SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้

1. ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้

       ข้อมูล (data) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายคุณลักษณะของวัตถุ เหตุการณ์ กิจกรรม โดยบันทึกจากการ
สัง เกต การทดลอง หรือการสารวจด้วยการแทนรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เช่น บันทึก ไว้เป็น
ตัวเลข ข้อความ รูปภาพ และสัญลักษณ์ ตัวอย่างของข้อมูลต่างๆ ที่นักเรียนสามารถพบเห็นได้เป็น
ประจา เช่น เกรดที่นักเรียนได้รับในแต่ละรายวิชา ราคาของสินค้าชนิดต่างๆ ในห้างสรรพสินค้า รูปภาพ
และข้อความต่างๆ




                                 รูปแสดง ตัวอย่างข้อมูลที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน

        สารสนเทศ (information) คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการนาข้อมูลมาประมวลผล เพื่อให้ได้สิ่งที่เป็น
ประโยชน์ในการนาไปใช้งานมากขึ้น เช่น ส่วนสูงของนักเรียนหญิงและนักเรียนชายแต่ละคนในชั้นเรียน
เป็นข้อมูล จะสามารถสร้างสารสนเทศจากข้อมูลเหล่านี้ได้หลายแบบ เพื่อนาไปใช้ในจุดประสงค์ที่
แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น การนาข้อมูลเหล่านี้มาเรียงตามลาดับจากมากไปน้อย หรือการหาค่าเฉลี่ยของ
ส่วนสูงของนักเรียน
        ความรู้ (knowledge) เป็นคาที่มีความหมายกว้าง และใช้กันโดยทั่วไป ในด้านวิทยาการ
คอมพิวเตอร์หรือวิศวกรรมคอมพิวเตอร์กล่าวถึงความรู้ไว้ในหลาย แง่มุมหนึ่งที่สอดคล้องกับข้อมูลและ
สารสนเทศ ความรู้ คือ สิ่งที่ประกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศที่ถูกจัดรูปแบบและประมวลผลเพื่อนาไป
ประยุกต์ใช้ในปัญหาที่ต้องการนาข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ไปแก้ไข
        นอกจากนี้ ยั ง มี นิ ย ามของความรู้ อี ก ด้ า นหนึ่ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เรื่ อ งของข้ อ มู ล            และ
สารสนเทศ คือ ความรู้ที่แฝงอยู่ในข้อมูล เป็นสิ่งที่สามารถสกัดจากสารสนเทศที่มีรูปแบบที่น่าสนใจ เป็น
จริงสาหรับข้อมูลใหม่หรือข้อมูลที่ไม่เคยเห็นมาก่อน เป็นรูปแบบใหม่ที่มนุษย์ไม่เคยเห็นมาก่อน ซึ่ง
ผลลั พ ธ์ สุ ด ท้ า ยจากการวิ เ คราะห์ ส ารสนเทศจะได้ เ ป็ น ความรู้ ที่ เ ป็ นประโยชน์                    ต่ อ ผู้ ใ ช้ ไ ด้
        เราเรียกกระบวนการที่สามารถสกัดความรู้จากข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้เป็นอย่างดี ในฐานข้อมูล
ว่า การค้นพบความรู้ในฐานข้อมูล (knowledge discovery in databases) ดังรูป
รูปแสดง การค้นพบความรู้ในฐานข้อมูล

2. ลักษณะของข้อมูลที่ดี
           1) ความถูกต้องของข้อมูล เป็นลักษณะสาคัญยิ่งของข้อมูล ถ้าข้อมูลไม่ถูกต้องแล้ว เราจะไม่
สามารถได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องได้เลย ซึ่งประเด็นนี้เป็นเรื่องสาคัญที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับข้อมูลที่มี
ขนาดใหญ่ และไม่มีการตรวจสอบ เช่น ข้อมูลในโลกอินเทอร์เน็ต ซึ่งจาเป็นต้องได้รับการตรวจสอบก่อน
จะนามาใช้เสมอ
           นอกจากนี้ข้อมูลบางประเภท เช่น ข้อมูลเสียงที่เก็บจากไมโครโฟน ดังรูป อาจมีปัญหาเกี่ยวกับ
สั ญ ญาณเสี ย งรบกวนเกิ ด ขึ้ น ดั ง นั้ น ข้ อ มู ล ประเภทนี้ จึ ง ต้ อ งได้ รั บ การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพหรื อ
เรียกว่า กระบวนการลดสัญญาณรบกวน จึงสามารถนาไปใช้งานได้
           สาหรับข้อมูลที่ได้รับการบันทึกด้วยมนุษย์ โดยมากมักต้องผ่านการตรวจสอบก่อนเสมอ ซึ่งอาจ
ตรวจสอบโดยมนุษย์ หรือตรวจสอบโดยระบบ ตัวอย่างเช่น ข้อมูลที่มีความสาคัญอาจต้องป้อนสอง
ครั้ง เพื่อป้องกันความผิดพลาด ซึ่งนักเรียนสามารถเห็นตัวอย่างของข้อมูลเหล่านี้ได้จากการป้อนรหัสผ่าน
เวลา ลงทะเบียนตามเว็บไซต์ต่างๆ ที่นักเรียนมักต้องป้อนรหัสผ่านหรืออีเมล์สองครั้ง เพื่อป้องกัน
ข้อผิดพลาด ดังรูป นอกจากนี้ข้อมูลที่เป็นรหัสตัวเลขสาคัญ มักจะมีตัวเลขซึ่งเป็นหลักตรวจสอบแฝงไว้
เสมอ เช่น ข้อมูลหมายเลขบัตรเครดิต 16 หลัก เมื่อนามาผ่านกระบวนการประมวลผล จะสามารถ
ตรวจสอบได้ว่า หมายเลขบัตรเครดิตนั้นถูกต้องหรือไม่ เป็นต้น
           2) ความสมบูรณ์ครบถ้วนในการนาไปใช้งาน ข้อมูลบางประเภทหากไม่ครบถ้วน จัดเป็นข้อมูลที่
ด้อยคุณภาพได้เช่นกัน เช่น ข้อมูลประวัติคนไข้ หากไม่มีหมู่เลือดของคนไข้ จะไม่สามารถใช้ได้ในกรณีที่
ผู้ร้องขอข้อมูลต้องการข้อมูลหมู่เลือดของคนไข้ หรือข้อมูลที่อยู่ของลูกค้า ที่กรอกผ่านแบบฟอร์ม ถ้ามีแต่
ชื่อและนามสกุลโดยไม่มีข้อมูล บ้านเลขที่ ถนน แขวง/ตาบล เขต/อาเภอ หรือจังหวัด ข้อมูลเหล่านั้นก็ไม่
สามารถนามาใช้ได้เช่นกัน
           3) ความถูกต้องตามเวลา ในบางกรณีข้อมูลผูกอยู่กับเงื่อนไขของเวลา ซึ่งถ้าผิดจากเงื่อนไขของ
เวลาไปแล้ว ข้อมูลนั้นอาจลดคุณภาพลงไป หรือแม้กระทั่งอาจไม่สามารถใช้ได้ เช่นข้อมูลการให้ยาของ
คนไข้ในโรงพยาบาล ดังรูป ในทางการแพทย์แล้ว ข้อมูลจะต้องถูกใส่เข้าไปในฐานข้อมูลที่คนไข้ได้รับ
ยา เพื่อให้แพทย์คนอื่นๆ ได้ทราบว่า คนไข้ได้รับยาชนิดนี้เข้าไปแล้ว แต่ข้อมูลเรื่องการให้ยาของคนไข้
นี้ อาจไม่จาเป็นต้องได้รับการปรับทันทีสาหรับแผนกการเงิน เพราะทางแผนกการเงินจะคิดเงินก็ต่อเมื่อ
ญาติคนไข้มาตรวจสอบ หรือคนไข้กาลังจะออกจากโรงพยาบาล
        ข้อมูลการติดตามตาแหน่งของรถยนต์ด้วยระบบจีพี เอส สาหรับบริษัทที่ต้องทางานการติดตาม
รถยนต์ ข้อมูลตาแหน่งรถยนต์ จะต้องได้รับการปรับให้เป็นจริงตลอดเวลา หากข้อมูลนั้นปรับทุกๆ หนึ่ง
ชั่วโมงจะไม่มีประโยชน์ในการติดตามตาแหน่งของรถยนต์ ดังนั้นในเรื่องของความถูกต้องตามเวลาของ
ข้อมูล จึงเป็นเรื่องสาคัญประการหนึ่งที่ต้องนามาพิจารณาเมื่อต้องมีการจัดเก็บ ข้อมูลหรือประมวลผล
ข้อมูล




