SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
ข้อ มูล   สารสนเทศ   และความรู้
           ข้อ มูล (DATA) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายคุณลักษณะของ
วัตถุ  เหตุการณ์  กิจกรรม  โดยบันทึกจากการสังเกต  การทดลอง  หรือ
การสำารวจด้วยการแทนรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง  เช่น  บันทึกไว้เป็น
ตัวเลข  ข้อความ  รูปภาพ  และสัญลักษณ์  ตัวอย่างของข้อมูลต่าง ๆ ที่
นักเรียนสามารถพบเห็นในชีวิตประจำา  เช่น  เกรดที่นักเรียนได้รับใน
แต่ละวิชา  ราคาสินค้าชนิดต่าง ๆ ในห้างสรรพสินค้า   รูปภาพและ
ข้อความต่าง ๆ ที่ปรากฏในเว็บไซต์
          สารสนเทศ   (Information)  หมายถึง  ผลลัพธ์ที่เกิดจาก
การนำาข้อมูลมาประมวลผล  เพื่อให้ได้สิ่งที่เป็นประโยชน์ในการนำาไปใช้
งานมากขึ้น เช่น  ส่วนสูงของนักเรียนหญิงและนักเรียนชายแต่ละคนใน
ชั้นเรียนเป็นข้อมูล  จะสามารถสร้างสารสนเทศจากข้อมูลเหล่านี้ได้
หลายรูปแบบ  เพื่อนำาไปใช้ในจุดประสงค์ที่แตกต่างกัน   ตัวอย่าง
เช่น  การนำาข้อมูลเหล่านี้มาเรียงตามลำาดับจากมากไปน้อย  หรือการหา
ค่าเฉลี่ยของส่วนสูงของนักเรียน
          ความรู้  (Knowledge)  คือ  สิ่งที่ประกอบด้วยข้อมูลและ
สารสนเทศที่ถกจัดรูปแบบและประมวลผลเพื่อนำาไปประยุกต์ใช้ในปัญหา
               ู
ที่ต้องการนำาข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ไปแก้ไข
นิยามความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของข้อมูลและสารสนเทศ   คือ   ความรู้ที่
แฝงอยู่ในข้อมูล  เป็นสิ่งที่สามารถสกัดจากสารสนเทศที่มีรูปแบบน่า
สนใจ  เป็นจริงสำาหรับข้อมูลใหม่หรือข้อมูลที่ไม่เคยเห็นมาก่อน  เป็นรูป
แบบใหม่ที่มนุษย์ไม่เคยเห็นมาก่อน  ซึ่งผลลัพธ์สุดท้ายจากการวิเคราะห์
 การจัด การความ
รู้  (knowledge  management)
        ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้  สามารถช่วย
องค์กรนการจัดการความรู้เหล่านีได้  โดยระบบนี้  จะทำางาน
                                    ้
แตกต่างกันไปตามจุดมุ่งหมายขององค์กร  ผู้ใช้ในองค์กร
ประกอบด้วย  พนักงานทั่วไป  ผู้บริหาร หรือบุคคล
ภายนอก  เป็นผู้สร้างสารสนเทศเพื่อเก็บไว้ในระบบ โดย
ระบบจะต้องสามารถจัดหมวดหมู่  ค้นหา รวมถึงกระจาย
สารสนเทศให้กับผู้ใช้คนอืน  เพือให้ผู้ใช้แต่ละคนสามารถ
                            ่     ่
นำาสารสนเทศไปใช้ได้ตามสิทธิของตนเอง
                                ์
        ความฉลาด
ร่วม  (collective  intelligence)  เป็นการสร้างความ
ฉลาดหรือสร้างความรู้ร่วมกันระหว่างผู้ใช้  ตัวอย่างของการ
สร้างความรู้ในลักษณะนี้  เช่น  วิกิพีเดีย  (Wikipedia)  ผู้
ใช้แต่ละคนสามารถเพิมเติม  แก้ไข  ข้อมูลร่วมกันได้  โดยผู้
                         ่
ใช้คนอื่น ๆ ที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการเพิ่มเติมหรือแก้ไข
ลัก ษณะของข้อ มูล ทีด ี
                    ่
 ข้อมูลที่ดควรมีลักษณะดังนี้
            ี
1)  ความถูก ต้อ งของ
ข้อ มูล                                     3)  ความถูก ต้อ ง
ตามเวลา
2)  ความสมบูร ณ์ค รบถ้ว นในการนำา ไปใช้
งาน        4)  ความสอดคล้อ งกัน ของข้อ มูล
ประเภทของข้อ มูล    จำาแนกข้อมูลออกเป็นประเภท จะแบ่งออก
เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
          1. ข้อ มูล ปฐมภูม ิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลที่
ได้จากการรวบรวม หรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจจะ
ได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำารวจ และการจดบันทึก
ตลอดจนการจัดหามาด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติ เช่น เครื่องอ่านรหัส
แท่ง เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก      
           2. ข้อ มูล ทุต ิย ภูม ิ (Secondary Data) หมายถึง
การจัด เก็บ ข้อ มูล

