าโฆษณาดังกล่าวเป็ นงานชิ้นโบว์แดงของแอปเปิ้ ลที่ได้รับเสียงตอบรับอย่างล้นหลาม สร้าง
ประกฎการณ์และภาพจาให้กบคนดูโทรทัศน์ในช่วงนั้นกับผลิตภัณฑ์ของแอปเปิ้ ล ที่เหมือนจะมากอบกู้
                          ั
ผูบริ โภคจากคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบเดิมๆในยุคนั้น ซึ่ง IBM กาลังครองตลาดอยู่
  ้

       ในช่วงแรกนั้น Macintosh ขายได้ดีมาก สามารถสร้างเม็ดเงินให้บริ ษทเป็ นจานวนสูง แต่ต่อมา
                                                                           ั
ยอดขายกลับตกลงมาเรื่ อยๆ สอดคล้องกับความนิยมในตัวเครื่ อง เนื่องด้วยราคานั้นสูงเกินไป อีกทั้ง
ซอฟต์แวร์ที่จะมารองรับกลับมีอย่างจากัด แต่สถานการณ์กลับดีข้ ึนอีกครั้ง เมื่อมีการเปิ ดตัว LaserWriter อัน
Technology seeker, Innovation conscious             17


เป็ นเครื่ องพิมพ์เลเซอร์ที่เปิ ดตัวด้วยราคาที่สมเหตุสมผล และ PageMaker ที่เป็ นซอฟต์แวร์เกี่ยวกับสิ่งพิมพ์
เป็ นซอฟต์แวร์แรกๆ หลังจากนี้ Macintosh กลายเป็ นพระเอกในท้องตลาดเลยทีเดียว เนื่องด้วย
ความสามารถด้านกราฟิ กที่สูงกว่าคนอื่นอย่างเห็นได้ชด เพราะมีการนาเอา Macintosh GUI ที่โดดเด่นที่สุด
                                                        ั
ในตลาดมาใช้ ดังนั้นการที่จบเอาผลิตภัณฑ์ท้งสามแบบข้างต้นนี้มารวมเข้าด้วยกันแล้ว สามารถทาให้
                                 ั               ั
Macintosh ตีตลาดผูที่ตองการคอมพิวเตอร์ที่จะนามาทาสื่อสิ่งพิมพ์ได้เป็ นอย่างดี
                      ้ ้

        ต่อมาในปี 1985 สถานการณ์ในบริ ษทกลับตึงเครี ยดมากขึ้น เมื่อความผิดใจแบบลึกๆระหว่าง Jobs
                                           ั
และ John Sculley ผูที่เป็ น CEO ของ Apple ในขณะนั้น กลับชัดเจนขึ้นเรื่ อยๆ ด้วยความที่บอร์ดผูบริ หาร
                   ้                                                                         ้
ของ Apple พยายามจะจากัดสิทธิ์เสียงของ Jobs ในบริ ษท อีกทั้งยังมอบหมายงานใหญ่ๆให้ Sculley เป็ นคน
                                                     ั
ตัดสินแทน ทาให้ Jobs รู้สึกอึดอัดมาก หลายครั้งที่เขาพยายามนัดประชุมบอร์ดผูบริ หารโดยที่ไม่มี Sculley
                                                                              ้
ทาให้สุดท้ายแล้ว Jobs ถูกไล่ออกจากบริ ษทที่เขาเป็ นคนสร้างมันขึ้นมากับมือ ทาให้เขาต้องออกไปเปิ ด
                                        ั
บริ ษท NeXT Inc. ในปี เดียวกัน
     ั



1986–1993 ช่ วงรุ่งโรจน์ และโรยรา




แมคอินทอชแบบพกพา แอปเปิ้ ลเป็ นครั้งแรกที่คอมพิวเตอร์ แมคอินทอชแบบพกพา เปิ ดตัวในปี 1989

            ปี 1991 หลังจากการลาออกของ Jobs ก็ถือเป็ นอีกช่วงที่สาคัญของ Apple ด้วยความที่ Apple ได้
เรี ยนรู้ถึงความผิดพลาดของ Macintosh Portable ที่เปิ ดตัวในปี 1989 ด้วยความที่ตวเครื่ องมีขนาดใหญ่
                                                                               ั
เกินไป รวมไปถึงสมรรถนะตัวเครื่ องที่ต่ากว่าที่ลกค้าคาดหวัง ทาให้ยอดขายตกต่า ไม่เดินเลย ดังนั้นในปี
                                               ู
1991 Apple จึงได้เปิ ดตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์พกพาสมัยใหม่เครื่ องแรกของโลกในชื่อ PowerBook ซึ่งถือว่า
เป็ นต้นตระกูลของคอมพิวเตอร์แล็ปทอปในปัจจุบน     ั
Technology seeker, Innovation conscious                18


         ส่วนตัว Macintosh Portable ออกแบบมาให้มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับ Macintosh แต่กลับมีน้ าหนักที่
สูงจนเกินไป และมีแบตเตอรี่ ที่ใช้งานได้ 12 ชม. ในปี เดียวกัน Apple เปิ ดตัว System 7 ซึ่งเป็ นการอัพเกรด
ระบบปฏิบติการของ Apple ครั้งยิงใหญ่อีกครั้งหนึ่ง ด้วยการเพิ่มอินเตอร์เฟซแบบสี และเปิ ดตัวคุณสมบัติ
            ั                    ่
การเชื่อมต่อแบบใหม่ลาสุดในยุคนั้น โดย System 7 ถือว่าเป็ นอีกหนึ่งฐานรากของ Mac OS X อันโด่งดังใน
                      ่
ปัจจุบนเลยทีเดียว
       ั

         การเปิ ดตัว PowerBook นั้นถือได้ว่าประสบความสาเร็ จและสามารถสร้างเม็ดเงินเข้าบริ ษทได้อย่าง
                                                                                            ั
มาก เรี ยกได้ว่าช่วงปี 1990-1991 นั้นเป็ นช่วงขาขึ้นของบริ ษทเลยก็วาได้ โดยหนังสือนิตยสาร MacAddict
                                                            ั      ่
นั้นขนานนามช่วงนี้ว่าเป็ น The Golden Age ของ Apple เลยทีเดียว

          โดยนอกจาก PowerBook แล้ว ยังมีอีกผลิตภัณฑ์หนึ่งที่ประสบความสาเร็ จไม่แพ้กน คือ Macintosh
                                                                                      ั
LC ที่ Apple ก็ไม่รอช้า ส่ง Centris ผลิตภัณฑ์อีกหนึ่งชนิดออกมาสานต่อความสาเร็ จทันที นอกจากนี้ยงมี
                                                                                                 ั
Quadra อันเป็ นคอมพิวเตอร์ราคาย่อมเยา เบาๆ สาหรับผูใช้งบน้อย และ Performa ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นตามมา
                                                        ้
กลายเป็ น ความงงงวยของผูบริ โภค ที่แยกผลิตภัณฑ์ท้งหมดไม่ออกว่าตาแหน่งทางการตลาดของแต่ละตัว
                             ้                        ั
นั้นอยูที่ตรงไหนด้วยความที่ความสามารถของแต่ละตัว และราคา กลับไม่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชด แทนที่
       ่                                                                                       ั
ผลิตภัณฑ์เหล่านี้จะช่วยสร้างฐานกลุ่มลูกค้าให้กว้างมากขึ้น ทาให้เกิดความสับสน และความไม่เข้าใจว่า
ผลิตภัณฑ์เหล่านี้จะผลิตขึ้นมาทาไม

         ในช่วงเวลานี้เองที่ Apple ได้ลองผิดลองถูกกับผลิตภัณฑ์หลายๆชนิด ไม่ว่าจะเป็ นกล้องถ่ายรู ป
ดิจิตอล, เครื่ องเสียง ไม่ว่าจะเป็ นเครื่ องเล่น CD หรื อ ลาโพง, เครื่ องเล่นวิดิโอเกม, หรื อ TV Set Top Box ซึ่ง
ล้วนแต่ประสบความล้มเหลวโดยสิ้นเชิง ด้วยความที่ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ ไม่สามารถตอบโจทย์ลกค้าได้จริ ง     ู
และเป็ นเพียงการนาเอาสินค้ายีหออื่นมาเปลี่ยนตราเป็ น Apple
                                   ่ ้

         นอกจากสินค้าอื่นๆข้างต้นแล้ว Apple ยังเปิ ดตัวผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ของโลกในชื่อ Newton ที่
เป็ นต้นแบบของ PDA หรื อ Personal Digital Assistance ในเวลาต่อมา แต่นนก็ดูเหมือนจะไม่ได้ช่วยอะไร
                                                                       ั่
ให้กบบริ ษทเลย เนื่องจากเป็ นช่วงเวลาที่ราคาหุนและส่วนแบ่งตลาดของ Apple ถดถอยลงไปทุกที
     ั    ั                                   ้

         การที่ Apple จะพยายามพลิกสถานการณ์อนยาแย่น้ น ดูเหมือนจะทาได้ยากเหลือเกิน การที่ Apple II
                                                ั ่ ั
นั้นมีราคาสูงเกินไปสาหรับผูบริ โภค Apple จึงจัดการเปิ ดตัว Macintosh LC อันเป็ นอีกโมเดลหนึ่งของ
                            ้
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลราคาย่อมเยา โดยมีคุณสมบัติช่องขยายเดียวสาหรับ Apple IIe Card โดยเป็ นการที่
ถือได้ว่า พยายามนาเอาประสิทธิภาพที่สูงกว่าของ Apple II มาให้กบผูใช้ Macintosh แต่อย่างไรก็ตาม Apple
                                                                ั ้
เลิกผลิตและจาหน่าย Apple ในปี 1993
Technology seeker, Innovation conscious           19


