SlideShare a Scribd company logo
1 of 85
หน่วยที่ 7
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
7.1 การจัดการกับไฟล์ (File Management)
ไฟล์ (File) เป็นหน่วยในการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะเก็บ
อยู่ในสื่อเก็บบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น ฟล็อปปี้ดิสก์ , ฮาร์ดดิสก์ หรือ
ซีดีรอม เป็นต้น และจะอ้างอิงถึงได้โดยระบุชื่อไฟล์และส่วนขยายตาม
กติกา
ชื่อไฟล์ (file name) ในระบบปฏิบัติการยุคแรก ๆ นั้น ชื่อไฟล์ตั้ง
ได้ไม่เกิน 8 อักขระเท่านั้น แต่การใช้งานกับระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ ๆ
เช่น Windows สามารถตั้งชื่อไฟล์ได้มากถึง 256 อักขระ
โดยมากจะนิยมตั้งชื่อโดยไม่ให้มีช่องว่าง(blank) ระหว่างชื่อไฟล์
หากจาเป็นต้องมีจะใช้เครื่องหมายขีดล่างแทนเช่น
computer_list, business_sheet,
marketing_profile เป็นต้น
ส่วนขยาย (extensions) เป็นส่วนที่ช่วยให้
ระบบปฏิบัติการเข้าใจรูปแบบหรือชนิดของไฟล์ได้ง่ายมากยิ่งขึ้น
ประกอบด้วยอักขระประมาณ 3-4 ตัว เขียนเพิ่มต่อจากชื่อไฟล์
คั่นด้วยเครื่องหมายจุด(.) เทียบได้กับ “นามสกุลของไฟล์”
บางระบบปฏิบัติการ เช่น Windows XP จะซ่อนส่วน
ขยายนี้ไว้ ถ้าจะดูต้องไปตั้งการทางานเพิ่ม
โดยทั่วไปไฟล์จะมีชื่อซ้ากันได้ถ้าคนละส่วนขยาย แต่จะซ้าทั้ง
สองอย่างไม่ได้ เช่นเดียวกับคนซึ่งไม่ควรมีทั้งชื่อและนามสกุล
ซ้ากัน
ตัวอย่าง
index.htm
ไฟล์ที่เรียกชื่อว่า index ซึ่งเป็นกลุ่มชนิดไฟล์ที่เขียนขึ้นด้วยภาษา HTML
เพื่อนาไปใช้กับการแสดงผลบนอินเทอร์เน็ต
Computer.doc
ไฟล์ที่เรียกชื่อว่า computer เป็นไฟล์ที่สร้างจากโปรแกรม Microsoft
Word ซึ่งจะแสดงผลลัพธ์ออกมาในรูปของเอกสาร (document)
Introduction.ppt
ไฟล์ที่เรียกชื่อว่า introduction เป็นไฟล์ที่สร้างจากโปรแกรมนาเสนองาน
ที่ชื่อว่า Microsoft PowerPoint ซึ่งแสดงผลลัพธ์ออกมาเป็น
เอกสารหรือสไลด์เพื่อการนาเสนองานโดยเฉพาะ
7.2 ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูล คือข้อเท็จจริงที่มีการรวบรวมไว้และมีความหมาย
อาจเกี่ยวข้องกับคน สิ่งของ หรือเหตุการณ์อื่น ๆ ในการ
ประมวลผลของคอมพิวเตอร์ นิยมใช้เป็นส่วนนาเข้าพื้นฐาน
เพื่อให้ได้สารสนเทศสาหรับการช่วยตัดสินใจและนาเอาไปใช้
ประโยชน์อื่น ๆ อีกได้ตามต้องการ
ข้อมูลที่ถูกจัดเรียงใหม่ให้น่าใช้ขึ้นกว่าเดิม
รายการสินค้าที่สั่ง
วันที่สั่ง จานวนที่สั่ง ราคา/หน่วย (บาท)
11/08/46 5 50.00
05/11/46 20 25.00
20/01/47 10 5.00
12/05/47 3 150.00
29/06/47 8 75.00
30/09/47 13 15.00
05/10/47 22 250.00
110846 5 50 00
051146 20 25 00
200147 10 5 00
120547 3 150 00
290647 8 75 00
300947 13 15 00
051047 22 250 00
7.3 แหล่งข้อมูล
ข้อมูลถือได้ว่าเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สาคัญสาหรับการ
ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ในยุคโลกาภิวัตน์
(globalization) ที่การติดต่อสื่อสารแบบไร้พรมแดน
เกิดขึ้นอย่างมากมาย ทาให้ข้อมูลถูกเผยแพร่และกระจายการใช้
งานกันได้อย่างทั่วถึง โดยปกติแล้วข้อมูลสาหรับการนามา
ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ มาจากแหล่งที่มา 2 ประเภท
ด้วยกันคือ แหล่งข้อมูลภายใน และ แหล่งข้อมูลภายนอก
แหล่งข้อมูลภายใน
เป็นแหล่งกาเนิดของข้อมูลที่อยู่ภายในองค์การทั่วไป ข้อมูลที่ได้มา
นั้นอาจมาจากพนักงานหรือมีอยู่แล้วในองค์กรเช่น ยอดขายประจาปี
ข้อมูลผู้ถือหุ้น รายงานกาไรขาดทุน รายชื่อพนักงานข้อมูลเหล่านี้จะให้
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริงต่าง ๆภายในองค์กรแต่เพียงอย่างเดียว
อาจเป็นข้อมูลที่เปิดเผยให้กับบุคคลภายนอกทราบหรือไม่ก็ได้
หากข้อมูลนั้นเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานหลักขององค์กร
และมีความสาคัญมาก เช่น ข้อมูลผลิตภัณฑ์ที่จะออกสู่ตลาดใหม่
ข้อมูลการทดลองการแปรรูปสินค้า หน่วยงานนั้นอาจมีการปกปิดไว้เพื่อ
ป้องกันการรั่วไหลของข้อมูลได้
แหล่งข้อมูลภายนอก
เป็นแหล่งกาเนิดข้อมูลที่มีอยู่ภายนอกองค์กร โดยทั่วไปแล้วสามารถนา
ข้อมูลต่าง ๆ เหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ในองค์กรหรือนามาใช้กับการ
ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ระบบงานที่สมบูรณ์ขึ้นได้
ข้อมูลเหล่านี้ เช่น ข้อมูลลูกค้า เจ้าหนี้ อัตราดอกเบี้ยสถาบันการเงิน
กฎหมายและอัตราภาษีของรัฐบาล หรืออาจรวมถึงข้อมูลบริษัทคู่แข่ง
ด้วย ซึ่งไม่ใช่ข้อมูลที่มีอยู่ภายในบริษัทหรือองค์กรแต่อย่างใด
เราสามารถหาข้อมูลจากแหล่งภายนอกนี้ได้จากบริษัทผู้ให้บริการข้อมูล
หรือจากหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ หรือสื่ออื่น ๆ ได้ทั่วไป
7.4 คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
ข้อมูลที่จะนามาใช้ประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการนั้น
อาจได้มาจากทั้งแหล่งข้อมูลภายในหรือภายนอกองค์กร ซึ่งหาก
ได้ข้อมูลที่ดีย่อมหมายถึง ความได้เปรียบในการดาเนินการตาม
ไปด้วย ซึ่งจาเป็นต้องมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน ดังนี้
ความถูกต้อง (Accuracy)
ข้อมูลที่ดีต้องมีความถูกต้องเพื่อให้สามารถนาเอาไปใช้ประโยชน์ได้
ข้อมูลที่ไม่เป็นจริงและมีความคลาดเคลื่อนอยู่มาก อาจก่อให้เกิดความ
เสียหายต่อการเอาข้อมูลนั้นไปใช้ได้ต่ออีกได้ การคัดเลือกข้อมูลที่
นามาใช้จึงต้องพิจารณาประเด็นนี้ประกอบด้วย เพราะการประมวลผล
ด้วยคอมพิวเตอร์จะประมวลผลตามกระบวนการป้อนข้อมูลเข้า เมื่อใดที่
ป้อนข้อมูลเข้ามาแบบผิด ๆ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลก็จะผิดตาม
ไปด้วยเหมือนสานวนที่ว่า
“ใส่ขยะเข้าไปก็จะได้ขยะกลับออกมา”
หรือ “Garbage In Garbage Out (GIGO)”
มีความเป็นปัจจุบัน (Update)
ข้อมูลที่ดีจาเป็นต้องมีการปรับปรุงแก้ไขให้มีความเป็นปัจจุบัน
อยู่เสมอเนื่องจากปกติข้อมูลจะมีลักษณะคงที่ เว้นแต่ว่าจะมีผู้มา
แก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลนั้นเสียใหม่ อีกทั้งเหตุการณ์ต่าง ๆ
มักเกิดขึ้นใหม่อยู่ตลอดเวลา ข้อมูลเกี่ยวกับจานวนประชากรผู้มี
สิทธิ์เลือกตั้งในสมัยก่อนอาจไม่นามาใช้เป็นข้อมูลเพื่อ
ประกอบการวางแผนการเลือกตั้งในยุคสมัยปัจจุบันได้
ดังนั้นจาเป็นต้องมีการปรับใหม่ให้เป็นปัจจุบันมากขึ้น หาก
ล้าสมัยหรือไม่มีการปรับปรุงใด ๆ การนาไปใช้ประโยชน์ก็จะได้
ผลลัพธ์ที่คลาดเคลื่อนหรือเกิดความผิดพลาดได้
ตรงตามความต้องการ (Relevance)
ควรมีการสารวจเกี่ยวกับขอบเขตของข้อมูลที่จะนามาใช้ให้
สอดคล้องและตรงกับความต้องการของหน่วยงานให้มากที่สุด
ข้อมูลนั้นถึงแม้จะถูกต้องมากแค่ไหน แต่หากไม่สอดคล้องกับ
ความต้องการ ก็ไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์หรือช่วยในการ
ตัดสินใจใด ๆ ได้
ความสมบูรณ์ (Complete)
การนาเอาข้อมูลมาใช้ประโยชน์นั้นจะต้องมีความสมบูรณ์ของข้อมูล
มากพอ จึงจะทาให้การนาเอาไปใช้นั้นเกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ การเก็บ
รวบรวมข้อมูลสามารถทาได้มากกว่าหนึ่งครั้งเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์
จริง ๆ เช่น การเก็บข้อมูลเชิงสถิติ หรือวัดค่าเฉลี่ย อาจต้องเก็บรวบรวม
ข้อมูลโดยการกรอกแบบสอบถามรอบแรก เรียกว่าข้อมูลปฐมภูมิ
(primary data) จากนั้นจึงเอามาหาค่าที่ต้องการจริง ๆ เรียกว่า
ข้อมูลทุติยภูมิ(secondary data) จึงนาไปใช้ประโยชน์ต่อ
อีกได้
ตรวจสอบได้ (Verifiable)
ข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบันอาจหามาได้จากแหล่งข้อมูลหลายแหล่ง
ด้วยกัน ซึ่งอาจมีทั้งข้อมูลที่เชื่อถือได้ หรือข้อมูลซึ่งเป็นกลลวง
ของคู่แข่งขัน ดังนั้นหากต้องการนามาประมวลผลจึงควรเลือก
ข้อมูลที่สามารถตรวจสอบแหล่งที่มา หรือแหล่งที่มีหลักฐาน
อ้างอิงต่าง ๆ ได้ เพื่อป้องกันข้อมูลที่ไม่เกิดประโยชน์และอาจนา
ผลเสียหายมาให้นั่นเอง
7.5 การแบ่งลาดับชั้นของการจัดการข้อมูล
(Hierarchy of Data)
โครงสร้างข้อมูลมีรูปแบบเป็นลาดับชั้นโดยเริ่มด้วยหน่วยที่เล็ก
ที่สุดคือ บิต(Bit) ไบต์ (Byte) เขตข้อมูล (Field)
ระเบียนข้อมูล (Record) และไฟล์ (File)
ในการจัดการข้อมูล จะมีการจัดแบ่งข้อมูลออกมาเป็นลาดับชั้น
เพื่อง่ายต่อการเรียกใช้และประมวลผล ซึ่งอธิบายเกี่ยวกับลาดับ
ชั้นข้อมูลพื้นฐาน ดังนี้
ลาดับชั้นของการจัดการข้อมูล
บิต (Bit – Binary Digit)
เป็นลาดับชั้นของหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด ข้อมูลที่จะทางานร่วมกับ
คอมพิวเตอร์ได้นั้นจะต้องเอามาแปลงให้อยู่ในรูปของเลขฐานสอง
เสียก่อน คอมพิวเตอร์ถึงจะเข้าใจและทางานตามที่ต้องการได้
เมื่อแปลงแล้วจะได้ตัวเลขแทนสถานะเปิดและปิดของสัญญาณไฟฟ้าที่
เรียกว่า บิต เพียง 2 ค่าเท่านั้นคือ บิต 0 และ บิต 1
ไบต์ (Byte)
เมื่อนาบิตมารวมกันหลาย ๆ บิต จะได้หน่วยข้อมูลกลุ่มใหม่ที่เรียกว่า
ไบต์ (Byte) ซึ่งจานวนของบิตที่ได้ในแต่ละกลุ่มอาจมีมากหรือน้อย
บ้าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของรหัสที่ใช้เก็บ แต่โดยปกติกับการใช้งานใน
รหัสแอสกี (ASCII) ทั่วไปจะได้กลุ่มของบิตจานวน 8 บิตด้วยกัน
ซึ่งนิยมนามาแทนเป็นรหัสของตัวอักษร บางครั้งจึงนิยมเรียก
ข้อมูล 1ไบต์ว่าเป็น 1 ตัวอักษร
ฟิลด์ หรือขอบเขตของข้อมูล (Field)