         การจัด เก็บ อย่า งมีป ระสิท ธิภ าพ  สามารถลด
ภาระการเก็บเอกสารที่เป็นกระดาษได้  รวมถึงการทำา
ซำ้าเพื่อสำารองข้อมูล  สามารถทำาได้สะดวกและรวดเร็ว
         การตอบสนองต่อ ความต้อ งการได้อ ย่า
รวดเร็ว   เช่น  ข้อมูลประวัติการบำารุงรักษารถยนต์
และข้อมูลประวัติคนไข้  ผู้ใช้ที่ต้องการนำาข้อมูลเหล่านี้
ไปใช้งาน  สามารถเข้าถึงระบบฐานข้อมูลนำาข้อมูลที่
ต้องการไปใช้ได้
         การจำา กัด สิท ธิใ นการเข้า ถึง ข้อ มูล ให้แ ก่ผ ู้
                          ์
ใช้ใ นแต่ล ะระดับ ขององค์ก ร   เช่น  ผู้บริหาร
สามารถเข้าถึงข้อมูลของทุกหน่วยงานได้  แต่ผู้ใช้
ทั่วไปในแผนกการเงิน  ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลประวัติ
ลำา ดับ ขั้น ของข้อ มูล ในฐานข้อ มูล  
ลำาดับชั้นล่างสุดของการแทนข้อมูล  นั่นคือ  การแทนข้อมูลด้วยตัวเลขฐาน
สอง  ซึงประกอบด้วยตัวเลขสองตัว  คือ ‘0’   และ   ‘1’    ในทาง
         ่
คอมพิวเตอร์  จะเรียกตัวเลขฐานสองหนึ่งหลักนี้ว่า  1  บิต  (บิต)  ซึ่งถือว่าเป็น
หน่วยเล็กทีสุดของข้อมูล  และหากนำาบิตมาต่อกันจำานวน  8  บิต  จะเรียก
              ่
ว่า  1  ไบต์  (byte)   
             1)เขตข้อ มูล   (field)  ข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทน
ข้อมูลใด ๆ ทีต้องการเก็บในฐานข้อมูล   ต้องจัดข้อมูลทีเป็นบิตมารวมกันเพื่อ
                 ่                                    ่
แทนความหมายบางอย่าง  โดยเขตข้อมูลอาจแทนข้อมูลดังต่อไปนี้
 จำา นวนเต็ม   (integer)  คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลข
ขนาด  32  บิต  ซึ่งขนาดของตัวเลขอาจเปลี่ยนไปตามเทคโนโลยีของเครื่อง
คอมพิวเตอร์  ตัวเลขฐานสองขนาด  32  บิต  สามารถแทนตัวเลขจำานวนเต็มได้
ตั้งแต่                   -2,147,483,648  ถึง  2,147,483,647  (-231  ถึง  231  -1
)
-จำา นวนทศนิย ม   (decimal  number)  ในคอมพิวเตอร์จะเก็บตัวเลข
ทศนิยม  โดยใช้ระบบโฟลททิ้งพอยต์  (floating  point)  การเก็บในลักษณะนี้
ไม่มีการกำาหนดตำาแหน่งตายตัวสำาหรับตำาแหน่งของจุด  โดยทัวไปการเก็บข้อมูล
                                                            ่
ตัวเลขจะมีสองขนาด  คือ  32  บิต  และ  64  บิต
-ข้อ ความ   (text)  ในการแทนข้อความ  ต้องเปลี่ยนข้อความให้เป็นรหัสซึ่ง
ใช้แทนตัวอักขระแต่ละตัว  ตามมาตรฐานทัวไปจะใช้เป็นรหัสแอ
                                            ่
สกี (ASCII  code)  ต่อมามีการใช้รหัสแบบยูนิโคด  (Unicode)  ซึงสามารถ
                                                                   ่
แทนภาษาได้หลายภาษามากกว่ารหัสแอสกี  ความยาวของเขตข้อมูลประเภท
นี ขึนอยูกับจำานวนตัวอักขระในข้อความ
   ้ ้     ่
 -วัน เวลา   (date / time)  ข้อมูลทีเป็นวันเวลา  เช่น  วันทีเริ่มใช้งาน  วัน
                                        ่                     ่
2) ระเบีย น   (record)  คือ  กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์
กัน  โดยเขตข้อมูลแต่ละส่วนอาจเป็นข้อมูลต่างชนิดกัน  ระเบียนแต่ละระเบียน
จะประกอบด้วยโครงสร้างเขตข้อมูลที่เหมือนกัน
          3) ตาราง   (table)  คือ  กลุ่มของระเบียน  ซึ่งเขตข้อมูลในแต่ละ
ระเบียนจะเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน  ในตรารางจะเก็บข้อมูลหลาย ๆ
ระเบียน  แต่ละระเบียนจะมีโครงสร้างเหมือนกันในตาราง   นอกจากจะเก็บข้อมูล
หลายระเบียนแล้ว  ยังสามารถอ้างถึงระเบียนแต่ละละเบียนได้อีกด้วย
          4) ฐานข้อ มูล   (database)  เป็นที่รวมของตารางหลาย ๆ ตาราง