         สถานการณ์ในช่วงนี้ กลับกลายเป็ นยาแย่อย่างที่ไม่มีใครเคยคาดคิด ด้วย Windows ที่กาลังแซงหน้า
                                              ่
Apple แบบทิ้งห่าง เพราะชูจุดเด่นเรื่ องราคาที่ถกกว่า Apple อย่างเห็นได้ชด ในขณะที่ Apple เอง พยายามจะ
                                                ู                       ั
สร้างคอมพิวเตอร์ที่มีคุณสมบัติที่ยอดเยียมและประสิทธิภาพที่ดีกว่า แต่กลายเป็ นว่า ราคาขายปลีกนั้นสูง
                                        ่
เกินไปที่ผใช้ส่วนใหญ่จะเข้าถึง นอกจากสถานการณ์การเงินของบริ ษทจะเข้าขั้นตกต่าแล้ว Apple ยังได้ไป
           ู้                                                       ั
ฟ้ องร้อง Microsoft ในกรณี ที่ลอกเลียนกราฟิ กอินเตอร์เฟซใน Windows โดยการฟ้ องร้องนี้ดาเนินไปอย่าง
ยาวนานนับปี สุดท้ายแล้ว Apple ก็ประสบความล้มเหลวในทุกๆด้าน จน Sculley ต้องลาออกไป แล้ว
มอบหมายให้ Michael Spindler มารับหน้าที่ในตาแหน่ง CEO แทนเขาเอง

1994–1997 พยายามที่จะลองผิดลองถูก




นิวตัน การโจมตีครั้งแรกของ Apple ใน PDA คือตลาดเป็ นหนึ่งในครั้งแรกในอุตสาหกรรม แม้จะเป็ นอัน
เป็ นไปทางการเงินได้ตลอดเวลาของการปล่อยของมันช่วยปูทางสาหรับการที่ Palm Pilot และ Apple ของ
ตัวเอง iPhone และ iPad ในอนาคต

         ในช่วงต่อไปนี้ อันเป็ นปี 1994-1997 Apple ได้พฒนาแพลตฟอร์มระบบปฏิบติการอื่นๆที่ต่อยอดมา
                                                       ั                       ั
จาก Macintosh เช่น A/UX นอกจากนี้ยงได้ทดลองเปิ ดตัวโลกออนไลน์สาหรับ Macintosh โดยเฉพาะในชื่อ
                                        ั
eWorld ซึ่งได้พฒนาร่ วมกับ America Online และถูกออกแบบมาให้เป็ นมิตรกับเครื่ อง Macintosh ทุกเครื่ อง
                ั
เป็ นอีกหนึ่งทางเลือกสาหรับผูใช้ Macintosh ที่ไม่ตองการใช้ CompuServe ในการออนไลน์และท่อง
                               ้                  ้
เว็บไซต์

        แต่อย่างไรก็ตาม กลายเป็ นว่า Macintosh นั้นล้าสมัยในช่วงเวลานั้นไปเสียแล้ว เนื่องจากไม่ได้ถก
                                                                                                   ู
ออกแบบมาให้ทาหลายๆโปรแกรมได้ในเวลาเดียวกัน หรื อ Multitasking และซอฟต์แวร์สาคัญๆบาง
ซอฟต์แวร์ยงถูกกรอบบังคับให้ใช้ได้เฉพาะบางรุ่ นอีกต่างหาก ทาให้นนเป็ นข้อบังคับจนเกินไป แน่นอนว่า
           ั                                                      ั่
Apple ต้องการแพลทฟอร์มใหม่สาหรับ Macintosh แล้ว เพื่อที่จะได้แข่งกับ Sun Microsystems และผูผลิต/ ้
พัฒนา OS/2 และ UNIX อื่นๆได้อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยเสียที
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker

More Related Content

Similar to รายงานTechnology seeker

Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
nuttawoot
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
NuTty Quiz
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
Kobwit Piriyawat
 

Similar to รายงานTechnology seeker (20)

บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
Ci13501chap3
Ci13501chap3Ci13501chap3
Ci13501chap3
 
พฤติกรรมงานชิ้นที่2
พฤติกรรมงานชิ้นที่2พฤติกรรมงานชิ้นที่2
พฤติกรรมงานชิ้นที่2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
สาระแกนกลาง
สาระแกนกลางสาระแกนกลาง
สาระแกนกลาง
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
นิ่ง
นิ่งนิ่ง
นิ่ง
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 