ประกอบด้วยกลุ่มของตัวอักษรหรือไบต์ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปมาประกอบ
กันเป็นหน่วยข้อมูลที่ใหญ่ขึ้นแล้วแสดงลักษณะหรือความหมายอย่างใด
อย่างหนึ่ง
ตัวอย่างเขตข้อมูลเกี่ยวกับพนักงาน เช่น
รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล เงินเดือน ตาแหน่ง เป็นต้น
เรคอร์ด (Record)
เป็นกลุ่มของเขตข้อมูลหรือฟิลด์ที่มีความสัมพันธ์กัน และนามาจัดเก็บ
รวมกันเป็นหน่วยใหม่ที่ใหญ่ขึ้นเพียงหน่วยเดียว ปกติในการจัดการ
ข้อมูลใดมักประกอบด้วยเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาด
ของข้อมูลเป็นหลัก
ไฟล์ หรือแฟ้มตารางข้อมูล (File)
ไฟล์ หรือแฟ้มตารางข้อมูล เป็นการนาเอาข้อมูลทั้งหมดหลาย ๆ เรคอร์ด
ที่ต้องการจัดเก็บมาเรียงอยู่ในรูปแบบของแฟ้มตารางข้อมูลเดียวกัน เช่น
แฟ้มตารางข้อมูลเกี่ยวกับคะแนนนักศึกษาวิชาคอมพิวเตอร์
อาจประกอบด้วยเรคอร์ดของนักศึกษาหลาย ๆ คนที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับ
รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล และคะแนนที่ได้เป็นต้น
แฟ้มตารางข้อมูลคะแนนนักศึกษาวิชาคอมพิวเตอร์
ฟิลด์ใด ๆ ที่ไม่มีข้อมูลซ้ากันเลย เราเรียกว่า คีย์ฟิลด์
(key field) ซึ่งจะใช้เป็นตัวอ้างอิงแต่ละเรคอร์ด
จากตัวอย่างข้อมูลในตารางดังกล่าว
ดังนั้นเพื่อให้ง่ายต่อการจัดการข้อมูลที่ต้องการนาเอาแฟ้มมาจัดเก็บ
ไว้อยู่ในที่เดียวกัน จึงควรกาหนดให้มีคีย์ฟีลด์ดังกล่าวไว้ด้วย
เพื่ออ้างอิงหรือระบุข้อมูลให้เรียกใช้ได้โดยง่าย สะดวกและมี
ประสิทธิภาพมากขึ้นนั่นเอง มีคีย์ฟิลด์คือ รหัสนักศึกษา ซึ่งไม่มี
ข้อมูลซ้ากันเลย
7.6 ฐานข้อมูล (Database)
ฐานข้อมูลเกิดจากการรวบรวมเอาแฟ้มตารางข้อมูลหลาย ๆ แฟ้ม
ที่มีความสัมพันธ์กันนั้นมาเก็บรวมกันไว้ที่เดียว โดยจะมีการเก็บ
คาอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างฐานข้อมูลหรือที่เรียกว่า
พจนานุกรมข้อมูล(data dictionary) ซึ่งจะใช้
อธิบายลักษณะของข้อมูลที่เก็บไว้ เป็นต้นว่าโครงสร้างของแต่
ละตารางเป็นอย่างไร ประกอบด้วยฟิลด์อะไรบ้าง คุณลักษณะ
ของแต่ละฟิลด์และความสัมพันธ์ของแต่ละแฟ้มเป็นอย่างไร ซึ่ง
ข้อมูลเหล่านี้ถือว่ามีความจาเป็นมากและจะถูกเรียกใช้ในระหว่าง
ที่มีการประมวลผลฐานข้อมูล
แสดงตัวอย่างโครงสร้างของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลแบบเชิงสหสัมพันธ์
(Relational Database)
เป็นการเก็บข้อมูลไว้ในลักษณะของตาราง2 มิติ (Table)
โดยแบ่งเป็นแถว (Row แทน Record) และ คอลัมน์
(Column แทนฟิลด์หรือ Attribute) ฐานข้อมูลเชิง
สหสัมพันธ์จึงประกอบไปด้วยกลุ่มของตารางข้อมูลหลายตาราง แต่ละ
ตารางมีความสัมพันธ์กันด้วยAttribute ใด Attribute หนึ่ง
จึงเรียกข้อมูลแต่ละตารางว่า“Relation” หรือ “Table” เช่น
Table “ลูกค้า” , “สั่งซื้อสินค้า” เป็น Table ข้อมูลที่มี
ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันในกระบวนการสั่งซื้อสินค้า เป็นต้น
ฐานข้อมูลแบบเชิงสหสัมพันธ์
(Relational Database)
ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
(Object-Oriented Database)
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะจัดเก็บเฉพาะข้อมูลไว้ในฐานข้อมูล
ส่วนชุดคาสั่งที่ใช้ในการดาเนินการกับฐานข้อมูลจะจัดเก็บไว้ใน
ซอฟต์แวร์ DBMS แยกต่างหาก แต่มีฐานข้อมูลชนิดหนึ่งที่จัดเก็บ
ทั้งข้อมูลและชุดคาสั่งไว้ด้วยกัน ซึ่งการรวมข้อมูลและคาสั่งไว้ในการ
ดาเนินการใด ๆ เข้าด้วยกัน จะเรียกสิ่งนั้นว่า “วัตถุ (Object)” และ
ฐานข้อมูลที่จะนามาจัดการกับObject ก็จะถูกเรียกว่า
“ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (Object – oriented Database)”
รูปแสดง Object ในฐานข้อมูล
สาหรับซอฟต์แวร์ระบบการจัดการฐานข้อมูลชนิดนี้จะเรียกว่า
“OODBMS” ถึงแม้ว่าฐานข้อมูลชนิดนี้จะมีประสิทธิภาพในการ
จัดเก็บและจัดการ แต่ก็พบว่ายังไม่มีการนามาใช้งานอย่างแพร่หลาย
เท่ากับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ที่พบก็เพียงการนาแนวคิดเชิงวัตถุมา
ผสมผสานการทางานกับแนวคิดฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ จึงเรียก
ฐานข้อมูลชนิดนี้ว่า “Object-relational Database”
ที่ผู้ดูแลฐานข้อมูลสามารถใช้ภาษาระบบจัดการฐานข้อมูลชนิดเดียวกับที่
ใช้กับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ได้ ดังนั้นจึงสามารถจัดหาDBMS ได้
เช่นเดียวกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เช่น Oracle , DB2 ,
SyBase เป็นต้น
ฐานข้อมูลมักเกี่ยวข้องกับการดารงชีวิตประจาวันของเรา
ยกตัวอย่างเช่น
ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ จัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวกับประชากรใน
ประเทศไทยทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลการเกิด การตาย
การย้ายหรือเปลี่ยนแปลงที่อยู่ รวมถึงข้อมูลอื่นๆ เช่น
ข้อมูลคู่สมรส บุตร เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้จะถูกจัดเก็บไว้ใน
หน่วยงานกลาง เช่น กระทรวงมหาดไทย เพื่อให้ผู้ที่ต้องการใช้
ข้อมูลสามารถเรียกใช้ได้โดยง่าย หากไม่มีการจัดเก็บข้อมูลที่
เกี่ยวข้องกันนี้รวมเป็นฐานข้อมูล การเรียกใช้ก็อาจทาได้ไม่ง่าย
นัก เพราะข้อมูลจะมีอยู่กระจัดกระจายไปทั่วประเทศ
7.7 การจัดการโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล
(File Organization)
โดยปกติแฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจาสารอง
(secondary storage) เช่น ฮาร์ดดิสก์ เนื่องจากมี
ความจุข้อมูลสูง และสามารถเก็บได้ถาวรแม้จะปิดเครื่องไป การ
จัดเก็บจะต้องมีวิธีกาหนดโครงสร้าง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้
การจัดเก็บและเข้าถึงข้อมูลมีความรวดเร็ว ถูกต้อง และ
เหมาะสมกับความต้องการ การเข้าถึงและค้นคืนข้อมูลจะอาศัย
คีย์ฟิลด์ในการเรียกค้นด้วยเสมอ การจัดโครงสร้างข้อมูลอาจ
แบ่งได้ 3 ลักษณะ คือ
7.7.1 โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลาดับ
(Sequential File Structure)
เป็นโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดพื้นฐานที่สามารถใช้งานได้ง่ายที่สุด
เนื่องจากมีลักษณะการจัดเก็บข้อมูลแบบเรียงลาดับเรคอร์ดต่อเนื่องไป
เรื่อยๆ การอ่านหรือค้นคืนข้อมูลจะข้ามลาดับไปอ่านตรงตาแหน่งใดๆ ที่
ต้องการโดยตรงไม่ได้ เมื่อต้องการอ่านข้อมูลที่เรคอร์ดใด ๆ โปรแกรมจะ
เริ่มอ่านตั้งแต่เรคอร์ดแรกไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะพบเรคอร์ดที่ต้องการ ก็จะ
เรียกค้นคืนเรคอร์ดนั้นขึ้นมา
แฟ้มข้อมูลแบบเรียงลาดับ
7.7.2 โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
(Direct/Random File Structure)
เป็นลักษณะของโครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่เข้าได้โดยตรง เมื่อต้องการอ่าน
ค่าเรคอร์ดใด ๆ สามารถทาการเลือกหรืออ่านค่านั้นได้ทันที
ไม่จาเป็นต้องผ่านเรคอร์ดแรก ๆ เหมือนกับแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลาดับ
ซึ่งทาให้การเข้าถึงข้อมูลทาได้รวดเร็วกว่า ปกติจะมีการจัดเก็บในสื่อที่มี
ลักษณะการเข้าถึงได้โดยตรงประเภทจานแม่เหล็ก เช่น ดิสเก็ตต์
ฮาร์ดดิสก์ หรือ CD-ROM เป็นต้น โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบ
สุ่ม แบ่งตามลักษณะการทางานออกได้เป็น2 ประเภทคือ
แบบแฮชไฟล์ (Hash File)
เป็นลักษณะโครงสร้างที่มีการเข้าถึงแบบสุ่มซึ่งอาศัยอัลกอริทึมที่เรียกว่า
แฮชชิ่ง (hashing) ในการคานวณหาค่าคีย์ฟิลด์ให้เป็นตาแหน่งที่
ใช้จัดเก็บข้อมูล ในบางกรณีที่ข้อมูลมีปริมาณมาก ๆ ผลลัพธ์จากการ
แปลงค่าตาแหน่งผ่านอัลกอริทึมแบบแฮชชิ่งนี้อาจเกิดการชนกัน
(collision) ได้ คือแปลงตาแหน่งแล้วไปตกที่เดียวกัน ซึ่งก็ต้องมี
การกาหนดอัลกอริทึมนี้ในการแก้ไขต่อไป เพื่อให้สามารถแบ่งแยกข้อมูล
ได้ว่า ตาแหน่งจริง ๆ แล้วคือตาแหน่งใด เช่นถ้าอะไรที่มาตกที่เดียวกันให้
เก็บเรียงลาดับกันไป มาก่อนอยู่ต้น มาหลังไปต่อท้าย เป็นต้น
การทางานกับแฟ้มข้อมูลสุ่มแบบแฮชไฟล์
แบบดรรชนี (Indexed File)
โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดนี้จะใช้วิธีเข้าถึงข้อมูลโดยมีการสร้าง
แฟ้มดรรชนี (index) ขึ้นเพื่อช่วยในการค้นหาหรือเข้าถึง
ข้อมูลโดยตรงให้รวดเร็วและสะดวกขึ้น
แฟ้มดรรชนีนี้จะประกอบด้วยข้อมูล 2 ตัวคือ
• คีย์ของข้อมูล
• ตาแหน่งที่เก็บข้อมูล (address) ในสื่อบันทึก เพื่อที่จะสามารถ
ระบุได้ว่าข้อมูลนั้นๆ เก็บอยู่ที่ตาแหน่งใดของสื่อเก็บบันทึกข้อมูล
การทางานกับแฟ้มข้อมูลสุ่มแบบดรรชนี
7.7.3 โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบลาดับเชิงดรรชนี
(Index Sequential File Structure)
เป็นลักษณะของโครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่อาศัยกระบวนการที่เรียกว่า ISAM
(Index Sequential Access Method) ซึ่งจะรวมเอา
ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มและแบบเรียงตามลาดับเข้าไว้ด้วยกัน การ
จัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลวิธีนี้ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บเรียงกันตามลาดับไว้บนสื่อแบบ
สุ่ม เช่น ฮาร์ดดิสก์ และการเข้าถึงข้อมูลจะทาผ่านแฟ้มข้อมูลลาดับเชิงดรรชนี
(indexed sequential file) ซึ่งทาหน้าที่ช่วยชี้และค้นหาข้อมูลที่
ต้องการได้ สามารถทางานได้ยืดหยุ่นกว่าวิธีอื่น ๆ โดยเฉพาะกับกรณีที่ข้อมูลในการ