                                   รูปแสดง ระบบติดตามรถยนต์ด้วยจีพีเอส

         4) ความสอดคล้องกันของข้อมูล ในกรณีที่ข้อมูลมาจากหลายแหล่ง จะเกิดปัญหาขึ้นในเรื่องของ
ความสอดคล้องกันของข้อมูล เช่น ในบริษัทแห่งหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูลที่อยู่ลูกค้า หากต้องการนาข้อมูลไป
ควบรวมกับบริษัทอีกแห่งหนึ่งซึ่งมีข้อมูลของลูกค้าอยู่ เช่นกัน แต่ข้อมูลในการจัดส่งเอกสารของบริษัทแห่ง
แรก เป็นที่อยู่ของที่พักอาศัยของลูกค้า ในขณะที่ข้อมูลในบริษัทที่สองเป็นที่อยู่ของสถานที่ ทางานของ
ลูกค้า ข้อมูลจากทั้งสองบริษัทเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง สอดคล้องตามเวลาทั้งคู่ แต่ถ้าต้องการเก็บข้อมูลที่อยู่
ลูกค้าเพียงที่อยู่เดียว ก็จะเกิดปัญหาขึ้นได้ ตัวอย่างของการไม่สอดคล้องกันของข้อมูล




                          รูปแสดง ตัวอย่างของการไม่สอดคล้องกับของข้อมูล
3. การจัดเก็บข้อมูล
        ข้อดีในการนาฐานข้อมูลไปใช้ในองค์กรหรือหน่วยงาน เช่น
              การจัดเก็บอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดภาระการเก็บเอกสารที่เป็นกระดาษได้ รวมถึง
                 การทาซ้าเพื่อสารองข้อมูล สามารถทาได้สะดวกและรวดเร็ว
              การตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลประวัติการบารุงรักษาของ
                 รถยนต์ และข้อมูลประวัติคนไข้ ผู้ใช้ที่ต้องนาข้อมูลเหล่านี้ไปใช้งาน สามารถเข้าถึง
                 ระบบฐานข้อมูลและนาข้อมูลที่ต้องการไปใช้ได้
              การจากัดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ในแต่ละระดับขององค์กร เช่น ผู้บริหาร
                 สามารถเข้าถึงข้อมูลของทุกหน่วยงานได้ แต่ผู้ใช้ทั่วไปในแผนกการเงิน ไม่สามารถเข้าถึง
                 ข้อมูลประวัติของฝ่ายบุคคลได้ เป็นต้น




                                รูปแสดง ข้อดีในการนาฐานข้อมูลไปใช้ในองค์กร
        ลาดับชั้นของข้อมูลในฐานข้อมูล ก่อนจะกล่าวถึงลาดับชั้นของข้อมูลในฐานข้อมูลสิ่งแรกที่ต้อง
กล่าวถึงก่อน คือ ลาดับชั้นล่างสุดของการแทนข้อมูล นั่นคือ การแทนข้อมูลด้วยตัวเลขฐานสอง ซึ่ง
ประกอบด้วยตัวเลขสองตัว คือ ‘0’ และ ‘1’ ในทางคอมพิวเตอร์ จะเรียกตัวเลขฐานสองหนึ่งหลักนี้
ว่า 1 บิต (bit) ซึ่งถือว่าเป็นหน่วยเล็กที่สุดของข้อมูล และหากนาบิตมาต่อกันจานวน 8 บิต จะเรียกว่า 1
ไบต์ (byte)
        1) เขตข้อมูล (field) เมื่อนาข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทนข้อมูลใดๆ ที่ต้องการเก็บใน
ฐานข้อมูลเราจะจัดข้อมูลที่เป็นบิตนี้มารวมกันเพื่อแทนความ หมายบางอย่าง หน่วยย่อยที่สุดที่มีความหมาย
ในฐานข้อมูลนี้เรียกว่า เขตข้อมูล โดยเขตข้อมูลอาจแทนข้อมูลดังตัวอย่างต่อไปนี้
             จานวนเต็ม (integer) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลขขนาด 32 บิต ซึ่งขนาดของ
                 ตัวเลขนี้อาจเปลี่ย นแปลงไปตามเทคโนโลยีของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเลขฐานสอง
                 ขนาด 32 บิ ต สามารถแทนตั ว เลขจ านวนเต็ ม ได้ ตั้ ง แต่ -2,147,483,648 ถึ ง
                 2,147,483,647 ( -231 ถึง 231 -1) แต่ถ้าเป็นเขตข้อมูลที่ระบุไว้ว่า เป็นตัวเลขจานวนเต็มไม่
                 ระบุ เ ครื่ อ งหมาย (unsigned integer) เท่ า นั้ น จะสามารถแทนตั ว เลขจ านวนเต็ ม ได้
                 ตั้งแต่ 0 ถึง 4,294,967,295 (232 -1)
 จานวนทศนิยม (decimal number) ในคอมพิวเตอร์จะเก็บตัวเลขทศนิยม โดยใช้ระบบ
             โฟลททิงพอยต์ (floating point) ซึ่งการเก็บในลักษณะนี้ ไม่มีการกาหนดตาแหน่งตายตัว
             สาหรับตาแหน่งของจุด โดยทั่วไปการเก็บข้อมูลตัวเลขจะมีสองขนาด คือ 32 บิต และ
             64 บิต
            ข้อความ (text) ในการแทนข้อความนั้น จะต้องเปลี่ยนข้อความให้เป็นรหัสซึ่งใช้แทนตัว
             อักขระแต่ละตัวเสียก่อน ตามมาตรฐานโดยทั่วไปจะใช้เป็นรหัสแอสกี (ASCII code) ซึ่ง
             ต่อมามีการใช้รหัสแบบยูนิโคด (Unicode) ที่สามารถแทนภาษาได้หลายภาษามากกว่า
             รหัสแอสกี ความยาวของเขตข้อมูลประเภทนี้ ขึ้นอยู่กับจานวนตัวอักขระในข้อความ
            วันเวลา (date/time) ข้อมูลที่เป็นวันเวลา เช่น วันที่เริ่มใช้งาน วันลงทะเบียน และซื้อ
             สินค้า มีความแตกต่างจากข้อมูลประเภทอื่น ดังนั้นจึงต้องมีชนิดของข้อมูลเป็นวัน
             เวลา เพือเขตข้อมูลที่ต้องการเก็บข้อมูลเป็นเวลา
                     ่
            ไฟล์ (file) เขตข้อมูลบางประเภทใช้เก็บไฟล์รูปภาพหรือไฟล์อื่นๆ ซึ่งเขตข้อมูล
             ประเภท เป็นเขตข้อมูลขนาดใหญ่ โดยปกติแล้วจะมีความยาวมากกว่าเขตข้อมูลประเภท
             อื่นๆ โดยเขตข้อมูลจะเก็บข้อมูลในลักษณะเป็นบิตเรียงต่อกัน




                       รูปแสดง ตัวอย่างการกาหนดชื่อและขนาดของเขตข้อมูล

        2) ระเบียน (record) คือ กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยเขตข้อมูลแต่ละส่วนอาจจะ
เป็นข้อมูลต่างชนิดกัน ระเบียนแต่ละระเบียนจะประกอบด้วยโครงสร้างเขตข้อมูลที่เหมือนกัน