รายงานTechnology seeker

  • 1. Technology seeker, Innovation conscious 0 รายงาน วิชา พฤติกรรมผูบริ โภค ้ เรื่อง Technology seeker, Innovation conscious สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวประภาภรณ์ ไชยภักดี 51010918247 2. นางสาวนริ ศรา บุตรกุล 51010918179 3. นางสาววัจนี ศรี พวงผกาพันธุ์ 50010919510 4. นางสาว ณัฐกานต์ เมืองโคตร 52010913779 5. นางสาว ณัฐณิชา นอบไทย 52010913780 6. นางสาว ทัศนี ย ์ เรื องอาไพสกุล 52010913787 7. นางสาว นวพร เก่งปรี ชา 52010914569 นาเสนอ อาจารย์วจนะ ภูผานี คณะการบัญชีและการจัดการ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2554 คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • 2. Technology seeker, Innovation conscious 1 คานา รายงานเล่มนี้ เป็ นส่วนหนึ่งของวิชา พฤติกรรมผูบริ โภค โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับลักษณะทัวๆไปของ ้ ่ เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ และปัจจัยในด้านต่างๆที่ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผูบริ โภค ้ รวมไปถึง ตัวอย่างบริ ษทที่ทาการตลาดโดยการใช้เทคโนโลยี เพื่อการเข้าใจถึงเนื้อหาภายในรายงานได้อย่าง ั ง่ายขึ้น รายงานเล่มนี้ ได้จดทาขึ้น เพื่อผูที่ตองการศึกษาเพิมเติม หรื อนาไปใช้ประกอบการเรี ยนการสอน ั ้ ้ ่ คณะผูจดทา หวังว่า รายงานเล่มนี้เป็ นประโยชน์แก่ผอ่านไม่มากก็นอย หากผิดพลาดประการใดก็ ้ั ู้ ้ ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ี คณะผูจดทา ้ั
  • 3. Technology seeker, Innovation conscious 2 สารบัญ ความหมาย 3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลียนแปลงการเกิดขึนของแนวโน้ มนั้นๆ ่ ้ ด้ านวัฒนธรรม 5 ลักษณะประชากรศาสตร์ 7 สถานภาพทางสังคม 8 Internal influences ปัจจัยภายใน การเรียนรู้ 10 วิถีชีวต ิ 12 ประวัตบริษัทบริษัท แอปเปิ ล อิงค์ ิ 13 ผลิตภัณฑ์ของ Apple 23 Market share 25 Market size 26 Competitors (คู่แข่งขัน) 28 Consumer Behavior (6W 1H) 32 กลยุทธ์ STP Analysis 33 Marketing Strategy 4 Ps 36 บทสรุปและข้ อเสนอแนะ 39 อ้างอิง 40
  • 4. Technology seeker, Innovation conscious 3 Technology seeker, Innovation conscious ความหมาย คนที่ทางานเกี่ยวกับค้นหาเทคโนโลยีใหม่ ๆ การที่มความรู้หรื อก้าวทันเกี่ยวกับนวัตกรรมใหม่ๆ ี เทคโนโลยี(Technology) หมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวกับการผลิตการสร้างการใช้สิ่งของกระบวนการหรื อวิธีการดาเนิน งานรวมไปถึงอุปกรณ์ที่ไม่ได้มีในธรรมชาติสิ่งที่มนุษย์พฒนาขึ้นเพื่อช่วยในการทางานหรื อแก้ปัญหาต่าง ๆ ั เข่น อุปกรณ์, เครื่ องมือ, เครื่ องจักร, วัสดุ หรื อแม้กระทังที่ไม่ได้เป็ นสิ่งของที่จบต้องได้ เช่น ่ ั กระบวนการต่างๆ นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง การนาสิ่งใหม่ ๆ อาจเป็ นแนวความคิด หรื อ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆที่ยงไม่เคยมีใช้มาก่อนหรื อ ั เป็ นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยูแล้วให้ทนสมัยและได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง ่ ั กว่าเดิม ทั้งยังช่วยประหยัดเวลาและแรงงานได้ดวย ้
  • 5. Technology seeker, Innovation conscious 4 ปัจจัยที่ส่งผลต่ อการเปลี่ยนแปลงการเกิดขึ้นของแนวโน้ มนั้นๆ External influences ปัจจัยภายนอก ด้ านวัฒนธรรม เทคโนโลยีกับวัฒนธรรม เมื่อกล่าวถึงวัฒนธรรม‚วัฒนธรรมเป็ นสิ่งที่ดีงาม ซึ่งผ่านการขัดเกลา และถ่ายทอดจากคนรุ่ นหนึ่งสู่ คนอีกรุ่ น‛ แต่ขณะเดียวกัน เราก็จะได้ยนข้อความต่างๆที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมข้างต้น เช่น เช่นมีการต่อต้าน ิ การเข้ามาของวัฒนธรรมต่างชาติ ไม่ว่าจะเป็ นวัฒนธรรมตะวันตก อเมริ กน และนอกจากนี้เราก็ยงได้ยนการ ั ั ิ เอ่ยถึงวัฒนธรรมต่างๆในแง่ลบ เช่น วัฒนธรรมการกินอาหารขยะหรื ออาหารจานด่วนเป็ นอันตรายต่อ สุขภาพวัฒนธรรมมาจากคาสองคาคือ วัฒนะ กับธรรม วัฒนะ มีความหมายว่า เจริ ญงอกงาม รุ่ งเรื อง ส่วนคา ว่า‚ธรรม‛ ในที่น้ ีหมายถึงกฎ ระเบียบหรื อข้อปฏิบติ โดยรวมแล้ว คาว่า‚วัฒนธรรม‛น่าจะหมายถึง ความ ั เป็ นระเบียบ หรื อข้อปฏิบติที่ทาให้เจริ ญรุ่ งเรื อง แต่เราจะเห็นได้ว่ามีการให้ความหมายนอกเหนือจากนี้อีก ั หลายๆความหมายเช่น ‚มรดกแห่งสังคม ซึ่งสังคมรับ และรักษาไว้ให้เจริ ญงอกงาม เป็ นผลิตผลของ ส่วนรวม ที่มนุษย์ได้เรี ยนรู้มาจากคนแต่ก่อน สืบต่อเป็ นประเพณี กนมา‛ ‚สิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลง ปรับปรุ ง ั หรื อผลิตสร้างขึ้น เพื่อความเจริ ญงอกงาม ในวิถีแห่งชีวตของส่วนรวม ถ่ายทอดกันได้ เอาอย่างกันได้‛ ิ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตพ.ศ.๒๕๔๒ ให้ความหมาย ‚วัฒนธรรม‛ว่า สิ่งที่ทาความเจริ ญงอกงามให้แก่ หมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมในการแต่งกาย หรื อวิถีชีวิตของหมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมชาวเขา พระราชบัญญัติ วัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ.2535 ให้ความหมายของคาว่า วัฒนธรรมไว้ว่าหมายถึง ความเจริ ญงอกงาม ซึ่งเป็ น ผลจากระบบความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบมนุษย์ มนุษย์กบสังคม และมนุษย์กบธรรมชาติ จาแนก ั ั ั
  • 6. Technology seeker, Innovation conscious 5 ออกเป็ น ๓ ด้านคือ จิตใจ สังคม และวัตถุ มีการสังสมและสืบทอดจากคนรุ่ นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่ นหนึ่ง จาก ่ สังคมหนึ่งไปสู่อีกสังคมหนึ่ง จนกลายเป็ นแบบแผนที่สามารถ เรี ยนรู้และก่อให้เกิดผลิตกรรมและผลิตผล ทั้งที่เป็ นรู ปธรรมและนามธรรม อันควรค่าแก่การวิจย อนุรักษ์ ฟื้ นฟู ถ่ายทอด เสริ มสร้างเอตทัคคะ และ ั แลกเปลี่ยน เพื่อสร้างดุลยภาพแห่งความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ สังคม และธรรมชาติ ซึ่งจะช่วยให้มนุษย์ สามารถดารงชีวิตอย่างมีสุข สันติสุข และอิสรภาพ อันเป็ นพื้นฐานแห่งอารยธรรมของมนุษย์ชาติ อมรรัตน์ เทพกาปนาท กลุ่มประชาสัมพันธ์ สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ได้สรุ ป ความหมายของ วัฒนธรรมไว้ว่าเป็ น ‚วิถีการดาเนินชีวิต (The Way of Life) ของคนในสังคม นับตั้งแต่วิธี กิน วิธีอยู่ วิธีแต่งกาย วิธีทางาน วิธีพกผ่อน วิธีแสดงอารมณ์ วิธีสื่อความ วิธีจราจรและขนส่ง วิธีอยูร่วมกัน ั ่ เป็ นหมู่คณะ วิธีแสดงความสุขทางใจ และหลักเกณฑ์การดาเนินชีวิต โดยแนวทางการแสดงถึงวิถีชีวตนั้น ิ อาจจะมาจากเอกชน หรื อคณะบุคคลทาเป็ นตัวแบบ แล้วต่อมาคนส่วนใหญ่ก็ปฏิบติสืบต่อกันมาวัฒนธรรม ั ย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไขและกาลเวลา เมื่อมีการประดิษฐ์หรื อค้นพบสิ่งใหม่ วิธีใหม่ที่ใช้แก้ปัญหา และตอบสนองความต้องการของสังคมได้ดีกว่า ซึ่งอาจทาให้สมาชิกของสังคมเกิดความนิยม และในที่สุด อาจเลิกใช้วฒนธรรมเดิม ดังนั้น