เข้าไว้ด้วยกัน  ตารางแต่ละตาราง  จะมีความสัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลที่เก็บ
ข้อมูลซึ่งเหมือนกันเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน  บางตารางอาจเป็นตาราง   ที่
เก็บข้อมูลไว้เฉพาะของตนเอง  โดยไม่เกี่ยวข้องกับตารางอื่น ในขณะเดียวกัน
บางตาราง อาจต้องเชื่อมโยงกับ เขตข้อมูลของตารางอื่น ๆ
จริย ธรรมในโลกข้อ งข้อ มูล
         ความเป็น ส่ว นตัว    เมื่อข้อมูลปรากฏอยู่ในโลก
ออนไลน์มากขึน  ทำาให้การรวบรวมข้อมูล  การเข้าถึง  การ
                 ้
ค้นหา  และการแบ่งปันข้อมูลส่วนบุคคลเป็นเรื่องที่สามารถทำาได้
ง่ายและเร็วขึ้น  ทำาให้ข้อมูลบางประเภทที่มีความเป็นส่วนตัว
สูง  เช่น  เลขบัตรประจำาตัวประชาชน  วันเดือนปีเกิด หมายเลข
โทรศัพท์มอถือ  อาจรั่วไหลไปสู่สาธารณะได้  บางครั้งข้อมูลส่วน
            ื
ตัวอาจถูกนำาไปใช้โดยผิดวัตถุประสงค์ของเจ้าของข้อมูล 
         สิท ธิ์ใ นการเข้า ถึง ข้อ มูล   เพื่อเป็นการรักษาความ
ปลอดภัยให้กับข้อมูล  ในการเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลจะมีการ
กำาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผูใช้แต่ละกลุม  โดยระบบจะ
                                         ้           ่
อนุญาตให้ผใช้คนหนึงเข้าถึงข้อมูลต้องมีการตรวจสอบว่าจะให้
              ู้       ่
เข้าถึงข้อมูลใดได้บ้างโดยปกติแล้วการเข้าถึงระบบใด  ๆนั้น ผูใช้ ้
จะต้องได้รับอนุญาตจากผูดแล ้ ู
ระบบ  (system  administrator)  ซึ่งมีหน้าที่ดแล  บำารุงรักษา
                                                       ู
ระบบให้สามารถทำางานได้เป็นปกติการเข้าถึงโดยไม่ได้รับ
มาตรา 5  ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีการป้องกัน
การเข้าถึงโดยเฉพาะ  และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำาหรับตน   ต้อ งระวาง
โทษจำา คุก ไม่เ กิน หกเดือ น   หรือ ปรับ ไม่เ กิน หนึ่ง หมื่น บาท   หรือ ทั้ง
จำา ทั้ง ปรับ
          มาตรา 7  ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีการป้องกัน
การเข้าถึงโดยเฉพาะ  และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำาหรับตน   ต้อ งระวาง
โทษจำา คุก ไม่เ กิน สองปี  หรือ ปรับ ไม่เ กิน สี่ห มื่น บาท   หรือ ทั้ง จำา ทั้ง
ปรับ
          มาตรา 8  ผู้ใดกระทำาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์  เพื่อดักรับไว้                                    ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์
ของผู้อื่นที่อยูระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์   และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น
                ่
มิได้มีไว้                เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้
ประโยชน์ได้  ต้อ งระวางโทษจำา คุก ไม่เ กิน สามปี  หรือ ปรับ ไม่เ กิน หก
หมื่น บาท   หรือ ทั้ง จำา ทั้ง ปรับ
          ทรัพ ย์ส ิน ทางปัญ ญา  ในกระบวนการผลิตโปรแกรม   ระบบปฏิบัติ
การ  รูปภาพ  เพลง  หรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์  จำาเป็นต้องใช้ต้นทุนสูง   และ
ใช้เวลาในการผลิตยาวนาน  แต่เมื่อข้อมูลเหล่านี้ปรากฏอยูในรูปแบบข้อมูล ่
ดิจิทัล  ผู้ใช้คนอื่น ๆ สามารถทำาซำ้าและนำาไปใช้โดยไม่ได้จ่ายเงินให้กับผู้
ผลิต  ก่อให้เกิดความเสียหายทางธุรกิจกับเจ้าของข้อมูล
อ้างอิง
 https://sites.google.com/site/websidbayti
  k/khxmul
 เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร สสวท