   เกร็ดน่ารู้ การเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขจานวนจริงเครื่องคอมพิวเตอร์จะเก็บตามมาตรา IEEE 754 ซึ่ง
   ตัวอย่างของการเก็บข้อมูลจะเป็นดังนี้
            20.65625 เมื่อเปลี่ยนแปลงเป็นฐานสองจะได้ 10100.10101 ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0100.10101 x
   24 จะถูกเก็บเป็นระเบียน




                                     รูปแสดง ตัวอย่างระเบียน
3) ตาราง (table) คื อ กลุ่มของระเบียน ซึ่งเขตข้อมูล ในแต่ละระเบียนจะเก็บข้อมูลที่มี
ความสัมพันธ์กัน ในตารางจะเก็บข้อมูลหลายๆ ระเบียน แต่ละระเบียนจะมีโครงสร้างเหมือนกันใน
ตาราง นอกจากจะเก็บข้อมูลหลายระเบียนแล้ว ยังสามารถอ้างถึงระเบียนแต่ละระเบียนได้อีกด้วย




                               รูปแสดง ตัวอย่างตารางข้อมูลนักเรียน

         4) ฐานข้อมูล (database) เป็นที่รวมของตารางหลายๆ ตารางเข้าไว้ด้วยกัน ตามตารางจะมี
ความสัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลซึ่งเหมือนกันเป็น ตัวเชื่อมโยงระหว่างบางตารางอาจเป็น
ตารางที่เก็บข้อมูลไว้เฉพาะของตนเองโดย ไม่เกี่ยวข้องกับตารางอื่นบางตาราง อาจต้องเชื่อมโยงกับเขต
ข้อมูลของตารางอื่นๆ
         ตัวอย่างรูปของฐานข้อมูล ซึ่งเป็นฐานข้อมูลเก็บข้อมูลของนักเรียน มีตารางหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูล
นักเรียน โดยมีเขตข้อมูลเป็น รหัสนักเรียน ชื่อ นามสกุล และที่อยู่ ตารางหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูลสุขภาพของ
นักเรียน โดยมีเขตข้อมูลเป็น รหัสนักเรียน ส่วนสูง และวันที่เก็บข้อมูล (วันที่วัด)




                        แสดงตัวอย่างฐานข้อมูลซึ่งส่วนหนึ่งใช้เก็บข้อมูลนักเรียน
4. จริยธรรมในโลกของข้อมูล
        คาว่าจริยธรรมเป็นคาที่มีความหมายกว้างแม้กระทั่งในด้านคอมพิวเตอร์ ก็มีการกล่าวถึงในเรื่อง
จริยธรรมเช่นกัน ในที่นี้จะกล่าวถึงจริยธรรม ในความหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและสารสนเทศในประเด็น
ต่างๆ ดังนี้
        4.1 ความเป็นส่วนตัว เมื่อข้อมูลปรากฏอยู่ในโลกออนไลน์มากขึ้น ทาให้การรวบรวมข้อมูล การ
เข้าถึง การค้นหา และการแบ่งปันข้อมูลส่วนบุคคลเป็นเรื่องที่สามารถทาได้ง่ายและเร็วขึ้น ทาให้ข้อมูล
บางประเภทที่ มี ความเป็ นส่วนตัวสูง เช่น เลขประจาตัวประชาชน วันเดือนปีเกิ ด หมายเลข
โทรศัพท์มือถือ ข้อมูลประวัติการรักษา อาจรั่วไหลไปสู่สาธารณะได้ บางครั้งข้อมูลส่วนตัวเหล่านี้อาจถูก
นาไปใช้โดยผิดวัตถุประสงค์ของเจ้าของข้อมูล เช่น ข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์มือถือซึ่งถูกเก็บไว้โดย
สถานพยาบาล อาจรั่วไหลไปสู่บริษัทที่มีการประชาสัมพันธ์การขายผ่านโทรศัพ ท์มือถือ อาจทาให้เจ้าของ
หมายเลขโทรศัพท์นั้น ถูกรบกวนโดยไม่ได้ตั้งใจ เป็นต้น




                         รูปแสดง การรบกวนความเป็นส่วนตัวโดยใช้โทรศัพท์มือถือ

           ก่อนจะเผยแพร่ข้อมูลทุกครั้ง ต้องคานึงถึงข้อมูลที่มีความเป็นส่วนตัว ผลเสียจากการเผยแพร่
ข้ อ มู ล เหล่ า นี้  อาจย้ อ นกลั บ มาสร้ า งความเดื อ ดร้ อ นให้ กั บ ตนเองหรื อ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ ใ น
อนาคต เช่น นักเรียนโพสต์รูปของตนเองและ เพื่อนไว้ในเว็บไซต์เครือข่ายทางสังคม แต่เพื่อนของ
นักเรียนอาจได้รับผลกระทบจากรูปนั้นก็เป็นได้




                   รูปแสดง ตัวอย่างการกาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้แต่ละกลุ่ม

         ในบางกรณีก ารไม่เปิดเผยข้อมู ลอาจเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ได้ เช่น ในการปรึกษาเกี่ย วกั บ
การแพทย์ เรื่องความผิดปกติทางเพศ หรือการเป็นโรคติดต่อร้ายแรง หากต้องเปิดเผยข้อมูลจริง
เหล่านี้ การใช้นามแฝงแทนจะเป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการแลกเปลี่ยนข้อมูล แต่กรณีเหล่านี้จะไม่
สามารถทาได้ในเว็บไซต์ที่กาหนดให้กรอกข้อมูลจริง เพื่อสมัครใช้บริการ
         4.2 สิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล เพื่อเป็นการรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูล ในการเก็บข้อมูลใน
ฐานข้อมูลจะมีการกาหนดสิทธิ์ในการในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้แต่ละกลุ่ม โดยระบบจะอนุญาตให้ผู้ใช้
คนหนึ่งเข้าถึงข้อมูลต้องมีการตรวจสอบว่า จะให้ใช้ข้อมูลใดได้บ้าง หรือไม่มีสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล
ใดบ้าง ตัวอย่างเช่น พนักงานแผนกการเงินซึ่งสามารถเข้าถึงข้อมู ลเงินเดือน ไม่ควรได้สิทธิ์ในการเข้าถึง
ข้อมูลประวัติส่วนตัวของพนักงานทั่วไปได้ เป็นต้น
        หากการเข้าใช้ระบบเพื่อการเข้าถึงข้อมูลเป็นส่วนหนึ่งของเรื่องสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล ดังนั้นสิทธิ์
ในการใช้ระบบก็จะจัดอยู่ในเกณฑ์ข้อนี้ด้วย โดยปกติแล้วการเข้าถึงระบบใดๆ นั้น ผู้ใช้จะต้องได้รับการ
อนุญาตจากผู้ดูแลระบบ (system administration) ซึ่งมีหน้าที่คอยดูแล บารุงรักษาระบบให้สามารถทางาน
ได้เป็นปกติ การเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต มีความผิดตามพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทา
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2550 เป็นต้นมา มี
ความผิดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลหลายข้อ ยกตัวอย่างเช่น
        มาตรา 5 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและ
มาตรการนั้นมิได้มีไ ว้ส าหรับตน ต้องระวางโทษจาคุก ไม่เกิ นหกเดือน หรือปรับไม่เกิ นหนึ่งหมื่น
บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ




         มาตรา 7 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และ
มาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจา
ทั้งปรับ
         นอกจากนี้ยังมีการระบุความผิดที่เกี่ยวข้องกับการดักรับข้อมูลซึ่งเดินทางอยู่ในระบบเครือข่าย โดย
การดักรับนี้ไม่ได้รับอนุญาต ก็มีความผิดเช่นกัน
มาตรา 8 ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ ซึ่ง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นอยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้
เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือ
ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ




        จะเห็นได้ว่า จากตัวอย่างของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
2550 นั้น การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต มีความผิดทั้งจาคุกและปรับ ดังนั้น
ทุกคนต้องพึงระวังการใช้คอมพิวเตอร์และการเข้าใช้งานเครือข่าย แม้ว่าการกระทาบางอย่างอาจไม่ใช่
ความผิดขั้นร้ายแรงถึงกับมีโทษจาคุกหรือปรับเงิน แต่การกระทาการใดๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา
นั้น อาจก่อความราคาญหรือรบกวนการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นได้เช่นกัน
        4.3 ทรัพย์สินทางปัญญา ในกระบวนการผลิตโปรแกรม ระบบปฏิบัติการ รูปภาพเพลง หรือ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จาเป็นต้องใช้ต้นทุนสูง และใช้เวลาในการผลิตยาวนาน แต่เมื่อสิ่งเหล่านี้ปรากฏอยู่
ในรู ป แบบของข้ อ มู ล ดิ จิ ทั ล ผู้ ใ ช้ ค นอื่ น ๆ สามารถท าซ้ าและน าไปใช้ โ ดยไม่ ไ ด้ จ่ า ยเงิ น ให้ กั บ
ผู้ผลิต ก่อให้เกิดความเสียหายทางธุรกิจกับเจ้าของข้อมูล ผู้ใช้จึงต้องพิจารณาขอบเขตของสิทธิ์ที่ตนเอง
ได้รับในข้อมูลดังกล่าว และเป็นการสมควรหรือไม่ที่จะดาวน์โหลดและแจกจ่ายข้อมูลดิจิทัลเหล่านั้น




         นอกจากนี้การนาข้อความหรือรูปภาพจากสื่ออินเตอร์เน็ตมาใช้ จะต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลให้
ถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การคัดลอกข้อความหรือรูปภาพจากเว็บประกอบในการทารายงาน โดยไม่อ้างอิง
แหล่งที่มา ถือเป็นการกระทาที่ผิดอย่างรุนแรงตามหลักจริยธรรมสากลของการนาข้อมูลไปใช้
รูปแสดง การคัดลอกข้อความหรือรูปภาพจากเว็บประกอบในการทารายงาน โดยไม่อ้างอิงแหล่งที่มา

         จะเห็นว่า ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้เป็นสิ่งที่มีประโยชน์และมีมูลค่า ถึงแม้ว่าสิ่งต่างๆ
เหล่านี้ จะไม่ได้รับการตีราคาออกมาเป็นจานวนเงิน แต่ผู้ที่มีข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ รวมถึงมี
วิธีการจัดการกับสิ่งเหล่านี้ได้ดีกว่า ย่อมสามารถบริหารงานภายในองค์กร และสามารถแข่งขันกับโลก
ภายนอกได้เป็นอย่างดี
         ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การนาข้อมูลมาใช้ประโยชน์ รวมถึงการเลือกใช้เครื่องมือที่
เหมาะสม เป็นสิ่งที่ควรรู้ และเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝน ซึ่งในปัจจุบันเครื่องมือทางด้านสารสนเทศ เพื่อการ
เก็บรวบรวม ประมวลผล รวมถึงแสดงข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ มีให้ใช้ได้อย่างหลากหลาย ควร
เลือกใช้ให้ถูกต้อง และมีจริยธรรม ควรพิจารณาให้ดีว่า การใช้เครื่องมือข้อความ รูปภาพใดๆ ที่ได้มาควร
ปฏิบัติอย่างไรจึงจะถูกกฎหมาย และจริยธรรม รวมทั้งไม่สร้างความเดือดร้อน ราคาญให้แก่ผู้อื่น จากการ
ใช้สิ่งเหล่านั้น
    เกร็ดหน้ารู้
                ทรัพย์สินทางปัญญา แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่
                ลิขสิทธิ์ (copyright) หมายถึง สิทธิ์แต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทาการ
    ใดๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทาขึ้น อันได้แก่ สิทธิ์ที่จะทาซ้า ดัดแปลง หรือนาออกโฆษณา ไม่ว่าใน
    รูป ลัก ษณะอย่ า งใดหรือวิธีใด รวมทั้งอนุญาตให้ผู้อื่นนางานนั้นไปใช้ด้วย สาหรับโปรแกรม
    คอมพิวเตอร์หรือซอฟต์แวร์ถือเป็นงานที่เข้าข่ายที่มีลิขสิทธิ์
                เครื่องหมายการค้า (trademark) ใช้สัญลักษณ์สากล คือ TM หรือ ® หมายถึง เครื่องหมาย
    ที่ ใ ช้ หรือ จะใช้ เป็ นเครื่อ งหมายเกี่ ย วข้องกั บสินค้ าเพื่ อแสดงว่าสิน ค้าที่ใ ช้ เครื่องหมายของเจ้าของ
    เครื่องหมายการค้านั้น แตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายของบุคคลอื่น โดยสัญลักษณ์อาจจะประกอบ
    ไปด้วย ชื่อ ข้อความ วลี สัญลักษณ์ ภาพ งานออกแบบ
                สิทธิบัตร (patent) หมายถึง สิทธิ์พิเศษที่กฎหมายบัญญัติให้เจ้าของสิทธิบัตรมีสิทธิ์แต่เพียงผู้
    เดีย ว ในการแสวงหาประโยชน์จากการประดิษ ฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่ไ ด้รับสิทธิบัตร
    นั้น เช่น การผลิตและจาหน่าย เป็นต้น
                ส าหรับ การละเมิ ดสิท ธิ์ไ ม่ ว่า จะเป็นการคัดเลือกหรื อผลิตซ้าเกี่ ย วกั บทรัพ ย์ สินทางปัญญา
    ทั้ง 3 ประเภทนี้ถือว่าเป็นการกระทาผิดกฎหมายตามพระราชบัญญัติ
ตัวอย่างการใช้สัญลักษณ์เพื่อบอกข้อกาหนดของการใช้สื่อ
         สัญลักษณ์                                      ความหมาย
                           อนุญาตให้ใช้ ดัดแปลง ทาสาเนา และเผยแพร่ได้ โดยต้องอ้างถึงเจ้าของ
                           ผลงาน
                           อนุญาตให้ใ ช้ ดัดแปลง ทาส าเนา และเผยแพร่ไ ด้ โดยต้องอ้างถึงเจ้าของ
                           ผลงานและ ถ้ามีการแก้ไขต้นฉบับต้องอ้างถึงสัญญาเดิม
                           อนุญาตให้ใ ช้ ดัดแปลง ทาส าเนา และเผยแพร่ไ ด้ โดยต้องอ้างถึงเจ้าของ
                           ผลงานและห้ามใช้ทางการค้า
                           อนุญาตให้ใ ช้ ดัดแปลง ทาส าเนา และเผยแพร่ไ ด้ โดยต้องอ้างถึงเจ้าของ
                           ผลงานและห้ามมีการแก้ไขต้นฉบับ

    เกร็ดน่ารู้ ครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Common:CC)
              เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้การใช้ และเผยแพร่สื่อต่างๆ มีความยืดหยุ่นมากขึ้น ทาให้การ
    ใช้สื่อมีอิสระโดยยังคงรักษาสิทธิ์ของเจ้าของผลงาน บุคคลอื่นสามารถใช้และเผยแพร่สื่อได้ตาม
    เงื่อนไขที่เจ้าของผลงานกาหนด เช่น ต้องระบุที่มาของสื่อ (Attribution:by) ห้ามใช้ทางการค้า
    (Noncommercial:nc) ห้ามแก้ไขต้นฉบับ (No Derivative work:nd) ถ้ามีการแก้ไขต้นฉบับต้องอ้าง
    ถึงสัญญาเดิม (ShareAlike: sa)

More Related Content

What's hot

การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
sa
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
kunanya12
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
Orapan Chamnan
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
miwmilk
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
sunisa3112
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
พัน พัน
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
techno UCH
 

What's hot (19)

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Power Point
Power PointPower Point
Power Point
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศ
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 

Viewers also liked

Viewers also liked (7)

อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
เวิลด์ไวด์เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บเวิลด์ไวด์เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บ
 
จดหมายส่งให้เขต.Doc (1)
จดหมายส่งให้เขต.Doc (1)จดหมายส่งให้เขต.Doc (1)
จดหมายส่งให้เขต.Doc (1)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
 

Similar to แนวการสอบ ม.4

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
chushi1991
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
Nuanlaor Nuan
 