การรักษาหรื อธารงไว้ซ่ึงวัฒนธรรมเดิม จึงต้องมีการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง ั หรื อพัฒนาวัฒนธรรมให้เหมาะสมมีประสิทธิภาพตามยุคสมัย‛ ซึ่งข้าพเจ้าเห็นด้วยกับข้อสรุ ปนี้ เพราะ ข้าพเจ้าคิดว่า หากนาคาว่า ‚ดีงาม‛ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ก็จะทาให้ความหมายของวัฒนธรรมนั้นคลุมเครื อ เพราะแต่ละคนนั้นมีความเห็นต่างกันออกไป ความดีงามของแต่ละคนนั้นอาจจะต่างกันเล็กน้อย หรื ออาจจะ ตรงกันข้ามกันเลยก็เป็ นได้ แต่อย่างไรก็ตาม การกล่าวเช่นนี้มิได้หมายความว่าวัฒนธรรมไม่ใช่สิ่งที่ดีงาม เพียงแต่วาข้าพเจ้าคิดว่าไม่ควรนาเข้ามาเป็ นนิยามเท่านั้น วัฒนธรรมหลายอย่างก็ยงคงมีความดีงาม และพึง ่ ั ปรารถนา ในขณะเดียวกัน บางวัฒนธรรมก็ไม่ค่อยเข้าข่ายคาว่าดีงามมากนัก แต่มนก็ยงคงอยูต่อมาได้ หรื อ ั ั ่ เราอาจกล่าวได้อกอย่างว่า วัฒนธรรมไม่ได้จากัดอยูเ่ พียงแค่คาว่าดีงาม เท่านั้น ี วัฒนธรรมอาจแบ่งได้เป็ นสองประเภทคือ วัฒนธรรมทางดานวัตถุ และวัฒนธรรมทางจิตใจ วัฒนธรรมทาง วัตถุ เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับสุขกาย เพื่อให้ได้อยูดีกินดี มีความสะดวกสบาย ในการครองชีพ ได้แก่สิ่งความจาเป็ น ่ เบื้องต้นในชีวต ๔ อย่างและสิ่งอื่นๆ เช่น เครื่ องมือ เครื่ องใช้ ยานพาหนะ ตลอดจนเครื่ องอาวุธยุทโธปกรณ์ ิ วัฒนธรรมทางจิตใจ เป็ นสิ่งที่ทาให้ปัญญาและจิตใจ มีความเจริ ญงอกงาม ได้แก่ การศึกษา วิชาความรู้อน ั บารุ งความคิดทางปัญญา ศาสนา จรรยา ศิลปะ และวรรณคดี กฎหมายและระเบียบประเพณี ซึ่งส่งเสริ ม ความรู้สึกทางจิตใจให้งอกงามหรื อสบายใจ
  • 7. Technology seeker, Innovation conscious 6 อิทธิพลของเทคโนโลยีที่มีต่อวัฒนธรรม จะเห็นได้ว่าวัฒนธรรมเป็ นเรื่ องชีวิต เราเติบโตมาในวัฒนธรรม และเช่นเดียวกัน กับเทคโนโลยี เรา ไม่อาจปฏิเสธได้ว่า มันไม่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม เพราะเราจะเห็นได้ว่า ชีวิตเราก็มีความเกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยีเช่นกัน เทคโนโลยีเกิดขึ้นมานานแล้วในโลกของเรา มันช่วยให้ชีวิตของมนุษย์ง่ายขึ้น เมื่อมันเกิดมาแล้ว ตรงกับความต้องการของมนุษย์ มันก็จะถูกนามาใช้อย่างแพร่ หลาย ต่อเนื่องจนกลายเป็ นวัฒนธรรม ในแง่น้ ี เราจึงสามารถกล่าวได้ว่า เทคโนโลยีก็เป็ นวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง เทคโนโลยีใหม่ๆเกิดขึ้นมามากมาย หลากหลาย เทคโนโลยีที่ใหม่กว่า ทันสมัยกว่า และที่ สาคัญ ทาให้ชีวิตมนุษย์สุขสบายง่ายยิงขึ้นกว่าเดิมก็จะ ่ มาแทนที่เทคโนโลยีท่ีเก่ากว่า ในแง่น้ ีเราก็กล่าวได้ว่า เทคโนโลยีทาลายวัฒนธรรมเดิมซึ่งเป็ นเทคโนโลยี เช่นกัน แล้ววัฒนธรรมอื่นๆ ที่ไม่ใช่เทคโนโลยีล่ะ เทคโนโลยีเป็ นที่มาของวัฒนธรรมใหม่ๆหลายอย่างซึ่งไม่ เคยเกิดขึ้นในอดีต จึงไม่อาจกล่าวว่ามันทาลายทุกวัฒนธรรมเดิมซะทีเดียว มันเพียงแต่เพิ่มเติมขึ้นมาเป็ น วัฒนธรรมใหม่ ซึ่งมีผลกระทบต่อวัฒนธรรมเดิม ตัวอย่ างที่เห็นได้ ชัดของเทคโนโลยีททาให้ เกิดวัฒนธรรมใหม่ ี่ คือ อินเตอร์เน็ต ภายใต้ระบบอินเตอร์เน็ตนี้ เกิดการสนทนาโต้ตอบกันในห้องสนทนาหรื อที่ เรี ยกว่าแชท เกิดการตั้งกระทูหรื อฟอรั่มที่มีการแยกกันอย่างเป็ นหมวดหมู่ ซึ่งมีให้เลือกเข้าไปอ่าน ตั้งคาถาม ้ ตอบคาถามกันตามความสนใจ เกิดเกมส์ออนไลน์ที่เป็ นมีเนื้อหาหลายแนว ทั้งเกมต่อสู้ เกมส์วางแผน เกมส์ ที่จาลองการเล่นกีฬาต่างๆ และด้วยทางเลือกต่างๆที่มีอยูอย่างหลากหลายนี้ ก็ทาให้เกิดวัฒนธรรมใหม่ข้ ึนมา ่ คนหลายคนมีชีวิตอยูในหน้าจอคอมพิวเตอร์มากกว่า 5 ชัวโมงในแต่ละวัน ซึ่งรวมถึงการเช็คจดหมาย ่ ่ อิเล็กทรอนิกส์ แชทกับเพื่อน ติดตามกระทูที่ตนสนใจ เล่นเกมส์เพื่อเพิมเลเวล จะเห็นได้ว่าผูคนจานวนไม่ ้ ่ ้ น้อยหมดเวลาไปกับสิ่งเหล่านี้หลายชัวโมงต่อวัน แล้วเราก็ไม่อาจปฏิเสธได้ว่ามันเกิดมาเป็ นระยะเวลานาน ่ หลายปี แล้ว ดังนั้นเราก็จึงอาจเรี ยกเหตุการณ์เช่นนี้ได้ว่าเป็ นวัฒนธรรม เป็ นส่วนหนึ่งในการดารงชีวิตของ พวกเขา วัฒนธรรมดังกล่าวย่อมมีผลกระทบต่อวัฒนธรรมอื่นๆ เนื่องจากที่กล่าวไปแล้วว่า ผุคนจานวนมาก ้ ใช้เวลาแต่ละวันไปไม่นอยในการใช้อินเตอร์เน็ต ก็ทาให้เวลาในการทากิจกรรมอื่นลดน้อยลงตามไปด้วย ้ บางคนอาจจะเลิกทางานอดิเรกแล้วหันมา ‚เล่นเนต‛ แทน หลายคนงดกินข้าวบางมื้อ หรื อเอามากินหน้าคอม เพื่อให้ได้เล่นเกมส์ได้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้เวลาในการมีปฏิสมพันธ์กบคนรอบข้างก็ถกดึงไปโดยความ ั ั ู ต้องการที่จะมีปฏิสมพันธ์กบคนในโปรแกรมสนทนาแทน ั ั
  • 8. Technology seeker, Innovation conscious 7 แต่อย่างเราก็ตาม เราคงจะปฏิเสธไม่ได้ว่า เทคโนโลยีมีผลต่อวัฒนธรรมต่างๆอย่างมาก โดยเฉพาะ เทคโนโลยี อินเตอร์เน็ตดังที่ได้กล่าวมานี้ เห็นได้จากการที่ นิ ตยาสารไทม์ ได้ยกตาแหน่งบุคคลแห่งปี 2549 ให้กบผูใช้อินเตอร์เน็ตทั้งหลาย ในฐานะที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนให้เกิดพลังใหม่บินเครื อข่าย ั ้ อินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ยงยกย่องว่า คนบนอินเตอร์ เน็ตทัวโลกคือพลังแห่งระบอบประชาธิปไตยยุคดิจิตอล ั ่ ใหม่ ซึ่งแสดงออกผ่านสื่ออินเตอร์เน็ตได้โดยเสรี ผนึกกาลังขึ้นเป็ นชุมชนอันแข็งแกร่ งและก่อให้เกิด ผลกระทบในวงกว้าง ลักษณะประชากรศาสตร์ ในกลุ่ม Generation Y เป็ นกลุ่มที่มีความสนใจในเทคโนโลยีใหม่ๆ อีกทั้งสิ่งที่ตอบสนองความ ต้องการของคนกลุ่มนี้ได้มากที่สุด คือ สินค้าประเภทนวัตกรรมใหม่ๆ เนื่องจากกลุ่ม Gen Y ชอบการ เรี ยนรู้สิ่งใหม่ๆอยูเ่ สมอ แล้วการได้เรี ยนรู้ให้กาวทันเทคโนโลยีใหม่ๆที่ทนสมัย ดูจะเป็ นสิ่งที่กลุ่ม Gen Y ้ ั จะให้ความสนใจมากที่สุด ประกอบกับ กลุ่ม Gen Y มีความมันใจและเป็ นตัวของตัวเองสูงมาก การหา ่ อะไรที่สื่อความเป็ นตัวของตัวเอง อีกทั้งการตอบสนองการต้องการเรี ยนรู้ส่ิงใหม่ตลอดเวลา ทาให้กลุ่มนี้มี การพร้อมที่ทางานในสถานที่แปลกๆ ที่ไม่คนเคยได้เป็ นอย่างดี และ กลุ่มGen Y เป็ นกลุ่มที่มีอายุระหว่าง ุ้ 21 – 31 ปี กลุ่ม Generation Z เป็ นกลุ่มที่มีความคุนเคยกับเทคโนโลยีมาก เนื่องจากการดูแลเอาใจใส่เป็ น ้ อย่างดีจากพ่อแม่ที่อยูในกลุ่ม GEN Y โดยพ่อแม่ของ Gen Z จะมีความชื่นชอบในเทคโนโลยีใหม่ๆและมี ่ การส่งเสริ มให้มีการเรี ยนรู้ในเทคโนโลยีใหม่ๆ ทาให้กลุ่มGEN Z จะเป็ นกลุ่มที่มีความชอบและคุนเคยกับ ้ เทคโนโลยีใหม่ๆ ถึงแม้ว่าจะมีอานาจในการซื้อที่ค่อนข้างต่า แต่มีมลค่าตลาดที่สูง ทั้งนี้ เพราะ พ่อแม่ของ ู กลุ่ม Gen Z จะตอบสนองต่อความต้องการของลูกมาก ดังนั้นการซื้อผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่มีความทันสมัย ไม่ ว่าจะเป็ นในเรื่ องเทคโนโลยีและรู ปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์กจะได้รับการตอบสนองจากพ่อแม่กลุ่ม Gen Y ็