ประมวลผลมีจานวนมาก ๆ
แฟ้มข้อมูลแบบลาดับเชิงดรรชนี
7.8 เปรียบเทียบโครงสร้างแฟ้มข้อมูลแต่ละประเภท
การจัดการเกี่ยวกับโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล ควรคานึงถึงความสามารถ
ด้านเวลาในการเข้าถึงข้อมูล(access time) ของอุปกรณ์ที่ใช้
จัดเก็บด้วย เพราะหน่วยเก็บข้อมูลสารองจะเข้าถึงข้อมูลได้ช้ากว่า
หน่วยความจาหลักมาก ดังนั้นการเลือกจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบใดๆ
ก็ตาม ควรพิจารณาให้เหมาะสมกับความต้องการรวมถึงความถี่ในการ
ปรับปรุงและการดึงข้อมูลเพื่อเรียกใช้ด้วย การจัดการเกี่ยวกับโครงสร้าง
ของแฟ้มข้อมูลอาจเปรียบได้กับการเลือกค้นหรืออ่านเนื้อหาข้อมูลใน
หนังสือที่ย่อมขึ้นอยู่กับความต้องการและความสะดวกของผู้ใช้เป็นหลัก
หากหนังสือจัดเก็บเรียงกันเป็นชั้น ๆ ตามลาดับ
(ต่อ)
การเลือกอ่านหรือหยิบเอกสารแผ่นใดขึ้นมาก็ต้องหยิบแผ่นแรกๆ ที่วาง
บนสุด ให้ผ่านไปเสียก่อน จึงจะอ่านแผ่นหรือเนื้อหาส่วนอื่น ๆ อีกได้
(โครงสร้างแบบเรียงลาดับ) แต่ถ้าต้องการความรวดเร็วและหยิบจับ
สะดวกได้ดีกว่า อาจเลือกวางหนังสือเหล่านั้นโดยไม่ต้องจัดวางเรียงกัน
เป็นลาดับก็ได้ อยากหยิบหรือเลือกใช้เล่มไหนก็สุ่มเลือกได้เอง
(โครงสร้างแบบสุ่ม) แต่ถึงแม้จะเลือกได้เร็วก็ตาม การจัดวางแบบนี้
อาจทาให้สิ้นเปลืองเนื้อที่โดยเปล่าประโยชน์ ดังนั้นหากยังต้องการใช้
ประโยชน์ของพื้นที่เก็บหรือวางหนังสื่อให้มีประสิทธิภาพสูงสุดและหยิบ
จับแบบเรียงลาดับแต่ต้องค้นหาง่ายด้วย(โครงสร้างแบบเรียงลาดับ
ดรรชนี) มาคั่นไว้ก็จะช่วยแก้ปัญหาได้ เป็นต้น
ตัวอย่าง
การเปรียบเทียบโครงสร้างแฟ้มข้อมูลแต่ละประเภทกับการจัดเก็บหนังสือ
7.9 ประเภทของแฟ้มข้อมูล (Master file)
แฟ้มหลัก เป็ นแฟ้ มข้อมูลที่มีความถี่ของการ
เปลี่ยนแปลงข้อมูลบ่อย มากนัก โดยอาศัยข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลรายการ
เปลี่ยนแปลงเข้ามาทาให้มีความทันสมัย (up to date) หรือแก้ไข
แฟ้มหลักนั้นโดยทันทีก็ได้ ตัวอย่างของแฟ้มหลัก เช่น แฟ้มหลักลูกค้า
ธนาคารซึ่งจะเก็บข้อมูลของลูกค้า เช่น ชื่อ ที่อยู่ หมายเลขบัญชี
ยอดเงินคงเหลือในบัญชี แฟ้มหลักสินค้าที่เก็บข้อมูลของสินค้าและ
ยอดขาย หรือแฟ้มหลักพนักงานที่เก็บชื่อ ที่อยู่ และชั่วโมงการทางาน
เป็นต้น
7.10 การประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูลกับระบบฐานข้อมูล
(File Processing VS Database Systems)
• การประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูล (File Processing)
การประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูล (File Processing)
แฟ้มข้อมูลต่าง ๆ เช่น แฟ้มข้อมูลลูกค้า แฟ้มข้อมูลสินค้า แฟ้มข้อมูลพนักงาน สามารถนาเอามา
ประมวลผลเพื่อนาไปใช้งานอื่น ๆ ได้ แต่มีข้อเสียคือทาให้ข้อมูลมีความซ้าซ้อนกัน (data
redundancy) โดยเฉพาะในหน่วยงานที่มักจัดเก็บข้อมูลแยกกันไว้ต่างหาก และมีการ
จัดการข้อมูลกันเอง เช่น แฟ้มข้อมูลลูกค้าของฝ่ ายบัญชีที่เก็บข้อมูลลูกค้า เช่น ชื่อ ที่อยู่ของลูกค้า
แต่ละรายไว้อาจไม่ตรงกันกับแฟ้มข้อมูลลูกค้าของฝ่ ายขาย ซึ่งทาการจัดเก็บแยกต่างหากโดย
ไม่ได้ใช้ข้อมูลเดียวกันกับข้อมูลลูกค้าของฝ่ ายบัญชีเพราะคิดว่าการจัดการข้อมูลกันเอง จะทาให้
เปลี่ยนหรือแก้ไขข้อมูลได้ง่ายกว่า เมื่อใดก็ตามที่ลูกค้าแจ้งเปลี่ยนแปลงที่อยู่ให้กับฝ่ ายขาย ข้อมูล
ที่อยู่ของลูกค้า ซึ่งจัดเก็บไว้ที่ฝ่ ายบัญชีจะยังคงเป็นข้อมูลเดิมซึ่งไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงตามไป
ด้วย (ฝ่ ายบัญชีไม่ทราบเลยว่ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น) เพราะต่างฝ่ ายต่างจัดเก็บแยกกัน
นั่นเอง จึงอาจส่งผลให้การติดต่อลูกค้า เช่น การเรียกเก็บเงินหรือวางบิลสินค้ามีปัญหาขึ้นมาได้
(อาจมีการจัดส่งใบวางบิลหรือเรียกเก็บเงินผิดที่) นอกจากนั้นแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ก็มีอยู่อย่าง
กระจัดกระจาย หากจะเรียกใช้ข้อมูลแล้วอาจจะทาได้ยาก เพราะแต่ละฝ่ ายก็จัดเก็บแยกกันไว้
เฉพาะเป็นของตนเอง การแบ่งปันและเรียกใช้ข้อมูลจึงไม่สะดวกมากนัก
การประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูล (File Processing)
ที่จัดเก็บข้อมูลแยกกันต่างหาก
7.11 ระบบฐานข้อมูล (Database Systems)
จากปัญหาของการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูลข้างต้น แนวคิดของการ
แก้ปัญหาดังกล่าวจะใช้วิธีการจัดเก็บรวบรวมแฟ้มข้อมูลที่มี
ความสัมพันธ์กัน นามาจัดเรียงรวมกันเสียใหม่อย่างเป็นระบบเพื่อให้
สะดวกต่อการค้นหาและเรียกใช้ข้อมูลร่วมกัน โดยจัดทาเป็นระบบ
ฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล สามารถใช้งานได้ทั้งกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว (stand
alone) เช่น ระบบฐานข้อมูลสินค้าคงคลังสาหรับองค์กรขนาดเล็กที่ต้องการ
จัดเก็บฐานข้อมูลสินค้าไว้เฉพาะในคอมพิวเตอร์เครื่องที่พนักงานบัญชีใช้เพียงเครื่อง
เดียว หรือจะประยุกต์ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบแม่ข่าย (server) ผ่านระบบ
LAN หรืออินเทอร์เน็ตก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของงานที่ต้องการเป็นหลัก
ตัวอย่างของการใช้งานระบบฐานข้อมูลกับเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย เช่น การ
ประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลบนเว็บ (web database) สาหรับการเก็บข้อมูล
สินค้า ข้อมูลการสั่งซื้อ ข้อมูลยอดขาย ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือข้อมูลอื่น ๆ ที่
ยินยอมให้ผู้ใช้เรียกดูข้อมูลเหล่านี้ได้ โดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งใช้กันอย่าง
แพร่หลายในปัจจุบัน
การนาเอาระบบฐานข้อมูลมาใช้งานนั้นจะช่วยให้การทางานมีความสะดวกมากยิ่งขึ้น
หากต่างคนต่างเก็บข้อมูลเอง ไม่ได้นามาเก็บรวบรวมกันเป็นฐานข้อมูลกลาง อาจ
ส่งผลให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมาอีกได้ เช่น ความซ้าซ้อนของการจัดเก็บข้อมูล หรือ
ปัญหาของข้อมูลที่ไม่
แนวคิดของการใช้ฐานข้อมูล
7.12 เครื่องมือสาหรับการจัดการฐานข้อมูล (DBMS)
โดยปกติในการจัดการฐานข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์นั้นจะมีโปรแกรมที่
เรียกว่า ระบบการจัดการฐานข้อมูลหรือ DBMS (Database
Management Systems) ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นผู้จัดการ
ฐานข้อมูล โปรแกรมประเภทนี้มีการผลิตออกมาหลายระบบด้วยกัน ที่
ได้รับความนิยมและเป็นที่รู้จักกันดี คือระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิง
สัมพันธ์ หรือ RDBMS (Relational Database
Management Systems) เช่น Oracle ,
Sybase , Microsoft SQL Server ,
Microsoft Access , MySQL หรือ DB2 เป็นต้น
ลักษณะของ DBMS
ระบบการจัดการฐานข้อมูลหรือ DBMS จะอานวยความสะดวกกับผู้ใช้ คือ
สามารถใช้งานได้โดยที่ไม่จาเป็นต้องทราบถึงโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลใน
ระดับที่ลึกมากเหมือนกับการเขียนโปรแกรมของโปรแกรมเมอร์ระบบดังกล่าวจะ
ยอมให้ผู้ใช้กาหนดโครงสร้างและดูแลรักษาฐานข้อมูลได้เป็นอย่างดี และยัง
สามารถควบคุมการเข้าถึงของข้อมูลในส่วนต่าง ๆ ตามระดับการใช้งานของผู้ใช้แต่
ละคนด้วย เราอาจพบเห็นการใช้งาน DBMS สาหรับการจัดการฐานข้อมูลได้
ในองค์กรธุรกิจโดยทั่วไป เช่น ระบบข้อมูลลูกค้า ระบบสินค้าคงคลัง ระบบงาน
ลงทะเบียน ระบบงานธุรกรรมออนไลน์ เป็นต้น
DBMS เป็นเหมือนตัวกลางที่ยอมให้ผู้ใช้เข้าค้นคืนข้อมูลได้โดยมีเครื่องมือ
สาคัญคือภาษาที่ใช้จัดการกับข้อมูลโดยเฉพาะเรียกว่า ภาษาเรียกค้นข้อมูล หรือ
ภาษาคิวรี่ (query language) ซึ่งประกอบด้วยคาสั่งสาหรับเรียกใช้
ข้อมูล แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูล และยังสามารถนาไปใช้ร่วมกับการพัฒนา
โปรแกรมประยุกต์ทางด้านฐานข้อมูลได้เป็นอย่างดี
ภาษาคิวรี่ (Query language)
ภาษาคิวรี่ เป็นภาษาที่ใช้สาหรับสอบถามหรือจัดการกับข้อมูลใน DBMS โดยภาษานี้ที่ได้รับ
ความนิยมสูงสุด คือ ภาษา SQL (Structure Query Language) คิดค้น
โดยนักวิทยาศาสตร์ของไอบีเอ็มในทศตวรรษที่ 1970 มีรูปแบบคาสั่งที่คล้ายกับประโยคใน
ภาษาอังกฤษมาก ซึ่งปัจจุบันองค์กร ANSI (American National
Standard Institute) ได้ประกาศให้ SQL เป็นภาษามาตรฐานสาหรับระบบการ
จัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Management
System หรือ RDBMS)
ระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ทุกระบบจะใช้คาสั่งพื้นฐานของภาษา SQL ได้เหมือน
ๆ กัน แต่อาจมีคาสั่งพิเศษที่แตกต่างกันบ้าง เนื่องจากบริษัทผู้ผลิตแต่ละรายก็พยายามที่จะพัฒนา
RDBMS ของตนเองให้มีลักษณะที่เด่นกว่าระบบอื่นโดยเพิ่มคุณสมบัติที่เกินข้อกาหนดของ
ANSI ซึ่งคิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้เข้าไป
ความสามารถของระบบการจัดการฐานข้อมูล
สร้างฐานข้อมูล (create database)
โดยปกติแล้วผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบฐานข้อมูล ก่อนจะออกแบบได้ก็อาจมี
การเก็บข้อมูลหรือขั้นตอนการทางานของระบบที่จะพัฒนาเสียก่อน โดยต้องมีการ
สัมภาษณ์หรือวิเคราะห์ค่ารายการต่างๆ จากแบบฟอร์มเอกสารหรือระบบงานเดิมซึ่งจะ
ทาให้ทราบได้ว่าต้องใช้ข้อมูลอะไรบ้าง มีกี่ตารางที่จะจัดเก็บ มีคุณสมบัติของตารางเป็น