Database
DatabaseDatabase
Database
paween
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Isareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
niwat50
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอน
sariya25
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
สุจิตรา แสงเรือง
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
miwmilk
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
miwmilk
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
miwmilk
 

Similar to แนวการสอบ ม.4 (20)

การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอน
 
01 introduction to data mining
01 introduction to data mining01 introduction to data mining
01 introduction to data mining
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
 

More from ปิยะดนัย วิเคียน

ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ปิยะดนัย วิเคียน
 

More from ปิยะดนัย วิเคียน (20)

การแทรกรูปภาพในเว็บเพจ
การแทรกรูปภาพในเว็บเพจการแทรกรูปภาพในเว็บเพจ
การแทรกรูปภาพในเว็บเพจ
 
การจัดรูปแบบข้อความ
การจัดรูปแบบข้อความการจัดรูปแบบข้อความ
การจัดรูปแบบข้อความ
 
การจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ
การจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจการจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ
การจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ
 
เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
 
กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยี
กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยีกลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยี
กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยี
 
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์
 
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์
 
เฉลยแบบทดสอบ html
เฉลยแบบทดสอบ htmlเฉลยแบบทดสอบ html
เฉลยแบบทดสอบ html
 
เฉลยแบบทดสอบ
เฉลยแบบทดสอบเฉลยแบบทดสอบ
เฉลยแบบทดสอบ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
รูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่ายรูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่าย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56
 
ผลงานการออกแบบ Logo
ผลงานการออกแบบ Logoผลงานการออกแบบ Logo
ผลงานการออกแบบ Logo
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
บริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ตบริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ต
 