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศKo Kung
 
Data processing1
Data processing1Data processing1
Data processing1chukiat008
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศKo Kung
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 ppนางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pphattayachuesomkiet
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลNithiwan Rungrangsri
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 

What's hot (17)

การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 
Data processing1
Data processing1Data processing1
Data processing1
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
Original it 3
Original it 3Original it 3
Original it 3
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Power Point
Power PointPower Point
Power Point
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
 
Work3-10
Work3-10Work3-10
Work3-10
 
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 ppนางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
work3
work3 work3
work3
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 

Viewers also liked

Symfony CMF experiences
Symfony CMF experiencesSymfony CMF experiences
Symfony CMF experiencesmdekrijger
 
որսորդի արկածները
որսորդի  արկածները  որսորդի  արկածները
որսորդի արկածները ganyan
 
Self Leader Ship: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis"
Self Leader Ship: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis"Self Leader Ship: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis"
Self Leader Ship: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis"sultandeyis
 
日本国内事例から学ぶ 動画広告の秘訣!
日本国内事例から学ぶ 動画広告の秘訣!日本国内事例から学ぶ 動画広告の秘訣!
日本国内事例から学ぶ 動画広告の秘訣!Rina Matsumoto
 
Possessive pronouns
Possessive pronounsPossessive pronouns
Possessive pronounsHerman Hall
 
TRANSFORMANDO AS DIFICULDADES DO INÍCIO DA CARREIRA EM DESAFIOS PARA PERMANEC...
TRANSFORMANDO AS DIFICULDADES DO INÍCIO DA CARREIRA EM DESAFIOS PARA PERMANEC...TRANSFORMANDO AS DIFICULDADES DO INÍCIO DA CARREIRA EM DESAFIOS PARA PERMANEC...
TRANSFORMANDO AS DIFICULDADES DO INÍCIO DA CARREIRA EM DESAFIOS PARA PERMANEC...ProfessorPrincipiante
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
M04 mengelola strategi desain
M04 mengelola strategi desainM04 mengelola strategi desain
M04 mengelola strategi desainCoky Fauzi Alfi
 
WUPC2nd I問題
WUPC2nd I問題WUPC2nd I問題
WUPC2nd I問題Dai Hamada
 
Germer isoladores valores e benificios
Germer isoladores valores e benificiosGermer isoladores valores e benificios
Germer isoladores valores e benificiosJonas Meynaczyk
 
семинар
семинарсеминар
семинарElekxa
 
"Kepemimpinan Diri Sendiri: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis"
"Kepemimpinan Diri Sendiri: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis""Kepemimpinan Diri Sendiri: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis"
"Kepemimpinan Diri Sendiri: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis"sultandeyis
 
PCI-DSS Compliance in the Cloud
PCI-DSS Compliance in the CloudPCI-DSS Compliance in the Cloud
PCI-DSS Compliance in the CloudControlCase
 
'Hoezo een bank liken?'
'Hoezo een bank liken?''Hoezo een bank liken?'
'Hoezo een bank liken?'ING Nederland
 
APRENDIZAGEM DA DOCÊNCIA DE BACHARÉIS E TECNÓLOGOS EM UMA UNIVERSIDADE TECNOL...
APRENDIZAGEM DA DOCÊNCIA DE BACHARÉIS E TECNÓLOGOS EM UMA UNIVERSIDADE TECNOL...APRENDIZAGEM DA DOCÊNCIA DE BACHARÉIS E TECNÓLOGOS EM UMA UNIVERSIDADE TECNOL...
APRENDIZAGEM DA DOCÊNCIA DE BACHARÉIS E TECNÓLOGOS EM UMA UNIVERSIDADE TECNOL...ProfessorPrincipiante
 