อย่างไร ประกอบด้วยฟิลด์กี่ฟิลด์ นอกจากนั้นเพื่อให้ทางานได้ง่ายขึ้นอาจใช้เทคนิคที่
เรียกว่า การทา normalization ซึ่งจะช่วยลดความซ้าซ้อนของข้อมูลและโอกาส
ที่จะทาให้เกิดความผิดพลาดจากการประมวลผลในฐานข้อมูลมีน้อยลง ขั้นตอนต่อมาอาจ
มีการกาหนดความสัมพันธ์ต่างๆ ของแต่ละตารางที่เกี่ยวข้องโดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า
E-R diagram (Entity-Relationship diagram) ซึ่งเป็น
เครื่องมือออกแบบฐานข้อมูลที่อยู่ในรูปผังงาน หลังจากนั้นจึงนาข้อมูลที่อยู่ใน E-R
diagram มาสร้างฐานข้อมูลในระบบDBMS ทั่วไป โดยผ่านเครื่องมือที่มีอยู่ใน
โปรแกรมซึ่งอาศัยภาษา SQL อีกทีหนึ่ง
เพิ่ม เปลี่ยนแปลงแก้ไขและลบข้อมูล
(add, change and delete data)
ฐานข้อมูลที่จัดสร้างด้วยเครื่องมือของ DBMS นั้นสามารถจะเพิ่มรายการต่าง
ๆ เข้าไปได้ตลอดเวลา โดยเข้าไปจัดการที่ตัวของ DBMS โดยตรง เช่น การ
เพิ่มข้อมูลของบางเรคอร์ดที่ตกหล่นในระหว่างการบันทึกข้อมูล ตรงกันข้ามเมื่อ
ข้อมูลใดในฐานข้อมูลไม่มีความจาเป็นต้องใช้อีกและอาจทาให้เปลืองเนื้อที่ในการ
เก็บ
เช่น
เรคอร์ดของนักศึกษาบางคนที่ลาออกไปแล้ว ก็สามารถลบข้อมูลของนักศึกษาราย
นี้ออกจากระบบได้ นอกจากนั้นเมื่อใดก็ตามที่ข้อมูลเปลี่ยนแปลง เช่น ที่อยู่ลูกค้า
เปลี่ยนหรือเบอร์โทรศัพท์ถูกยกเลิก เครื่องมือใน DBMS ก็สามารถช่วยให้การ
แก้ไขค่าเหล่านี้ทาได้โดยง่ายเช่นกัน
จัดเรียงและค้นหาข้อมูล (sort and retrieve data)
DBMS ยังช่วยให้การเรียกค้นดูข้อมูลง่ายและสะดวก โดยเราสามารถ
เตรียมข้อมูลและเลือกได้ว่าจะให้ DBMS จัดเรียงแบบใด เช่น
เรียงข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามาก หรือจะเรียงจากค่ามากไปหาค่าน้อย
รวมถึงการเรียกดูข้อมูลตามลาดับวัน เวลา เป็นต้น นอกจากนั้นการ
ค้นหาข้อมูลที่มีอยู่มากมายในฐานข้อมูลนั้น หากผู้ใช้ระบบค่าเพียง
บางส่วนแล้วส่งคาสั่งนั้นผ่านการทางานของDBMS ก็สามารถเลือก
หรือค้นข้อมูลดังกล่าวได้ง่าย เช่น ข้อมูลของชื่อพนักงานที่ขึ้นต้นด้วย
ก. ไก่ หรือข้อมูลของสินค้าที่มีราคามากกว่า 5,000 บาท เป็นต้น
สร้างรูปแบบและรายงาน
(create form and report)
คุณสมบัติของ DBMS ที่นอกเหนือจากการค้นและเรียกดูข้อมูลต่าง
ๆ แล้ว ยังสามารถสร้างรูปแบบการแสดงผลบนหน้าจอ(form) และ
พิมพ์ผลลัพธ์รายการออกมาเป็นรายงาน(report) เพื่อให้ผู้ใช้งานที่
เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูลดังกล่าว สามารถตรวจสอบ หรือแก้ไขรายการที่มี
อยู่นั้นได้โดยง่าย หรือช่วยในเรื่องการตัดสินใจของผู้บริหารองค์กรและ
นาไปวิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ได้
โดยสรุป
ข้อมูลสาหรับการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์นั้น อาจได้มาจาก
แหล่งข้อมูลภายในหรือภายนอกองค์กร ซึ่งควรมีคุณสมบัติ
พื้นฐานประกอบด้วย ความถูกต้อง มีความเป็นปัจจุบัน
ตรงตามความต้องการ มีความสมบูรณ์และสามารถตรวจสอบได้
ทั้งนี้ในการจัดการกับข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ จะมีการจัดแบ่ง
ข้อมูลออกเป็นลาดับชั้นเพื่อง่ายต่อการเรียกใช้ เช่น บิต ไบต์
ฟิลด์ เรคอร์ ไฟล์
โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลที่จัดเก็บไว้บนสื่อบันทึกข้อมูลสารองมี
อยู่ 3 ลักษณะคือ แบบเรียงลาดับ แบบสุ่ม และแบบลาดับเชิง
ดรรชนี การเลือกใช้ต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับการใช้งาน
สาหรับแฟ้มข้อมูลโดยทั่วไปนั้นจะแบ่งออกได้เป็น2 ประเภท
คือ แฟ้มหลัก ซึ่งเป็นแฟ้มข้อมูลที่มีความถี่ของการเปลี่ยนแปลง
ข้อมูลไม่บ่อยมากนัก และอีกประเภทคือ แฟ้มรายการ
เปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นแฟ้มที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขรายการ
ข้อมูลภายในค่อนข้างบ่อยและทาแบบประจาต่อเนื่องหรือเกิดขึ้น
ทุกวัน
ข้อมูลจานวนมากที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน จะถูกเก็บรวบรวมไว้ที่
เดียวกัน เรียกว่า ฐานข้อมูล ซึ่งช่วยให้การประมวลผลมีความ
สะดวกและง่ายยิ่งขึ้น โดยมีแนวคิดที่จะจัดการกับข้อมูลเพื่อลด
ความซ้าซ้อน ลดความขัดแย้งรักษาความคงสภาพ อานวย
ความสะดวกในการใช้ข้อมูลร่วมกัน ง่ายต่อการเข้าถึงและ ลด
ระยะเวลาพัฒนาระบบงาน เครื่องมือสาหรับการจัดการ
ฐานข้อมูลนั้น เรียกว่า DBMS ซึ่งเป็นเสมือนผู้จัดการ
ฐานข้อมูลที่จะดูแลและอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้โดยไม่
จาเป็นต้องทราบถึงโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลในระดับที่
ลึกมากแต่อย่างใด
Elementswww.animationfactory.com