แนวการสอบ ม.4

  • 1. ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ 1. ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ ข้อมูล (data) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายคุณลักษณะของวัตถุ เหตุการณ์ กิจกรรม โดยบันทึกจากการ สัง เกต การทดลอง หรือการสารวจด้วยการแทนรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เช่น บันทึก ไว้เป็น ตัวเลข ข้อความ รูปภาพ และสัญลักษณ์ ตัวอย่างของข้อมูลต่างๆ ที่นักเรียนสามารถพบเห็นได้เป็น ประจา เช่น เกรดที่นักเรียนได้รับในแต่ละรายวิชา ราคาของสินค้าชนิดต่างๆ ในห้างสรรพสินค้า รูปภาพ และข้อความต่างๆ รูปแสดง ตัวอย่างข้อมูลที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน สารสนเทศ (information) คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการนาข้อมูลมาประมวลผล เพื่อให้ได้สิ่งที่เป็น ประโยชน์ในการนาไปใช้งานมากขึ้น เช่น ส่วนสูงของนักเรียนหญิงและนักเรียนชายแต่ละคนในชั้นเรียน เป็นข้อมูล จะสามารถสร้างสารสนเทศจากข้อมูลเหล่านี้ได้หลายแบบ เพื่อนาไปใช้ในจุดประสงค์ที่ แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น การนาข้อมูลเหล่านี้มาเรียงตามลาดับจากมากไปน้อย หรือการหาค่าเฉลี่ยของ ส่วนสูงของนักเรียน ความรู้ (knowledge) เป็นคาที่มีความหมายกว้าง และใช้กันโดยทั่วไป ในด้านวิทยาการ คอมพิวเตอร์หรือวิศวกรรมคอมพิวเตอร์กล่าวถึงความรู้ไว้ในหลาย แง่มุมหนึ่งที่สอดคล้องกับข้อมูลและ สารสนเทศ ความรู้ คือ สิ่งที่ประกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศที่ถูกจัดรูปแบบและประมวลผลเพื่อนาไป ประยุกต์ใช้ในปัญหาที่ต้องการนาข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ไปแก้ไข นอกจากนี้ ยั ง มี นิ ย ามของความรู้ อี ก ด้ า นหนึ่ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เรื่ อ งของข้ อ มู ล และ สารสนเทศ คือ ความรู้ที่แฝงอยู่ในข้อมูล เป็นสิ่งที่สามารถสกัดจากสารสนเทศที่มีรูปแบบที่น่าสนใจ เป็น จริงสาหรับข้อมูลใหม่หรือข้อมูลที่ไม่เคยเห็นมาก่อน เป็นรูปแบบใหม่ที่มนุษย์ไม่เคยเห็นมาก่อน ซึ่ง ผลลั พ ธ์ สุ ด ท้ า ยจากการวิ เ คราะห์ ส ารสนเทศจะได้ เ ป็ น ความรู้ ที่ เ ป็ นประโยชน์ ต่ อ ผู้ ใ ช้ ไ ด้ เราเรียกกระบวนการที่สามารถสกัดความรู้จากข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้เป็นอย่างดี ในฐานข้อมูล ว่า การค้นพบความรู้ในฐานข้อมูล (knowledge discovery in databases) ดังรูป
  • 2. รูปแสดง การค้นพบความรู้ในฐานข้อมูล 2. ลักษณะของข้อมูลที่ดี 1) ความถูกต้องของข้อมูล เป็นลักษณะสาคัญยิ่งของข้อมูล ถ้าข้อมูลไม่ถูกต้องแล้ว เราจะไม่ สามารถได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องได้เลย ซึ่งประเด็นนี้เป็นเรื่องสาคัญที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับข้อมูลที่มี ขนาดใหญ่ และไม่มีการตรวจสอบ เช่น ข้อมูลในโลกอินเทอร์เน็ต ซึ่งจาเป็นต้องได้รับการตรวจสอบก่อน จะนามาใช้เสมอ นอกจากนี้ข้อมูลบางประเภท เช่น ข้อมูลเสียงที่เก็บจากไมโครโฟน ดังรูป อาจมีปัญหาเกี่ยวกับ สั ญ ญาณเสี ย งรบกวนเกิ ด ขึ้ น ดั ง นั้ น ข้ อ มู ล ประเภทนี้ จึ ง ต้ อ งได้ รั บ การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพหรื อ เรียกว่า กระบวนการลดสัญญาณรบกวน จึงสามารถนาไปใช้งานได้ สาหรับข้อมูลที่ได้รับการบันทึกด้วยมนุษย์ โดยมากมักต้องผ่านการตรวจสอบก่อนเสมอ ซึ่งอาจ ตรวจสอบโดยมนุษย์ หรือตรวจสอบโดยระบบ ตัวอย่างเช่น ข้อมูลที่มีความสาคัญอาจต้องป้อนสอง ครั้ง เพื่อป้องกันความผิดพลาด ซึ่งนักเรียนสามารถเห็นตัวอย่างของข้อมูลเหล่านี้ได้จากการป้อนรหัสผ่าน เวลา ลงทะเบียนตามเว็บไซต์ต่างๆ ที่นักเรียนมักต้องป้อนรหัสผ่านหรืออีเมล์สองครั้ง เพื่อป้องกัน ข้อผิดพลาด ดังรูป นอกจากนี้ข้อมูลที่เป็นรหัสตัวเลขสาคัญ มักจะมีตัวเลขซึ่งเป็นหลักตรวจสอบแฝงไว้ เสมอ เช่น ข้อมูลหมายเลขบัตรเครดิต 16 หลัก เมื่อนามาผ่านกระบวนการประมวลผล จะสามารถ ตรวจสอบได้ว่า หมายเลขบัตรเครดิตนั้นถูกต้องหรือไม่ เป็นต้น 2) ความสมบูรณ์ครบถ้วนในการนาไปใช้งาน ข้อมูลบางประเภทหากไม่ครบถ้วน จัดเป็นข้อมูลที่ ด้อยคุณภาพได้เช่นกัน เช่น ข้อมูลประวัติคนไข้ หากไม่มีหมู่เลือดของคนไข้ จะไม่สามารถใช้ได้ในกรณีที่ ผู้ร้องขอข้อมูลต้องการข้อมูลหมู่เลือดของคนไข้ หรือข้อมูลที่อยู่ของลูกค้า ที่กรอกผ่านแบบฟอร์ม ถ้ามีแต่ ชื่อและนามสกุลโดยไม่มีข้อมูล บ้านเลขที่ ถนน แขวง/ตาบล เขต/อาเภอ หรือจังหวัด ข้อมูลเหล่านั้นก็ไม่ สามารถนามาใช้ได้เช่นกัน 3) ความถูกต้องตามเวลา ในบางกรณีข้อมูลผูกอยู่กับเงื่อนไขของเวลา ซึ่งถ้าผิดจากเงื่อนไขของ เวลาไปแล้ว ข้อมูลนั้นอาจลดคุณภาพลงไป หรือแม้กระทั่งอาจไม่สามารถใช้ได้ เช่นข้อมูลการให้ยาของ คนไข้ในโรงพยาบาล ดังรูป ในทางการแพทย์แล้ว ข้อมูลจะต้องถูกใส่เข้าไปในฐานข้อมูลที่คนไข้ได้รับ
  • 3. ยา เพื่อให้แพทย์คนอื่นๆ ได้ทราบว่า คนไข้ได้รับยาชนิดนี้เข้าไปแล้ว แต่ข้อมูลเรื่องการให้ยาของคนไข้ นี้ อาจไม่จาเป็นต้องได้รับการปรับทันทีสาหรับแผนกการเงิน เพราะทางแผนกการเงินจะคิดเงินก็ต่อเมื่อ ญาติคนไข้มาตรวจสอบ หรือคนไข้กาลังจะออกจากโรงพยาบาล ข้อมูลการติดตามตาแหน่งของรถยนต์ด้วยระบบจีพี เอส สาหรับบริษัทที่ต้องทางานการติดตาม รถยนต์ ข้อมูลตาแหน่งรถยนต์ จะต้องได้รับการปรับให้เป็นจริงตลอดเวลา หากข้อมูลนั้นปรับทุกๆ หนึ่ง ชั่วโมงจะไม่มีประโยชน์ในการติดตามตาแหน่งของรถยนต์ ดังนั้นในเรื่องของความถูกต้องตามเวลาของ ข้อมูล จึงเป็นเรื่องสาคัญประการหนึ่งที่ต้องนามาพิจารณาเมื่อต้องมีการจัดเก็บ ข้อมูลหรือประมวลผล ข้อมูล รูปแสดง ระบบติดตามรถยนต์ด้วยจีพีเอส 4) ความสอดคล้องกันของข้อมูล ในกรณีที่ข้อมูลมาจากหลายแหล่ง จะเกิดปัญหาขึ้นในเรื่องของ ความสอดคล้องกันของข้อมูล เช่น ในบริษัทแห่งหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูลที่อยู่ลูกค้า หากต้องการนาข้อมูลไป ควบรวมกับบริษัทอีกแห่งหนึ่งซึ่งมีข้อมูลของลูกค้าอยู่ เช่นกัน แต่ข้อมูลในการจัดส่งเอกสารของบริษัทแห่ง แรก เป็นที่อยู่ของที่พักอาศัยของลูกค้า ในขณะที่ข้อมูลในบริษัทที่สองเป็นที่อยู่ของสถานที่ ทางานของ ลูกค้า ข้อมูลจากทั้งสองบริษัทเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง สอดคล้องตามเวลาทั้งคู่ แต่ถ้าต้องการเก็บข้อมูลที่อยู่ ลูกค้าเพียงที่อยู่เดียว ก็จะเกิดปัญหาขึ้นได้ ตัวอย่างของการไม่สอดคล้องกันของข้อมูล รูปแสดง ตัวอย่างของการไม่สอดคล้องกับของข้อมูล