Viewers also liked (18)

Symfony CMF experiences
Symfony CMF experiencesSymfony CMF experiences
Symfony CMF experiences
 
որսորդի արկածները
որսորդի  արկածները  որսորդի  արկածները
որսորդի արկածները
 
Self Leader Ship: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis"
Self Leader Ship: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis"Self Leader Ship: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis"
Self Leader Ship: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis"
 
when minutes counts
when minutes countswhen minutes counts
when minutes counts
 
日本国内事例から学ぶ 動画広告の秘訣!
日本国内事例から学ぶ 動画広告の秘訣!日本国内事例から学ぶ 動画広告の秘訣!
日本国内事例から学ぶ 動画広告の秘訣!
 
Possessive pronouns
Possessive pronounsPossessive pronouns
Possessive pronouns
 
TRANSFORMANDO AS DIFICULDADES DO INÍCIO DA CARREIRA EM DESAFIOS PARA PERMANEC...
TRANSFORMANDO AS DIFICULDADES DO INÍCIO DA CARREIRA EM DESAFIOS PARA PERMANEC...TRANSFORMANDO AS DIFICULDADES DO INÍCIO DA CARREIRA EM DESAFIOS PARA PERMANEC...
TRANSFORMANDO AS DIFICULDADES DO INÍCIO DA CARREIRA EM DESAFIOS PARA PERMANEC...
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
M04 mengelola strategi desain
M04 mengelola strategi desainM04 mengelola strategi desain
M04 mengelola strategi desain
 
WUPC2nd I問題
WUPC2nd I問題WUPC2nd I問題
WUPC2nd I問題
 
Germer isoladores valores e benificios
Germer isoladores valores e benificiosGermer isoladores valores e benificios
Germer isoladores valores e benificios
 
семинар
семинарсеминар
семинар
 
"Kepemimpinan Diri Sendiri: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis"
"Kepemimpinan Diri Sendiri: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis""Kepemimpinan Diri Sendiri: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis"
"Kepemimpinan Diri Sendiri: "Muhammad Rayhan Sultan Deyis"
 
PCI-DSS Compliance in the Cloud
PCI-DSS Compliance in the CloudPCI-DSS Compliance in the Cloud
PCI-DSS Compliance in the Cloud
 
'Hoezo een bank liken?'
'Hoezo een bank liken?''Hoezo een bank liken?'
'Hoezo een bank liken?'
 
APRENDIZAGEM DA DOCÊNCIA DE BACHARÉIS E TECNÓLOGOS EM UMA UNIVERSIDADE TECNOL...
APRENDIZAGEM DA DOCÊNCIA DE BACHARÉIS E TECNÓLOGOS EM UMA UNIVERSIDADE TECNOL...APRENDIZAGEM DA DOCÊNCIA DE BACHARÉIS E TECNÓLOGOS EM UMA UNIVERSIDADE TECNOL...
APRENDIZAGEM DA DOCÊNCIA DE BACHARÉIS E TECNÓLOGOS EM UMA UNIVERSIDADE TECNOL...
 
slideshare
slideshareslideshare
slideshare
 
Tcvn 5674 1992
Tcvn 5674 1992Tcvn 5674 1992
Tcvn 5674 1992
 

Similar to Myun dao22

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้รัสนา สิงหปรีชา
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารmiwmilk
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง IntroJenchoke Tachagomain
 

Similar to Myun dao22 (20)

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
งานอ.รัฐพล
งานอ.รัฐพลงานอ.รัฐพล
งานอ.รัฐพล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
 