  • 9. Technology seeker, Innovation conscious 8 สถานภาพทางสั งคม เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเปลี่ยนแปลง แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้การกระจายข้อมูลข่าวสาร เป็ นไปอย่างรวดเร็ ว ทุกทิศทาง และมีระบบตอบสนอง ด้วยเหตุน้ ีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้าน เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ผลของความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดแนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงที่สาคัญหลายด้าน แนวโน้มที่สาคัญที่เกิดจากเทคโนโลยีที่สาคัญและเป็ นที่กล่าวถึงกันมาก ดังนี้ 1) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้สงคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็ นสังคมสารสนเทศ สภาพของ ั สังคมโลกได้เปลี่ยนแปลงมาแล้วสองครั้ง จากสังคมความเป็ นอยูแบบเร่ ร่อนมาเป็ นสังคมเกษตรที่มการ ่ ี เพาะปลูกและสร้างผลิตผลทางการเกษตร ทาให้มีการสร้างบ้านเรื อนเป็ นหลักแหล่ง ต่อมามีความจาเป็ นต้อง ผลิตสินค้าให้ได้ปริ มาณมากและต้นทุนถูก จึงต้องหันมาผลิตแบบอุตสาหกรรม ทาให้สภาพความเป็ นอยู่ ของมนุ ษย์เปลี่ยนแปลงมาเป็ นสังคมเมือง มีการรวมกลุ่มอยูอาศัยเป็ นเมือง มีอุตสาหกรรมเป็ นฐานการผลิต ่ สังคมอุตสาหกรรมได้ดาเนินการมาจนถึงปัจจุบน และเข้าสู่สงคมสารสนเทศ การดาเนินธุรกิจใช้สารสนเทศ ั ั อย่างกว้างขวาง เกิดคาใหม่ว่า ไซเบอร์สเปซ มีการดาเนินกิจกรรมต่างๆ เช่น การพูดคุยผ่านอินเทอร์เน็ต การ ซื้อสินค้าและบริ การ ฯลฯ 2) เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นเทคโนโลยีแบบตอบสนองตามความต้องการของผูใช้แต่ละคน เช่น การดู ้ โทรทัศน์ วิทยุ เมื่อเราเปิ ดเครื่ องรับโทรทัศน์หรื อวิทยุ เราไม่สามารถเลือกตามความต้องการได้ หากไม่พอใจ ก็ทาได้เพียงเลือกสถานีใหม่ แนวโน้มจากนี้ไปจะมีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่เรี ยกว่า on demand เราจะมี โทรทัศน์และวิทยุแบบเลือกดู เลือกฟังได้ตามความต้องการ หากระบบการศึกษาจะมีระบบ education on demand คือสามารถเลือกเรี ยนตามต้องการได้ การตอบสนองตามความต้องการ เป็ นหนทางที่เป็ น ไปได้
  • 10. Technology seeker, Innovation conscious 9 เพราะเทคโนโลยีมีพฒนาการที่กาวหน้าจนสามารถนาระบบสื่อสารมาตอบสนองตามความต้องการของ ั ้ มนุษย์ 3) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้เกิดสภาพการทางานแบบทุกสถานที่ และทุกเวลา เมื่อการสื่อสาร ก้าวหน้าและแพร่ หลายขึ้น การโต้ตอบผ่านเครื อข่ายทาให้มีปฏิสมพันธ์ได้ เกิดระบบการประชุมทางวีดิทศน์ ั ั ระบบประชุมบนเครื อข่าย ระบบโทรศึกษา ระบบการค้าบนเครื อข่าย ลักษณะของการดาเนินงานเหล่านี้ ทา ให้ผใช้ขยายขอบเขตการดาเนินกิจกรรมไปทุกหนทุกแห่งตลอด 24 ชัวโมง เราจะเห็นจากตัวอย่างที่มมานาน ู้ ่ ี แล้ว เช่น ระบบเอทีเอ็ม ทาให้การเบิกจ่ายได้เกือบตลอดเวลา และกระจายไปใกล้ตวผูรับบริ การมากขึ้น และ ั ้ ด้วยเทคโนโลยีที่กาวหน้าขึ้น การบริ การจะกระจายมากยิงขึ้นจนถึงที่บาน ในอนาคตสังคมการทางานจะ ้ ่ ้ กระจายจนงานบางงานอาจนังทาที่บานหรื อที่ใดก็ได้ และเวลาใดก็ได้ ่ ้ 4) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบท้องถิ่นไปเป็ นเศรษฐกิจโลก ระบบ เศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจากัดภายในประเทศ ก็กระจายเป็ นเศรษฐกิจโลก ทัวโลกจะมีกระแสการ ่ หมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้า บริ การอย่างกว้างขวางและรวดเร็ ว เทคโนโลยีสารสนเทศมีส่วนเอื้ออานวยให้ การดาเนินการมีขอบเขตกว้างขวางมากยิงขึ้น ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกเชื่อมโยงและมี ่ ผลกระทบต่อกัน 5) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้องค์กรมีลกษณะผูกพันหน่วยงานภายในเป็ นแบบเครื อข่ายมากขึ้น แต่ ั เดิมการจัดองค์กรมีการวางเป็ นลาดับขั้น มีสายการบังคับบัญชาจากบนลงล่าง แต่เมื่อการสื่อสารแบบสอง ทางและการกระจายข่าวสารดีข้ ึน มีการใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์กรผูกพันกันเป็ นกลุ่มงาน มีการเพิ่ม คุณค่าขององค์กรด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดโครงสร้างขององค์กรจึงปรับเปลี่ยนจากเดิม และมี แนวโน้มที่จะสร้างองค์กรเป็ นเครื อข่ายที่มีลกษณะการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น หน่วยธุรกิจจะมี ั ขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็ นเครื อข่าย โครงสร้างขององค์กรจึงเปลี่ยนแปลงไปตาม กระแสของเทคโนโลยี 6) เทคโนโลยีสารสนเทศ ก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทาให้วิถีการ ตัดสินใจรอบคอบมากขึ้น แต่เดิมการตัดสินปั ญหาอาจมีหนทางให้เลือกได้นอย เช่น มีคาตอบเดียว ใช่ และ ้ ไม่ใช่ แต่ดวยข้อมูลข่าวสารที่สนับสนุนการตัดสินใจ ทาให้วิถีความคิดในการตัดสินปัญหาเปลี่ยนไป ผู้ ้ ตัดสินใจมีทางเลือกได้มากและมีความรอบครอบในการตัดสินปัญหาได้ดีข้ ึน 7) เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นเทคโนโลยีเดียวที่มีบทบาทที่สาคัญในทุกวงการ ดังนั้นจึงมีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม ศีลธรรม การศึกษาเศรษฐกิจและการเมืองได้อย่างมาก ลองนึกดูว่าขณะนี้ เราสามารถชมข่าว ชมรายการทีวี ที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทวโลก เราสามารถรับรู้ ั่ ข่าวสารได้ทนที เราใช้เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตในการสื่อสารระหว่างกัน และติดต่อกับคนได้ทวโลก จึงเป็ นที่ ั ั่
  • 11. Technology seeker, Innovation conscious 10 แน่ชดว่าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองจึงมีลกษณะเป็ นสังคมโลก ั ั มากขึ้น Internal influences ปัจจัยภายใน การเรียนรู้ เทคโนโลยีกบการเรียนรู้ ั ในปั จจุ บนนี้ เทคโนโลยีมีค วามสาคัญอย่างมากต่อชีวิตประจ าวัน ของคนเรา ซึ่ งก็ร วมไปถึงการใช้ ั เทคโนโลยีเกี่ยวกับการเรี ยนรู้ดวยโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กล่าวไว้ว่า ผูเ้ รี ยนมี ้ ความสาคัญมากที่สุด และควรที่จะมีการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัด ของผูเ้ รี ยน โดยค านึ งถึงความแตกต่ างระหว่างบุ คคลด้ว ย ซึ่ งมาตรา 66 ของพระราชบัญญัติ การศึก ษา แห่ งชาติได้กล่าวไว้ว่า ผูเ้ รี ยนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ดวยตนเองได้อย่าง ้ ต่อเนื่องตลอดชีวิต ซึ่งสิ่งเหล่านี้ ก็จะเกี่ยวข้องกันกับใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยในการเรี ยนรู้ดวย โดย ้ เทคโนโลยีการเรี ยนรู้จะประกอบด้วยองค์ประกอบหลักอยู่ 4 องค์ประกอบ คือ 1. เทคโนโลยีการศึกษาด้านสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ ตารา เอกสารชุดวิชาและพิมพ์อื่น ๆ 2. เทคโนโลยีดานสื่อโสตทัศน์ เช่น วัสดุอุปกรณ์ และโสตทัศนูปกรณ์เทปเสียงและวีดีทศน์ ้ ั