  • 4. 3. การจัดเก็บข้อมูล ข้อดีในการนาฐานข้อมูลไปใช้ในองค์กรหรือหน่วยงาน เช่น  การจัดเก็บอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดภาระการเก็บเอกสารที่เป็นกระดาษได้ รวมถึง การทาซ้าเพื่อสารองข้อมูล สามารถทาได้สะดวกและรวดเร็ว  การตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลประวัติการบารุงรักษาของ รถยนต์ และข้อมูลประวัติคนไข้ ผู้ใช้ที่ต้องนาข้อมูลเหล่านี้ไปใช้งาน สามารถเข้าถึง ระบบฐานข้อมูลและนาข้อมูลที่ต้องการไปใช้ได้  การจากัดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ในแต่ละระดับขององค์กร เช่น ผู้บริหาร สามารถเข้าถึงข้อมูลของทุกหน่วยงานได้ แต่ผู้ใช้ทั่วไปในแผนกการเงิน ไม่สามารถเข้าถึง ข้อมูลประวัติของฝ่ายบุคคลได้ เป็นต้น รูปแสดง ข้อดีในการนาฐานข้อมูลไปใช้ในองค์กร ลาดับชั้นของข้อมูลในฐานข้อมูล ก่อนจะกล่าวถึงลาดับชั้นของข้อมูลในฐานข้อมูลสิ่งแรกที่ต้อง กล่าวถึงก่อน คือ ลาดับชั้นล่างสุดของการแทนข้อมูล นั่นคือ การแทนข้อมูลด้วยตัวเลขฐานสอง ซึ่ง ประกอบด้วยตัวเลขสองตัว คือ ‘0’ และ ‘1’ ในทางคอมพิวเตอร์ จะเรียกตัวเลขฐานสองหนึ่งหลักนี้ ว่า 1 บิต (bit) ซึ่งถือว่าเป็นหน่วยเล็กที่สุดของข้อมูล และหากนาบิตมาต่อกันจานวน 8 บิต จะเรียกว่า 1 ไบต์ (byte) 1) เขตข้อมูล (field) เมื่อนาข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทนข้อมูลใดๆ ที่ต้องการเก็บใน ฐานข้อมูลเราจะจัดข้อมูลที่เป็นบิตนี้มารวมกันเพื่อแทนความ หมายบางอย่าง หน่วยย่อยที่สุดที่มีความหมาย ในฐานข้อมูลนี้เรียกว่า เขตข้อมูล โดยเขตข้อมูลอาจแทนข้อมูลดังตัวอย่างต่อไปนี้  จานวนเต็ม (integer) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลขขนาด 32 บิต ซึ่งขนาดของ ตัวเลขนี้อาจเปลี่ย นแปลงไปตามเทคโนโลยีของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเลขฐานสอง ขนาด 32 บิ ต สามารถแทนตั ว เลขจ านวนเต็ ม ได้ ตั้ ง แต่ -2,147,483,648 ถึ ง 2,147,483,647 ( -231 ถึง 231 -1) แต่ถ้าเป็นเขตข้อมูลที่ระบุไว้ว่า เป็นตัวเลขจานวนเต็มไม่ ระบุ เ ครื่ อ งหมาย (unsigned integer) เท่ า นั้ น จะสามารถแทนตั ว เลขจ านวนเต็ ม ได้ ตั้งแต่ 0 ถึง 4,294,967,295 (232 -1)
  • 5.  จานวนทศนิยม (decimal number) ในคอมพิวเตอร์จะเก็บตัวเลขทศนิยม โดยใช้ระบบ โฟลททิงพอยต์ (floating point) ซึ่งการเก็บในลักษณะนี้ ไม่มีการกาหนดตาแหน่งตายตัว สาหรับตาแหน่งของจุด โดยทั่วไปการเก็บข้อมูลตัวเลขจะมีสองขนาด คือ 32 บิต และ 64 บิต  ข้อความ (text) ในการแทนข้อความนั้น จะต้องเปลี่ยนข้อความให้เป็นรหัสซึ่งใช้แทนตัว อักขระแต่ละตัวเสียก่อน ตามมาตรฐานโดยทั่วไปจะใช้เป็นรหัสแอสกี (ASCII code) ซึ่ง ต่อมามีการใช้รหัสแบบยูนิโคด (Unicode) ที่สามารถแทนภาษาได้หลายภาษามากกว่า รหัสแอสกี ความยาวของเขตข้อมูลประเภทนี้ ขึ้นอยู่กับจานวนตัวอักขระในข้อความ  วันเวลา (date/time) ข้อมูลที่เป็นวันเวลา เช่น วันที่เริ่มใช้งาน วันลงทะเบียน และซื้อ สินค้า มีความแตกต่างจากข้อมูลประเภทอื่น ดังนั้นจึงต้องมีชนิดของข้อมูลเป็นวัน เวลา เพือเขตข้อมูลที่ต้องการเก็บข้อมูลเป็นเวลา ่  ไฟล์ (file) เขตข้อมูลบางประเภทใช้เก็บไฟล์รูปภาพหรือไฟล์อื่นๆ ซึ่งเขตข้อมูล ประเภท เป็นเขตข้อมูลขนาดใหญ่ โดยปกติแล้วจะมีความยาวมากกว่าเขตข้อมูลประเภท อื่นๆ โดยเขตข้อมูลจะเก็บข้อมูลในลักษณะเป็นบิตเรียงต่อกัน รูปแสดง ตัวอย่างการกาหนดชื่อและขนาดของเขตข้อมูล 2) ระเบียน (record) คือ กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยเขตข้อมูลแต่ละส่วนอาจจะ เป็นข้อมูลต่างชนิดกัน ระเบียนแต่ละระเบียนจะประกอบด้วยโครงสร้างเขตข้อมูลที่เหมือนกัน เกร็ดน่ารู้ การเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขจานวนจริงเครื่องคอมพิวเตอร์จะเก็บตามมาตรา IEEE 754 ซึ่ง ตัวอย่างของการเก็บข้อมูลจะเป็นดังนี้ 20.65625 เมื่อเปลี่ยนแปลงเป็นฐานสองจะได้ 10100.10101 ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0100.10101 x 24 จะถูกเก็บเป็นระเบียน รูปแสดง ตัวอย่างระเบียน
  • 6. 3) ตาราง (table) คื อ กลุ่มของระเบียน ซึ่งเขตข้อมูล ในแต่ละระเบียนจะเก็บข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์กัน ในตารางจะเก็บข้อมูลหลายๆ ระเบียน แต่ละระเบียนจะมีโครงสร้างเหมือนกันใน ตาราง นอกจากจะเก็บข้อมูลหลายระเบียนแล้ว ยังสามารถอ้างถึงระเบียนแต่ละระเบียนได้อีกด้วย รูปแสดง ตัวอย่างตารางข้อมูลนักเรียน 4) ฐานข้อมูล (database) เป็นที่รวมของตารางหลายๆ ตารางเข้าไว้ด้วยกัน ตามตารางจะมี ความสัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลซึ่งเหมือนกันเป็น ตัวเชื่อมโยงระหว่างบางตารางอาจเป็น ตารางที่เก็บข้อมูลไว้เฉพาะของตนเองโดย ไม่เกี่ยวข้องกับตารางอื่นบางตาราง อาจต้องเชื่อมโยงกับเขต ข้อมูลของตารางอื่นๆ ตัวอย่างรูปของฐานข้อมูล ซึ่งเป็นฐานข้อมูลเก็บข้อมูลของนักเรียน มีตารางหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูล นักเรียน โดยมีเขตข้อมูลเป็น รหัสนักเรียน ชื่อ นามสกุล และที่อยู่ ตารางหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูลสุขภาพของ นักเรียน โดยมีเขตข้อมูลเป็น รหัสนักเรียน ส่วนสูง และวันที่เก็บข้อมูล (วันที่วัด) แสดงตัวอย่างฐานข้อมูลซึ่งส่วนหนึ่งใช้เก็บข้อมูลนักเรียน 4. จริยธรรมในโลกของข้อมูล คาว่าจริยธรรมเป็นคาที่มีความหมายกว้างแม้กระทั่งในด้านคอมพิวเตอร์ ก็มีการกล่าวถึงในเรื่อง จริยธรรมเช่นกัน ในที่นี้จะกล่าวถึงจริยธรรม ในความหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและสารสนเทศในประเด็น ต่างๆ ดังนี้ 4.1 ความเป็นส่วนตัว เมื่อข้อมูลปรากฏอยู่ในโลกออนไลน์มากขึ้น ทาให้การรวบรวมข้อมูล การ เข้าถึง การค้นหา และการแบ่งปันข้อมูลส่วนบุคคลเป็นเรื่องที่สามารถทาได้ง่ายและเร็วขึ้น ทาให้ข้อมูล บางประเภทที่ มี ความเป็ นส่วนตัวสูง เช่น เลขประจาตัวประชาชน วันเดือนปีเกิ ด หมายเลข
  • 7. โทรศัพท์มือถือ ข้อมูลประวัติการรักษา อาจรั่วไหลไปสู่สาธารณะได้ บางครั้งข้อมูลส่วนตัวเหล่านี้อาจถูก นาไปใช้โดยผิดวัตถุประสงค์ของเจ้าของข้อมูล เช่น ข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์มือถือซึ่งถูกเก็บไว้โดย สถานพยาบาล อาจรั่วไหลไปสู่บริษัทที่มีการประชาสัมพันธ์การขายผ่านโทรศัพ ท์มือถือ อาจทาให้เจ้าของ หมายเลขโทรศัพท์นั้น ถูกรบกวนโดยไม่ได้ตั้งใจ เป็นต้น รูปแสดง การรบกวนความเป็นส่วนตัวโดยใช้โทรศัพท์มือถือ ก่อนจะเผยแพร่ข้อมูลทุกครั้ง ต้องคานึงถึงข้อมูลที่มีความเป็นส่วนตัว ผลเสียจากการเผยแพร่ ข้ อ มู ล เหล่ า นี้ อาจย้ อ นกลั บ มาสร้ า งความเดื อ ดร้ อ นให้ กั บ ตนเองหรื อ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ ใ น อนาคต เช่น นักเรียนโพสต์รูปของตนเองและ เพื่อนไว้ในเว็บไซต์เครือข่ายทางสังคม แต่เพื่อนของ นักเรียนอาจได้รับผลกระทบจากรูปนั้นก็เป็นได้ รูปแสดง ตัวอย่างการกาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้แต่ละกลุ่ม ในบางกรณีก ารไม่เปิดเผยข้อมู ลอาจเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ได้ เช่น ในการปรึกษาเกี่ย วกั บ การแพทย์ เรื่องความผิดปกติทางเพศ หรือการเป็นโรคติดต่อร้ายแรง หากต้องเปิดเผยข้อมูลจริง เหล่านี้ การใช้นามแฝงแทนจะเป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการแลกเปลี่ยนข้อมูล แต่กรณีเหล่านี้จะไม่ สามารถทาได้ในเว็บไซต์ที่กาหนดให้กรอกข้อมูลจริง เพื่อสมัครใช้บริการ 4.2 สิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล เพื่อเป็นการรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูล ในการเก็บข้อมูลใน ฐานข้อมูลจะมีการกาหนดสิทธิ์ในการในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้แต่ละกลุ่ม โดยระบบจะอนุญาตให้ผู้ใช้