Myun dao22

  • 1.
  • 2. ข้อ มูล   สารสนเทศ   และความรู้  ข้อ มูล (DATA) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายคุณลักษณะของ วัตถุ  เหตุการณ์  กิจกรรม  โดยบันทึกจากการสังเกต  การทดลอง  หรือ การสำารวจด้วยการแทนรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง  เช่น  บันทึกไว้เป็น ตัวเลข  ข้อความ  รูปภาพ  และสัญลักษณ์  ตัวอย่างของข้อมูลต่าง ๆ ที่ นักเรียนสามารถพบเห็นในชีวิตประจำา  เช่น  เกรดที่นักเรียนได้รับใน แต่ละวิชา  ราคาสินค้าชนิดต่าง ๆ ในห้างสรรพสินค้า   รูปภาพและ ข้อความต่าง ๆ ที่ปรากฏในเว็บไซต์ สารสนเทศ   (Information)  หมายถึง  ผลลัพธ์ที่เกิดจาก การนำาข้อมูลมาประมวลผล  เพื่อให้ได้สิ่งที่เป็นประโยชน์ในการนำาไปใช้ งานมากขึ้น เช่น  ส่วนสูงของนักเรียนหญิงและนักเรียนชายแต่ละคนใน ชั้นเรียนเป็นข้อมูล  จะสามารถสร้างสารสนเทศจากข้อมูลเหล่านี้ได้ หลายรูปแบบ  เพื่อนำาไปใช้ในจุดประสงค์ที่แตกต่างกัน   ตัวอย่าง เช่น  การนำาข้อมูลเหล่านี้มาเรียงตามลำาดับจากมากไปน้อย  หรือการหา ค่าเฉลี่ยของส่วนสูงของนักเรียน ความรู้  (Knowledge)  คือ  สิ่งที่ประกอบด้วยข้อมูลและ สารสนเทศที่ถกจัดรูปแบบและประมวลผลเพื่อนำาไปประยุกต์ใช้ในปัญหา ู ที่ต้องการนำาข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ไปแก้ไข นิยามความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของข้อมูลและสารสนเทศ   คือ   ความรู้ที่ แฝงอยู่ในข้อมูล  เป็นสิ่งที่สามารถสกัดจากสารสนเทศที่มีรูปแบบน่า สนใจ  เป็นจริงสำาหรับข้อมูลใหม่หรือข้อมูลที่ไม่เคยเห็นมาก่อน  เป็นรูป แบบใหม่ที่มนุษย์ไม่เคยเห็นมาก่อน  ซึ่งผลลัพธ์สุดท้ายจากการวิเคราะห์
  • 3.  การจัด การความ รู้  (knowledge  management) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้  สามารถช่วย องค์กรนการจัดการความรู้เหล่านีได้  โดยระบบนี้  จะทำางาน ้ แตกต่างกันไปตามจุดมุ่งหมายขององค์กร  ผู้ใช้ในองค์กร ประกอบด้วย  พนักงานทั่วไป  ผู้บริหาร หรือบุคคล ภายนอก  เป็นผู้สร้างสารสนเทศเพื่อเก็บไว้ในระบบ โดย ระบบจะต้องสามารถจัดหมวดหมู่  ค้นหา รวมถึงกระจาย สารสนเทศให้กับผู้ใช้คนอืน  เพือให้ผู้ใช้แต่ละคนสามารถ ่ ่ นำาสารสนเทศไปใช้ได้ตามสิทธิของตนเอง ์ ความฉลาด ร่วม  (collective  intelligence)  เป็นการสร้างความ ฉลาดหรือสร้างความรู้ร่วมกันระหว่างผู้ใช้  ตัวอย่างของการ สร้างความรู้ในลักษณะนี้  เช่น  วิกิพีเดีย  (Wikipedia)  ผู้ ใช้แต่ละคนสามารถเพิมเติม  แก้ไข  ข้อมูลร่วมกันได้  โดยผู้ ่ ใช้คนอื่น ๆ ที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการเพิ่มเติมหรือแก้ไข
  • 4. ลัก ษณะของข้อ มูล ทีด ี ่  ข้อมูลที่ดควรมีลักษณะดังนี้ ี 1)  ความถูก ต้อ งของ ข้อ มูล                                     3)  ความถูก ต้อ ง ตามเวลา 2)  ความสมบูร ณ์ค รบถ้ว นในการนำา ไปใช้ งาน        4)  ความสอดคล้อ งกัน ของข้อ มูล ประเภทของข้อ มูล    จำาแนกข้อมูลออกเป็นประเภท จะแบ่งออก เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ข้อ มูล ปฐมภูม ิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลที่ ได้จากการรวบรวม หรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจจะ ได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำารวจ และการจดบันทึก ตลอดจนการจัดหามาด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติ เช่น เครื่องอ่านรหัส แท่ง เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก        2. ข้อ มูล ทุต ิย ภูม ิ (Secondary Data) หมายถึง