  • 12. Technology seeker, Innovation conscious 11 3. เทคโนโลยีดานสื่อสารมวลชน เช่น รายการวิทยุกระจายเสียงทางการศึกษาและรายการวิทยุโทรทัศน์ ้ การศึกษา 4. เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย เครื อข่ายฐานข้อมูล และ Internet โดยทั้ง 4 องค์ประกอบนี้เราสามารถนามาเป็ นตัวที่ช่วยให้การจัดการเรี ยนการสอนได้รวดเร็วและ สะดวกมากยิงขึ้น ่ ซึ่งเทคโนโลยีโดยปกติจะเกี่ยวข้องกับการเรี ยนการสอน 3 ลักษณะ คือ 1.การเรี ยนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี ได้แก่เรี ยนรู้ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ เรี ยนรู้จนสามารถใช้ระบบ คอมพิวเตอร์ได้ ทาระบบข้อมูลสารสนเทศเป็ น สื่อสารข้อมูลทางไกลผ่าน E-mail และ Internet ได้ เป็ นต้น 2. การเรี ยนรู้โดยใช้เทคโนโลยี ได้แก่การเรี ยนรู้ความรู้ใหม่ ๆ และฝึ กความสามารถ ทักษะ บางประการโดย ใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI เรี ยนรู้ทกษะใหม่ ๆ ทางโทรทัศน์ที่ส่งผ่านดาวเทียม ั การค้นคว้าเรื่ องที่สนใจผ่าน Internet เป็ นต้น 3. การเรี ยนรู้กบเทคโนโลยี ได้แก่การเรี ยนรุ ้ดวยระบบการสื่ อสาร 2 ทางกับเทคโนโลยี เช่น การฝึ กทักษะ ั ้ ภาษากับโปรแกรมที่ให้ขอมูลย้อนกลับถึงความถูกต้อง การฝึ กการแก้ปัญหากับสถานการณ์จาลอง เป็ นต้น ้ ซึ่งผูเ้ ขียนเห็นว่าเทคโนโลยีเหล่านี้จะช่วยให้ท้งผูสอนและนักเรี ยนมีการเรี ยนรู้ได้ตลอดเวลา ซึ่งเราก็ไม่ ั ้ จาเป็ นที่จะต้องเรี ยนรู้แต่เฉพาะในห้องเรี ยน โดยถ้านักเรี ยนสนใจที่จะหาความรู้ดวยตนเองก็สามารถหา ้ ข้อมูลผ่านทางระบบ Internet ได้ แต่สื่อเหล่านี้ก็ไม่ค่อยน่าเป็ นห่วงเท่าไหร่ เพราะถ้าเรามีงบประมาณพอเราก็ จัดหาได้ไม่ยาก แต่สิ่งที่ยงขาดแคลนคือข้อมูล เพราะถ้าขาดข้อมูลสารสนเทศไม่ดีแล้ว ตัวระบบเทคโนโลยีก็ ั ไร้ความหมาย
  • 13. Technology seeker, Innovation conscious 12 วิถีชีวต ิ ในปัจจุบนเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้เข้ามาเกี่ยวข้องกับวิถีชีวตหรื อการดาเนินชีวิตในแต่ละวันของ ั ิ ผูบริ โภค และการนาเทคโนโลยีต่างๆมาใช้มากขึ้น ทั้งนี้ เพราะเทคโนโลยีมการปฏิบติการณ์ที่ตอบสนอง ้ ี ั ความต้องการของผูบริ โภคมากขึ้น ในแง่ของความบันเทิง ความสะดวกสบายและความรวดเร็ว แตกต่าง ้ จากเมื่อก่อนที่เทคโนโลยียงไม่มความทันสมัยมากนัก เนื่องสมัยก่อนนั้น การผลิตและวิถีชีวิตของผูคนใน ั ี ้ สมัยก่อน เป็ นไปอย่างเรี ยบง่าย แบบพออยูพอกิน จนในปัจจุบนการมีการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มา ่ ั ประยุกต์ใช้กบกระบวนการผลิตต่างๆ จนทาให้เกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรม ที่ส่งผลให้วิถีชีวิตของ ั ประชาชนที่อยูในละแวกนั้นมีการเปลี่ยนแปลงไป ในด้านของการอพยพย้ายถิ่นที่พกอาศัยไปยังแหล่งที่มี ่ ั ความเจริ ญในด้านเทคโนโลยีที่ทนสมัย รวมทั้งการรับเทคโนโลยีจากภายนอกให้เข้ามาควบคุม ั ความสัมพันธ์กบบุคคลในสังคม และกิจกรรมที่ทาร่ วมกันในสังคม ที่มีเทคโนโลยีเป็ นสื่อในการทากิจกรรม ั ร่ วมกันกับผูอื่นอย่าง การนาเทคโนโลยีมาช่วยให้การปลูกข้าว ทาให้ชาวนาสามารถปลูกข้าวได้อย่าง ้ รวดเร็ ว ประหยัดเวลาและการเสียค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงานมาช่วยในการปลูกข้าว หรื อในแง่ของ อุตสาหกรรม ที่มีการนาเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามามีส่วนช่วยในกระบวนการผลิต ที่มความสะดวก รวดเร็ว ี และปลอดภัย รวมทั้งต้นทุนในการผลิตก็ลดลง แทนการใช้แรงงานคน เมื่อเทคโนโลยีใหม่ๆถูกนามาใช้อย่างแพร่ หลาย ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตจากรู ปแบบหนึ่ง มาสู่อีกรู ปแบบหนึ่งที่แตกต่างไปจากเดิม ซึ่งการปรับตัวเองเข้าสู่วิถีชีวิตความเป็ นอยูแบบใหม่น้ ีไม่ใช่ของ ่ ง่าย ผูที่ประสบความล้มเหลวอาจกลายเป็ นคนยากจนที่มความเสื่อมทางด้านจิตใจและศีลธรรมที่จะนาไปสู่ ้ ี ปัญหาทางสังคมนานัปการได้และ การใช้เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์เพื่อการผลิตผลิตผลทางเศรษฐกิจจน เกินความจาเป็ น ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมธรรมชาติที่พอจะเหลือไว้ให้คนในรุ่ นหลังๆ ได้ดารงอยูอย่างราบรื่ นนั้นหมดสิ้นไปโดยไม่จาเป็ น ่
  • 14. Technology seeker, Innovation conscious 13 บริษัทApple, Inc. ประวัตบริษัทบริษัท แอปเปิ ล อิงค์ ิ จุดเริ่มต้นในปี 1976–1980 ผลิตภัณฑ์แรกของ Apple ถูกขายเป็ นแผงวงจรที่ประกอบและการขาดคุณสมบัติพ้นฐานเช่นแป้ นพิมพ์ ื จอภาพและกรณี ที่ เจ้าของของหน่วยนี้จะเพิ่มแป้ นพิมพ์และเป็ นกรณี ที่ทาด้วยไม้ บริ ษท Apple Computer Inc. ได้เกิดขึ้นจากการร่ วมกันก่อตั้งของ สตีฟ จ็อบส์ และ สตีฟ วอซเนี ยก ั ทาการปฏิวติธุรกิจคอมพิวเตอร์ ต้ งโต๊ะในยุค 70 โดยการนาเครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องแรกที่ประดิษฐ์จาก ั ั โรงรถออกมาขาย ในชื่อ Apple ที่ราคาจาหน่าย 666.66 เหรี ยญในจานวนและระยะเวลาจากัด ภายในปี ถัดมา ก็ได้ผลิตเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ทายอดจาหน่ ายสูงสุ ดให้กบบริ ษท ณ ขณะนั้นคือ Apple II ซึ่งเป็ นการเปิ ด ั ั ศักราชใหม่แห่งวงการไมโครคอมพิวเตอร์ และเป็ นการสร้างมาตรฐานให้กบไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เกิดมา ั
  • 15. Technology seeker, Innovation conscious 14 ตามหลังทั้งหมด (อย่างไรก็ดี ในช่วงเวลาดังกล่าว ทางบริ ษทจะมุ่งเน้นการขายระบบปฏิบติการมากกว่าที่จะ ั ั ขายผลิตภัณฑ์ไมโครคอมพิวเตอร์ เนื่องจากประสิ ท ธิภาพของผลิตภัณฑ์จากบริ ษท Intel และ IBM ทางาน ั ได้ดีกว่า) Apple Inc. เป็ นบริ ษทสัญชาติอเมริ กนที่ทาธุรกิจหลายแขนง ทั้งด้านอุปกรณ์อิเลคโทรนิกส์สาหรับ ั ั ผู้ บริ โภค, ซอฟต์แวร์ของคอมพิวเตอร์ และเครื่ องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยมีผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงอย่าง Macintosh ซึ่งมีหลายรุ่ นด้วยกัน, iPhone, iPod และ iPad โดยซอฟต์แวร์ที่ Apple พัฒนานั้น มี Mac OS X อันเป็ นซอฟต์แวร์ระบบปฏิบติการคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ดีที่สุด, iTunes ที่ใช้เล่นสื่ อต่างๆไม่ว่า จะเป็ น ั เพลง, รายการทีว,ี ภาพยนตร์ และล่าสุดจะรวมไปถึงในส่วนของหนังสือ ที่ใช้ร่วมกับ iPad, นอกจากนี้ ยังมี iLife อันเป็ นซอฟต์แวร์ที่ใช้สร้างและจัดการสื่อหลายๆประเภท เช่น เพลง ภาพยนตร์ รู ปภาพ เว็บไซต์ และ iWork ที่ใช้ในการทางานเอกสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นพรี เซนเทชัน, สื่อพิมพ์ และ ชาร์ต ตารางตัวเลข, ่ Aperture ที่ใช้แต่งภาพและจัดการไฟล์รูปภาพในระดับมืออาชีพ, Final Cut Studio ที่ใช้ตดต่อไฟล์งานวิดีโอ ั ในสตูดิโอชั้นนาทัวโลก, Logic Studio ที่ใช้ในการทาเพลงอย่างแพร่ หลายในสตูดิโอชั้นนาเช่นกัน ่ และล่าสุดได้มีการเปิ ดตัว iOS อันเป็ นระบบปฏิบติการที่ยอส่วนมาจาก MAC OS X เพื่อนามาใช้กบ ั ่ ั ผลิตภัณฑ์เคลื่อนที่ท้งหลาย ไม่ว่าจะเป็ น iPhone, iPod touch, iPad และนอกจากนี้ Apple, Inc. ยังได้มีร้านค้า ั อย่างเป็ นทางการของตนกว่า 301 สาขาใน 10 ประเทศ เพื่อตอบรับความต้องการของลูกค้าที่สนใจใน ผลิตภัณฑ์แอปเปิ้ ลอย่างแพร่ หลาย