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
chanoot29
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
Nuanlaor Nuan
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
Tophuto Piyapan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
kruthanyaporn
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
techno UCH
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
พัน พัน
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
ABELE Snvip
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Nithiwan Rungrangsri
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
Srion Janeprapapong
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
miwmilk
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
skiats
 

What's hot (18)

9.1 9.10
9.1  9.109.1  9.10
9.1 9.10
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
Onet-work4-44
Onet-work4-44Onet-work4-44
Onet-work4-44
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
 

Similar to ข้อมูลและการจัดการข้อมูล

การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
sa
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
Opas Kaewtai
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
Opas Kaewtai
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
Hitsuji12
 
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศหน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
Ong Lada
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
palmyZommanow
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
สิรินยา ปาโจด
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
สิรินยา ปาโจด
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 
งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1
Ruttikan Munkhan
 
งาคอม
งาคอมงาคอม
งาคอม
lookpair
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
ratiporn555
 

Similar to ข้อมูลและการจัดการข้อมูล (20)

บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศหน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1
 
งาคอม
งาคอมงาคอม
งาคอม
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 

More from ssuseraa96d2

More from ssuseraa96d2 (20)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linux
 
ระบบปฏิบัติการ MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ MS-DOSระบบปฏิบัติการ MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ MS-DOS
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสารการกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
 
การเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสารการเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสาร
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์ม
 
การสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมการสร้างเฟรม
การสร้างเฟรม
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตาราง
 
การแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพการแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพ
 
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการการกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
 
การตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสารการตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสาร
 
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLเริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTMLความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
 

ข้อมูลและการจัดการข้อมูล

Editor's Notes

  1. วิธีคิดอย่างเป็นระบบในการแก้ปัญหาหรือที่รู้จักกันดีในชื่อเรียกว่า อัลกอริทึ่ม (Algorithm) กระบวนการคิด ขั้นตอนวิธี อย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ในทางคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ อัลกอริทึ่มคือตัวตัดสินการมองโจทย์ปัญหา อัลกอริทึ่มที่ดีรวดเร็ว แม่นยำ แน่นอน และปลอดภัย
  2. redundancy (รีดัน-แด็นซิ)เหลือเฟือ มากเกินไป เกิน คำพูดซ้ำซาก
  3. Query จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา query (ควีรี หรือ นิยมอ่านในไทยว่า คิวรี่) อาจหมายถึง ภาษาสอบถาม (Query language) ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในฐานข้อมูล เจควีรี (jQuery) จาวาสคริปต์ขนาดเล็ก ที่ใช้ในการทำงานร่วมกับ HTML