  • 5. การจัด เก็บ ข้อ มูล การจัด เก็บ อย่า งมีป ระสิท ธิภ าพ  สามารถลด ภาระการเก็บเอกสารที่เป็นกระดาษได้  รวมถึงการทำา ซำ้าเพื่อสำารองข้อมูล  สามารถทำาได้สะดวกและรวดเร็ว การตอบสนองต่อ ความต้อ งการได้อ ย่า รวดเร็ว   เช่น  ข้อมูลประวัติการบำารุงรักษารถยนต์ และข้อมูลประวัติคนไข้  ผู้ใช้ที่ต้องการนำาข้อมูลเหล่านี้ ไปใช้งาน  สามารถเข้าถึงระบบฐานข้อมูลนำาข้อมูลที่ ต้องการไปใช้ได้ การจำา กัด สิท ธิใ นการเข้า ถึง ข้อ มูล ให้แ ก่ผ ู้ ์ ใช้ใ นแต่ล ะระดับ ขององค์ก ร   เช่น  ผู้บริหาร สามารถเข้าถึงข้อมูลของทุกหน่วยงานได้  แต่ผู้ใช้ ทั่วไปในแผนกการเงิน  ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลประวัติ
  • 6. ลำา ดับ ขั้น ของข้อ มูล ในฐานข้อ มูล   ลำาดับชั้นล่างสุดของการแทนข้อมูล  นั่นคือ  การแทนข้อมูลด้วยตัวเลขฐาน สอง  ซึงประกอบด้วยตัวเลขสองตัว  คือ ‘0’   และ   ‘1’    ในทาง ่ คอมพิวเตอร์  จะเรียกตัวเลขฐานสองหนึ่งหลักนี้ว่า  1  บิต  (บิต)  ซึ่งถือว่าเป็น หน่วยเล็กทีสุดของข้อมูล  และหากนำาบิตมาต่อกันจำานวน  8  บิต  จะเรียก ่ ว่า  1  ไบต์  (byte)    1)เขตข้อ มูล   (field)  ข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทน ข้อมูลใด ๆ ทีต้องการเก็บในฐานข้อมูล   ต้องจัดข้อมูลทีเป็นบิตมารวมกันเพื่อ ่ ่ แทนความหมายบางอย่าง  โดยเขตข้อมูลอาจแทนข้อมูลดังต่อไปนี้  จำา นวนเต็ม   (integer)  คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลข ขนาด  32  บิต  ซึ่งขนาดของตัวเลขอาจเปลี่ยนไปตามเทคโนโลยีของเครื่อง คอมพิวเตอร์  ตัวเลขฐานสองขนาด  32  บิต  สามารถแทนตัวเลขจำานวนเต็มได้ ตั้งแต่                   -2,147,483,648  ถึง  2,147,483,647  (-231  ถึง  231  -1 ) -จำา นวนทศนิย ม   (decimal  number)  ในคอมพิวเตอร์จะเก็บตัวเลข ทศนิยม  โดยใช้ระบบโฟลททิ้งพอยต์  (floating  point)  การเก็บในลักษณะนี้ ไม่มีการกำาหนดตำาแหน่งตายตัวสำาหรับตำาแหน่งของจุด  โดยทัวไปการเก็บข้อมูล ่ ตัวเลขจะมีสองขนาด  คือ  32  บิต  และ  64  บิต -ข้อ ความ   (text)  ในการแทนข้อความ  ต้องเปลี่ยนข้อความให้เป็นรหัสซึ่ง ใช้แทนตัวอักขระแต่ละตัว  ตามมาตรฐานทัวไปจะใช้เป็นรหัสแอ ่ สกี (ASCII  code)  ต่อมามีการใช้รหัสแบบยูนิโคด  (Unicode)  ซึงสามารถ ่ แทนภาษาได้หลายภาษามากกว่ารหัสแอสกี  ความยาวของเขตข้อมูลประเภท นี ขึนอยูกับจำานวนตัวอักขระในข้อความ ้ ้ ่  -วัน เวลา   (date / time)  ข้อมูลทีเป็นวันเวลา  เช่น  วันทีเริ่มใช้งาน  วัน ่ ่
  • 7. 2) ระเบีย น   (record)  คือ  กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ กัน  โดยเขตข้อมูลแต่ละส่วนอาจเป็นข้อมูลต่างชนิดกัน  ระเบียนแต่ละระเบียน จะประกอบด้วยโครงสร้างเขตข้อมูลที่เหมือนกัน 3) ตาราง   (table)  คือ  กลุ่มของระเบียน  ซึ่งเขตข้อมูลในแต่ละ ระเบียนจะเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน  ในตรารางจะเก็บข้อมูลหลาย ๆ ระเบียน  แต่ละระเบียนจะมีโครงสร้างเหมือนกันในตาราง   นอกจากจะเก็บข้อมูล หลายระเบียนแล้ว  ยังสามารถอ้างถึงระเบียนแต่ละละเบียนได้อีกด้วย 4) ฐานข้อ มูล   (database)  เป็นที่รวมของตารางหลาย ๆ ตาราง เข้าไว้ด้วยกัน  ตารางแต่ละตาราง  จะมีความสัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลที่เก็บ ข้อมูลซึ่งเหมือนกันเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน  บางตารางอาจเป็นตาราง   ที่ เก็บข้อมูลไว้เฉพาะของตนเอง  โดยไม่เกี่ยวข้องกับตารางอื่น ในขณะเดียวกัน บางตาราง อาจต้องเชื่อมโยงกับ เขตข้อมูลของตารางอื่น ๆ