โดยที่สาคัญที่สุดยังมีการให้บริ การร้านค้าออนไลน์ที่ขายทั้งอุปกรณ์ ต่างๆ และซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่ เช่นกัน ก่อตั้งเมื่อ 1 เมษายน 1976 ใน Cupertino, California, และมีผร่วมถือหุนในวันที่ 3 มกราคม 1977 ู้ ้ บริ ษท ฯ ได้ต้งชื่อไว้ก่อนหน้านี้ Apple Computer, Inc. และมีการใช้ชื่อนี้มากว่า 30 ปี แต่ภายหลังได้ตดคา ั ั ั ว่า"Computer"ออกเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2007 เพื่อสะท้อนให้เห็น การขยายตัวต่อเนื่องของบริ ษท ที่กาวเข้าสู่ ั ้ ตลาดอิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่สาหรับผูบริ โภคนอกเหนือจากการมุ่งเน้นดั้งเดิมบนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ้ โดยเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2010 แอปเปิ้ ลมีจานวนพนักงานเต็มเวลา 46,600 คน และ 2,800 คนแบบชัวคราวมี ่ ยอดขายทัวโลกประจาปี ของ $ 65,230,000,000 เพื่อความเป็ นต่างๆเป็ นปรัชญาของการออกแบบที่ครบวงจร ่ เพื่อความสวยงามที่โดดเด่นของแคมเปญการโฆษณา, แอปเปิ้ ลได้มีชื่อเสียงโดดเด่นในอุตสาหกรรม เครื่ องใช้ไฟฟ้ า ซึ่งรวมถึงฐานลูกค้าที่อุทิศให้กบบริ ษท และตราสินค้าของตนโดยเฉพาะอย่างยิงในประเทศ ั ั ่ สหรัฐอเมริ กา นิตยสารฟอร์จูนมอบตาแหน่งแอปเปิ้ ลชื่นชมมากที่สุดของ บริ ษททั้งหมดในประเทศสหรัฐอเมริ กา ั ในปี 2008 และในโลกในปี 2008, 2009, และ 2010 บริ ษท ฯ ได้รับการวิจารณ์อย่างกว้างขวางทั้งสาหรับผูใช้ ั ้ แรงงานผูรับเหมา, สิ่งแวดล้อมและแนวทางการดาเนินธุรกิจ ้
  • 16. Technology seeker, Innovation conscious 15 Apple ถูกก่อตั้ง โดย Steve Jobs, Steve Wozniak และ Ronald Wayne, พวกเขาได้ขาย Apple I ชุด คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็ นเครื่ องแรก ที่สร้างขึ้นโดย Wozniak และแสดงครั้งแรกต่อประชาชนที่ Homebrew Computer Club โดยถูกขายเป็ นเมนบอร์ด (มี CPU, RAM, และชิฟแสดง ข้อความขั้นพื้นฐาน) ซึ่งถือว่าน้อยกว่าความเป็ นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่สมบูรณ์ในวันนี้ สิ่งที่ Apple ขายในเดือนกรกฎาคม 1976 และเป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีราคา $ 666.66 ($ 2,572 ในปี 2010 ดอลลาร์เมื่อปรับอัตราเงินเฟ้ อ) Apple ได้จดทะเบียน 3 มกราคม 1977 โดย Wayne นั้นไม่ร่วมบริ ษทอีกต่อไป, โดยหุนของ บริ ษท ั ้ ั นั้นกลับไปหา Jobs และ Wozniak เป็ นจานวน $ 800 เศรษฐีคนสาคัญที่มีชื่อว่า Mike Markkula ให้ความ เชี่ยวชาญทางธุรกิจที่สาคัญและเงินทุนของ $ 250,000 ในระหว่างการรวมตัวกันของแอปเปิ้ ล Apple ได้รับการแนะนาในวันที่ 16 เมษายน 1977 ที่แรกที่ West Coast Computer Fair มันแตกต่าง จากคู่แข่งรายใหญ่ ซึ่งในขณะนั้นคือ TRS - 80 และ Commodore PET เพราะมาพร้อมกับกราฟิ กสีและ สถาปัตยกรรมระบบปฏิบติการแบบเปิ ด ในขณะที่รุ่นแรกที่ใช้เทปคาสเซ็ทธรรมดาเป็ นอุปกรณ์จดเก็บข้อมูล ั ั พวกเขาถูกแทนที่โดยการแนะนาของ 5 1 / 4 นิ้วฟลอปปี้ ดิสก์ไดรฟ์ และอินเตอร์เฟซ, Disk Apple ได้รับ เลือกให้เป็ นแพลตฟอร์มเดสก์ทอปแบบแรกในโลก "app ตัวเด็ด" ของธุรกิจคอมพิวเตอร์โลก ด้วยโปรแกรม VisiCalc ที่ใช้ทาใบปลิวและเอกสารแบบง่ายๆ โดย VisiCalc สร้างตลาดธุรกิจสาหรับ Apple และให้ผใช้ทีู่้ บ้านด้วยเหตุผลเพิ่มเติมเพื่อซื้อความเข้ากันได้ของ Apple II กับสานักงาน ตาม Brian Bagnall ในตอนแรก Apple สร้างตัวเลขยอดขายที่พดเกินจริ งและมียอดขายเป็ นอันดับ 3 รองจาก Commodore และ Tandy จน ู VisiCalc ได้เปิ ดตัวและมาพร้อมกับ Apple II ยอดขายจึงสูงขึ้น ณ สิ้นปี 1970 แอปเปิ้ ลมีทีมงานของนักออกแบบคอมพิวเตอร์และสายการผลิตของตนเอง ในช่วง เดียวกันบริ ษทได้เปิ ดตัว Apple III ในเดือนพฤษภาคม 1980 ด้วยความพยายามที่จะแข่งขันกับไอบีเอ็มและ ั ไมโครซอฟท์ในตลาดคอมพิวเตอร์ธุรกิจและองค์กร แต่กลับประสบความล้มเหลว ต่อมา Jobs และพนักงานแอปเปิ้ ลหลายคน รวมทั้ง Jef Raskin เยียมชมบริ ษท Xerox PARC ใน ่ ั ธันวาคม 1979 เพื่อดู Xerox Alto ซีร็อกซ์ได้รับวิศวกรของแอปเปิ้ ลสามวันของการเข้าถึงสิ่งอานวยความ สะดวก PARC ตอบแทนสาหรับตัวเลือกในการซื้อ 100,000 หุนของแอปเปิ้ ลที่ราคา IPO ก่อน $ 10 หุน งาน ้ ้ เชื่อมันทันทีว่าคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องในอนาคตจะใช้อินเตอร์เฟซผูใช้แบบกราฟิ ก (GUI) และการพัฒนาของ ่ ้ GUI เริ่ มสาหรับแอปเปิ้ ลลิซ่า เมื่อแอปเปิ้ ลเข้าสู่ตลาดหุนจะสามารถสร้างทุนมากกว่า IPO ใด ๆ ตั้งแต่ฟอร์ดมอเตอร์ บริ ษท ในปี ้ ั 1956 และทันทีที่สร้างเศรษฐีมากขึ้น (ประมาณ 300) กว่า บริ ษท ใด ๆ ในประวัติศาสตร์ ั
  • 17. Technology seeker, Innovation conscious 16 1981–1985: Lisa และ แมคอินทอช ต่อมาเมื่อเข้ายุค 80s Steve Jobs ได้พฒนาคอมพิวเตอร์อีกรุ่ นในชื่อ Apple Lisa ในปี 1978 แต่แล้ว ั ในปี 1982 เขาได้ถกขับออกจากทีมพัฒนานี้ดวยเหตุทะเลาะวิวาทภายในทีม ทาให้ Steve ต้องไปทาโปร ู ้ เจกต์คอมพิวเตอร์ที่ต้งใจให้มราคาย่อมเยาอย่าง Macintosh ที่ Jef Raskin ได้เริ่ มทาเอาไว้ สงครามในบริ ษทที่ ั ี ั ต้องงัดข้อกันระหว่าง Jobs และมนุษย์ออฟฟิ ศเริ่ มปะทุข้ ึนเรื่ อยๆ ถกเถียงกันว่าผลิตภัณฑ์ไหนควรจะได้รับ การเปิ ดตัวก่อนกัน โดยกลายเป็ นว่า Lisa ได้รับการเลือกให้เปิ ดตัวออกมาก่อนในปี 1983 โดย Lisa ถือว่า เป็ นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเครื่ องแรกที่มาพร้อมกับ GUI แต่กลับล้มเหลวอย่างมาก ด้วยราคาขายปลีกที่สูง เกินไป จนลูกค้าซื้อไม่ได้ ครั้งแรกที่ แมคอินทอช เปิ ดตัวในปี 1984 ดังนั้นในปี ต่อมา 1984 ก็เป็ นคิวของการเปิ ดตัว Macintosh ที่คราวนี้ขอเปิ ดตัวอย่างยิงใหญ่ดวย ่ ้ โฆษณาทีวีทุนสร้างสูงมหาศาลเป็ นประวัติการณ์ดวยเงินจานวน 1.5 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ ในโฆษณาชื่อ ้ ‘1984’ ซึ่งได้รับการกากับโดย Ridley Scott มากากับหนังโฆษณาให้ ด้วยออกฉายในช่วงพักโฆษณาในงาน Super BOWL X V ในวันที่ 22 มกราคม 1984 โดยถือว่าโฆษณาดังกล่าวเป็ นงานชิ้นโบว์แดงของแอปเปิ้ ลที่ได้รับเสียงตอบรับอย่างล้นหลาม สร้าง ประกฎการณ์และภาพจาให้กบคนดูโทรทัศน์ในช่วงนั้นกับผลิตภัณฑ์ของแอปเปิ้ ล ที่เหมือนจะมากอบกู้ ั ผูบริ โภคจากคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบเดิมๆในยุคนั้น ซึ่ง IBM กาลังครองตลาดอยู่ ้ ในช่วงแรกนั้น Macintosh ขายได้ดีมาก สามารถสร้างเม็ดเงินให้บริ ษทเป็ นจานวนสูง แต่ต่อมา ั ยอดขายกลับตกลงมาเรื่ อยๆ สอดคล้องกับความนิยมในตัวเครื่ อง เนื่องด้วยราคานั้นสูงเกินไป อีกทั้ง ซอฟต์แวร์ที่จะมารองรับกลับมีอย่างจากัด แต่สถานการณ์กลับดีข้ ึนอีกครั้ง เมื่อมีการเปิ ดตัว LaserWriter อัน