  • 8. คนหนึ่งเข้าถึงข้อมูลต้องมีการตรวจสอบว่า จะให้ใช้ข้อมูลใดได้บ้าง หรือไม่มีสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล ใดบ้าง ตัวอย่างเช่น พนักงานแผนกการเงินซึ่งสามารถเข้าถึงข้อมู ลเงินเดือน ไม่ควรได้สิทธิ์ในการเข้าถึง ข้อมูลประวัติส่วนตัวของพนักงานทั่วไปได้ เป็นต้น หากการเข้าใช้ระบบเพื่อการเข้าถึงข้อมูลเป็นส่วนหนึ่งของเรื่องสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล ดังนั้นสิทธิ์ ในการใช้ระบบก็จะจัดอยู่ในเกณฑ์ข้อนี้ด้วย โดยปกติแล้วการเข้าถึงระบบใดๆ นั้น ผู้ใช้จะต้องได้รับการ อนุญาตจากผู้ดูแลระบบ (system administration) ซึ่งมีหน้าที่คอยดูแล บารุงรักษาระบบให้สามารถทางาน ได้เป็นปกติ การเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต มีความผิดตามพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2550 เป็นต้นมา มี ความผิดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลหลายข้อ ยกตัวอย่างเช่น มาตรา 5 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและ มาตรการนั้นมิได้มีไ ว้ส าหรับตน ต้องระวางโทษจาคุก ไม่เกิ นหกเดือน หรือปรับไม่เกิ นหนึ่งหมื่น บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา 7 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และ มาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจา ทั้งปรับ นอกจากนี้ยังมีการระบุความผิดที่เกี่ยวข้องกับการดักรับข้อมูลซึ่งเดินทางอยู่ในระบบเครือข่าย โดย การดักรับนี้ไม่ได้รับอนุญาต ก็มีความผิดเช่นกัน
  • 9. มาตรา 8 ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ ซึ่ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นอยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้ เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือ ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ จะเห็นได้ว่า จากตัวอย่างของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 นั้น การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต มีความผิดทั้งจาคุกและปรับ ดังนั้น ทุกคนต้องพึงระวังการใช้คอมพิวเตอร์และการเข้าใช้งานเครือข่าย แม้ว่าการกระทาบางอย่างอาจไม่ใช่ ความผิดขั้นร้ายแรงถึงกับมีโทษจาคุกหรือปรับเงิน แต่การกระทาการใดๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา นั้น อาจก่อความราคาญหรือรบกวนการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นได้เช่นกัน 4.3 ทรัพย์สินทางปัญญา ในกระบวนการผลิตโปรแกรม ระบบปฏิบัติการ รูปภาพเพลง หรือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จาเป็นต้องใช้ต้นทุนสูง และใช้เวลาในการผลิตยาวนาน แต่เมื่อสิ่งเหล่านี้ปรากฏอยู่ ในรู ป แบบของข้ อ มู ล ดิ จิ ทั ล ผู้ ใ ช้ ค นอื่ น ๆ สามารถท าซ้ าและน าไปใช้ โ ดยไม่ ไ ด้ จ่ า ยเงิ น ให้ กั บ ผู้ผลิต ก่อให้เกิดความเสียหายทางธุรกิจกับเจ้าของข้อมูล ผู้ใช้จึงต้องพิจารณาขอบเขตของสิทธิ์ที่ตนเอง ได้รับในข้อมูลดังกล่าว และเป็นการสมควรหรือไม่ที่จะดาวน์โหลดและแจกจ่ายข้อมูลดิจิทัลเหล่านั้น นอกจากนี้การนาข้อความหรือรูปภาพจากสื่ออินเตอร์เน็ตมาใช้ จะต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลให้ ถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การคัดลอกข้อความหรือรูปภาพจากเว็บประกอบในการทารายงาน โดยไม่อ้างอิง แหล่งที่มา ถือเป็นการกระทาที่ผิดอย่างรุนแรงตามหลักจริยธรรมสากลของการนาข้อมูลไปใช้
  • 10. รูปแสดง การคัดลอกข้อความหรือรูปภาพจากเว็บประกอบในการทารายงาน โดยไม่อ้างอิงแหล่งที่มา จะเห็นว่า ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้เป็นสิ่งที่มีประโยชน์และมีมูลค่า ถึงแม้ว่าสิ่งต่างๆ เหล่านี้ จะไม่ได้รับการตีราคาออกมาเป็นจานวนเงิน แต่ผู้ที่มีข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ รวมถึงมี วิธีการจัดการกับสิ่งเหล่านี้ได้ดีกว่า ย่อมสามารถบริหารงานภายในองค์กร และสามารถแข่งขันกับโลก ภายนอกได้เป็นอย่างดี ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การนาข้อมูลมาใช้ประโยชน์ รวมถึงการเลือกใช้เครื่องมือที่ เหมาะสม เป็นสิ่งที่ควรรู้ และเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝน ซึ่งในปัจจุบันเครื่องมือทางด้านสารสนเทศ เพื่อการ เก็บรวบรวม ประมวลผล รวมถึงแสดงข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ มีให้ใช้ได้อย่างหลากหลาย ควร เลือกใช้ให้ถูกต้อง และมีจริยธรรม ควรพิจารณาให้ดีว่า การใช้เครื่องมือข้อความ รูปภาพใดๆ ที่ได้มาควร ปฏิบัติอย่างไรจึงจะถูกกฎหมาย และจริยธรรม รวมทั้งไม่สร้างความเดือดร้อน ราคาญให้แก่ผู้อื่น จากการ ใช้สิ่งเหล่านั้น เกร็ดหน้ารู้ ทรัพย์สินทางปัญญา แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ลิขสิทธิ์ (copyright) หมายถึง สิทธิ์แต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทาการ ใดๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทาขึ้น อันได้แก่ สิทธิ์ที่จะทาซ้า ดัดแปลง หรือนาออกโฆษณา ไม่ว่าใน รูป ลัก ษณะอย่ า งใดหรือวิธีใด รวมทั้งอนุญาตให้ผู้อื่นนางานนั้นไปใช้ด้วย สาหรับโปรแกรม คอมพิวเตอร์หรือซอฟต์แวร์ถือเป็นงานที่เข้าข่ายที่มีลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า (trademark) ใช้สัญลักษณ์สากล คือ TM หรือ ® หมายถึง เครื่องหมาย ที่ ใ ช้ หรือ จะใช้ เป็ นเครื่อ งหมายเกี่ ย วข้องกั บสินค้ าเพื่ อแสดงว่าสิน ค้าที่ใ ช้ เครื่องหมายของเจ้าของ เครื่องหมายการค้านั้น แตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายของบุคคลอื่น โดยสัญลักษณ์อาจจะประกอบ ไปด้วย ชื่อ ข้อความ วลี สัญลักษณ์ ภาพ งานออกแบบ สิทธิบัตร (patent) หมายถึง สิทธิ์พิเศษที่กฎหมายบัญญัติให้เจ้าของสิทธิบัตรมีสิทธิ์แต่เพียงผู้ เดีย ว ในการแสวงหาประโยชน์จากการประดิษ ฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่ไ ด้รับสิทธิบัตร นั้น เช่น การผลิตและจาหน่าย เป็นต้น ส าหรับ การละเมิ ดสิท ธิ์ไ ม่ ว่า จะเป็นการคัดเลือกหรื อผลิตซ้าเกี่ ย วกั บทรัพ ย์ สินทางปัญญา ทั้ง 3 ประเภทนี้ถือว่าเป็นการกระทาผิดกฎหมายตามพระราชบัญญัติ
  • 11. ตัวอย่างการใช้สัญลักษณ์เพื่อบอกข้อกาหนดของการใช้สื่อ สัญลักษณ์ ความหมาย อนุญาตให้ใช้ ดัดแปลง ทาสาเนา และเผยแพร่ได้ โดยต้องอ้างถึงเจ้าของ ผลงาน อนุญาตให้ใ ช้ ดัดแปลง ทาส าเนา และเผยแพร่ไ ด้ โดยต้องอ้างถึงเจ้าของ ผลงานและ ถ้ามีการแก้ไขต้นฉบับต้องอ้างถึงสัญญาเดิม อนุญาตให้ใ ช้ ดัดแปลง ทาส าเนา และเผยแพร่ไ ด้ โดยต้องอ้างถึงเจ้าของ ผลงานและห้ามใช้ทางการค้า อนุญาตให้ใ ช้ ดัดแปลง ทาส าเนา และเผยแพร่ไ ด้ โดยต้องอ้างถึงเจ้าของ ผลงานและห้ามมีการแก้ไขต้นฉบับ เกร็ดน่ารู้ ครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Common:CC) เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้การใช้ และเผยแพร่สื่อต่างๆ มีความยืดหยุ่นมากขึ้น ทาให้การ ใช้สื่อมีอิสระโดยยังคงรักษาสิทธิ์ของเจ้าของผลงาน บุคคลอื่นสามารถใช้และเผยแพร่สื่อได้ตาม เงื่อนไขที่เจ้าของผลงานกาหนด เช่น ต้องระบุที่มาของสื่อ (Attribution:by) ห้ามใช้ทางการค้า (Noncommercial:nc) ห้ามแก้ไขต้นฉบับ (No Derivative work:nd) ถ้ามีการแก้ไขต้นฉบับต้องอ้าง ถึงสัญญาเดิม (ShareAlike: sa)