  • 8. จริย ธรรมในโลกข้อ งข้อ มูล ความเป็น ส่ว นตัว    เมื่อข้อมูลปรากฏอยู่ในโลก ออนไลน์มากขึน  ทำาให้การรวบรวมข้อมูล  การเข้าถึง  การ ้ ค้นหา  และการแบ่งปันข้อมูลส่วนบุคคลเป็นเรื่องที่สามารถทำาได้ ง่ายและเร็วขึ้น  ทำาให้ข้อมูลบางประเภทที่มีความเป็นส่วนตัว สูง  เช่น  เลขบัตรประจำาตัวประชาชน  วันเดือนปีเกิด หมายเลข โทรศัพท์มอถือ  อาจรั่วไหลไปสู่สาธารณะได้  บางครั้งข้อมูลส่วน ื ตัวอาจถูกนำาไปใช้โดยผิดวัตถุประสงค์ของเจ้าของข้อมูล  สิท ธิ์ใ นการเข้า ถึง ข้อ มูล   เพื่อเป็นการรักษาความ ปลอดภัยให้กับข้อมูล  ในการเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลจะมีการ กำาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผูใช้แต่ละกลุม  โดยระบบจะ ้ ่ อนุญาตให้ผใช้คนหนึงเข้าถึงข้อมูลต้องมีการตรวจสอบว่าจะให้ ู้ ่ เข้าถึงข้อมูลใดได้บ้างโดยปกติแล้วการเข้าถึงระบบใด  ๆนั้น ผูใช้ ้ จะต้องได้รับอนุญาตจากผูดแล ้ ู ระบบ  (system  administrator)  ซึ่งมีหน้าที่ดแล  บำารุงรักษา ู ระบบให้สามารถทำางานได้เป็นปกติการเข้าถึงโดยไม่ได้รับ
  • 9. มาตรา 5  ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีการป้องกัน การเข้าถึงโดยเฉพาะ  และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำาหรับตน   ต้อ งระวาง โทษจำา คุก ไม่เ กิน หกเดือ น   หรือ ปรับ ไม่เ กิน หนึ่ง หมื่น บาท   หรือ ทั้ง จำา ทั้ง ปรับ มาตรา 7  ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีการป้องกัน การเข้าถึงโดยเฉพาะ  และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำาหรับตน   ต้อ งระวาง โทษจำา คุก ไม่เ กิน สองปี  หรือ ปรับ ไม่เ กิน สี่ห มื่น บาท   หรือ ทั้ง จำา ทั้ง ปรับ มาตรา 8  ผู้ใดกระทำาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์  เพื่อดักรับไว้                                    ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของผู้อื่นที่อยูระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์   และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น ่ มิได้มีไว้                เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ ประโยชน์ได้  ต้อ งระวางโทษจำา คุก ไม่เ กิน สามปี  หรือ ปรับ ไม่เ กิน หก หมื่น บาท   หรือ ทั้ง จำา ทั้ง ปรับ ทรัพ ย์ส ิน ทางปัญ ญา  ในกระบวนการผลิตโปรแกรม   ระบบปฏิบัติ การ  รูปภาพ  เพลง  หรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์  จำาเป็นต้องใช้ต้นทุนสูง   และ ใช้เวลาในการผลิตยาวนาน  แต่เมื่อข้อมูลเหล่านี้ปรากฏอยูในรูปแบบข้อมูล ่ ดิจิทัล  ผู้ใช้คนอื่น ๆ สามารถทำาซำ้าและนำาไปใช้โดยไม่ได้จ่ายเงินให้กับผู้ ผลิต  ก่อให้เกิดความเสียหายทางธุรกิจกับเจ้าของข้อมูล
  • 10. อ้างอิง  https://sites.google.com/site/websidbayti k/khxmul  เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร สสวท