  • 18. Technology seeker, Innovation conscious 17 เป็ นเครื่ องพิมพ์เลเซอร์ที่เปิ ดตัวด้วยราคาที่สมเหตุสมผล และ PageMaker ที่เป็ นซอฟต์แวร์เกี่ยวกับสิ่งพิมพ์ เป็ นซอฟต์แวร์แรกๆ หลังจากนี้ Macintosh กลายเป็ นพระเอกในท้องตลาดเลยทีเดียว เนื่องด้วย ความสามารถด้านกราฟิ กที่สูงกว่าคนอื่นอย่างเห็นได้ชด เพราะมีการนาเอา Macintosh GUI ที่โดดเด่นที่สุด ั ในตลาดมาใช้ ดังนั้นการที่จบเอาผลิตภัณฑ์ท้งสามแบบข้างต้นนี้มารวมเข้าด้วยกันแล้ว สามารถทาให้ ั ั Macintosh ตีตลาดผูที่ตองการคอมพิวเตอร์ที่จะนามาทาสื่อสิ่งพิมพ์ได้เป็ นอย่างดี ้ ้ ต่อมาในปี 1985 สถานการณ์ในบริ ษทกลับตึงเครี ยดมากขึ้น เมื่อความผิดใจแบบลึกๆระหว่าง Jobs ั และ John Sculley ผูที่เป็ น CEO ของ Apple ในขณะนั้น กลับชัดเจนขึ้นเรื่ อยๆ ด้วยความที่บอร์ดผูบริ หาร ้ ้ ของ Apple พยายามจะจากัดสิทธิ์เสียงของ Jobs ในบริ ษท อีกทั้งยังมอบหมายงานใหญ่ๆให้ Sculley เป็ นคน ั ตัดสินแทน ทาให้ Jobs รู้สึกอึดอัดมาก หลายครั้งที่เขาพยายามนัดประชุมบอร์ดผูบริ หารโดยที่ไม่มี Sculley ้ ทาให้สุดท้ายแล้ว Jobs ถูกไล่ออกจากบริ ษทที่เขาเป็ นคนสร้างมันขึ้นมากับมือ ทาให้เขาต้องออกไปเปิ ด ั บริ ษท NeXT Inc. ในปี เดียวกัน ั 1986–1993 ช่ วงรุ่งโรจน์ และโรยรา แมคอินทอชแบบพกพา แอปเปิ้ ลเป็ นครั้งแรกที่คอมพิวเตอร์ แมคอินทอชแบบพกพา เปิ ดตัวในปี 1989 ปี 1991 หลังจากการลาออกของ Jobs ก็ถือเป็ นอีกช่วงที่สาคัญของ Apple ด้วยความที่ Apple ได้ เรี ยนรู้ถึงความผิดพลาดของ Macintosh Portable ที่เปิ ดตัวในปี 1989 ด้วยความที่ตวเครื่ องมีขนาดใหญ่ ั เกินไป รวมไปถึงสมรรถนะตัวเครื่ องที่ต่ากว่าที่ลกค้าคาดหวัง ทาให้ยอดขายตกต่า ไม่เดินเลย ดังนั้นในปี ู 1991 Apple จึงได้เปิ ดตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์พกพาสมัยใหม่เครื่ องแรกของโลกในชื่อ PowerBook ซึ่งถือว่า เป็ นต้นตระกูลของคอมพิวเตอร์แล็ปทอปในปัจจุบน ั
  • 19. Technology seeker, Innovation conscious 18 ส่วนตัว Macintosh Portable ออกแบบมาให้มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับ Macintosh แต่กลับมีน้ าหนักที่ สูงจนเกินไป และมีแบตเตอรี่ ที่ใช้งานได้ 12 ชม. ในปี เดียวกัน Apple เปิ ดตัว System 7 ซึ่งเป็ นการอัพเกรด ระบบปฏิบติการของ Apple ครั้งยิงใหญ่อีกครั้งหนึ่ง ด้วยการเพิ่มอินเตอร์เฟซแบบสี และเปิ ดตัวคุณสมบัติ ั ่ การเชื่อมต่อแบบใหม่ลาสุดในยุคนั้น โดย System 7 ถือว่าเป็ นอีกหนึ่งฐานรากของ Mac OS X อันโด่งดังใน ่ ปัจจุบนเลยทีเดียว ั การเปิ ดตัว PowerBook นั้นถือได้ว่าประสบความสาเร็ จและสามารถสร้างเม็ดเงินเข้าบริ ษทได้อย่าง ั มาก เรี ยกได้ว่าช่วงปี 1990-1991 นั้นเป็ นช่วงขาขึ้นของบริ ษทเลยก็วาได้ โดยหนังสือนิตยสาร MacAddict ั ่ นั้นขนานนามช่วงนี้ว่าเป็ น The Golden Age ของ Apple เลยทีเดียว โดยนอกจาก PowerBook แล้ว ยังมีอีกผลิตภัณฑ์หนึ่งที่ประสบความสาเร็ จไม่แพ้กน คือ Macintosh ั LC ที่ Apple ก็ไม่รอช้า ส่ง Centris ผลิตภัณฑ์อีกหนึ่งชนิดออกมาสานต่อความสาเร็ จทันที นอกจากนี้ยงมี ั Quadra อันเป็ นคอมพิวเตอร์ราคาย่อมเยา เบาๆ สาหรับผูใช้งบน้อย และ Performa ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นตามมา ้ กลายเป็ น ความงงงวยของผูบริ โภค ที่แยกผลิตภัณฑ์ท้งหมดไม่ออกว่าตาแหน่งทางการตลาดของแต่ละตัว ้ ั นั้นอยูที่ตรงไหนด้วยความที่ความสามารถของแต่ละตัว และราคา กลับไม่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชด แทนที่ ่ ั ผลิตภัณฑ์เหล่านี้จะช่วยสร้างฐานกลุ่มลูกค้าให้กว้างมากขึ้น ทาให้เกิดความสับสน และความไม่เข้าใจว่า ผลิตภัณฑ์เหล่านี้จะผลิตขึ้นมาทาไม ในช่วงเวลานี้เองที่ Apple ได้ลองผิดลองถูกกับผลิตภัณฑ์หลายๆชนิด ไม่ว่าจะเป็ นกล้องถ่ายรู ป ดิจิตอล, เครื่ องเสียง ไม่ว่าจะเป็ นเครื่ องเล่น CD หรื อ ลาโพง, เครื่ องเล่นวิดิโอเกม, หรื อ TV Set Top Box ซึ่ง ล้วนแต่ประสบความล้มเหลวโดยสิ้นเชิง ด้วยความที่ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ ไม่สามารถตอบโจทย์ลกค้าได้จริ ง ู และเป็ นเพียงการนาเอาสินค้ายีหออื่นมาเปลี่ยนตราเป็ น Apple ่ ้ นอกจากสินค้าอื่นๆข้างต้นแล้ว Apple ยังเปิ ดตัวผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ของโลกในชื่อ Newton ที่ เป็ นต้นแบบของ PDA หรื อ Personal Digital Assistance ในเวลาต่อมา แต่นนก็ดูเหมือนจะไม่ได้ช่วยอะไร ั่ ให้กบบริ ษทเลย เนื่องจากเป็ นช่วงเวลาที่ราคาหุนและส่วนแบ่งตลาดของ Apple ถดถอยลงไปทุกที ั ั ้ การที่ Apple จะพยายามพลิกสถานการณ์อนยาแย่น้ น ดูเหมือนจะทาได้ยากเหลือเกิน การที่ Apple II ั ่ ั นั้นมีราคาสูงเกินไปสาหรับผูบริ โภค Apple จึงจัดการเปิ ดตัว Macintosh LC อันเป็ นอีกโมเดลหนึ่งของ ้ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลราคาย่อมเยา โดยมีคุณสมบัติช่องขยายเดียวสาหรับ Apple IIe Card โดยเป็ นการที่ ถือได้ว่า พยายามนาเอาประสิทธิภาพที่สูงกว่าของ Apple II มาให้กบผูใช้ Macintosh แต่อย่างไรก็ตาม Apple ั ้ เลิกผลิตและจาหน่าย Apple ในปี 1993
  • 20. Technology seeker, Innovation conscious 19 สถานการณ์ในช่วงนี้ กลับกลายเป็ นยาแย่อย่างที่ไม่มีใครเคยคาดคิด ด้วย Windows ที่กาลังแซงหน้า ่ Apple แบบทิ้งห่าง เพราะชูจุดเด่นเรื่ องราคาที่ถกกว่า Apple อย่างเห็นได้ชด ในขณะที่ Apple เอง พยายามจะ ู ั สร้างคอมพิวเตอร์ที่มีคุณสมบัติที่ยอดเยียมและประสิทธิภาพที่ดีกว่า แต่กลายเป็ นว่า ราคาขายปลีกนั้นสูง ่ เกินไปที่ผใช้ส่วนใหญ่จะเข้าถึง นอกจากสถานการณ์การเงินของบริ ษทจะเข้าขั้นตกต่าแล้ว Apple ยังได้ไป ู้ ั ฟ้ องร้อง Microsoft ในกรณี ที่ลอกเลียนกราฟิ กอินเตอร์เฟซใน Windows โดยการฟ้ องร้องนี้ดาเนินไปอย่าง ยาวนานนับปี สุดท้ายแล้ว Apple ก็ประสบความล้มเหลวในทุกๆด้าน จน Sculley ต้องลาออกไป แล้ว มอบหมายให้ Michael Spindler มารับหน้าที่ในตาแหน่ง CEO แทนเขาเอง 1994–1997 พยายามที่จะลองผิดลองถูก นิวตัน การโจมตีครั้งแรกของ Apple ใน PDA คือตลาดเป็ นหนึ่งในครั้งแรกในอุตสาหกรรม แม้จะเป็ นอัน เป็ นไปทางการเงินได้ตลอดเวลาของการปล่อยของมันช่วยปูทางสาหรับการที่ Palm Pilot และ Apple ของ ตัวเอง iPhone และ iPad ในอนาคต ในช่วงต่อไปนี้ อันเป็ นปี 1994-1997 Apple ได้พฒนาแพลตฟอร์มระบบปฏิบติการอื่นๆที่ต่อยอดมา ั ั จาก Macintosh เช่น A/UX นอกจากนี้ยงได้ทดลองเปิ ดตัวโลกออนไลน์สาหรับ Macintosh โดยเฉพาะในชื่อ ั eWorld ซึ่งได้พฒนาร่ วมกับ America Online และถูกออกแบบมาให้เป็ นมิตรกับเครื่ อง Macintosh ทุกเครื่ อง ั เป็ นอีกหนึ่งทางเลือกสาหรับผูใช้ Macintosh ที่ไม่ตองการใช้ CompuServe ในการออนไลน์และท่อง ้ ้ เว็บไซต์ แต่อย่างไรก็ตาม กลายเป็ นว่า Macintosh นั้นล้าสมัยในช่วงเวลานั้นไปเสียแล้ว เนื่องจากไม่ได้ถก ู ออกแบบมาให้ทาหลายๆโปรแกรมได้ในเวลาเดียวกัน หรื อ Multitasking และซอฟต์แวร์สาคัญๆบาง ซอฟต์แวร์ยงถูกกรอบบังคับให้ใช้ได้เฉพาะบางรุ่ นอีกต่างหาก ทาให้นนเป็ นข้อบังคับจนเกินไป แน่นอนว่า ั ั่ Apple ต้องการแพลทฟอร์มใหม่สาหรับ Macintosh แล้ว เพื่อที่จะได้แข่งกับ Sun Microsystems และผูผลิต/ ้ พัฒนา OS/2 และ UNIX อื่นๆได้อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยเสียที