SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
วิธีการสืบค้น และเทคนิคการค้นคืน
          สารสนเทศจาก
   ฐานข้อมูลออนไลน์ และเว็บไซต์

                         โดย
             อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
      สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์
              มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
                     2553
                                             Page 1
วิธีการสืบค้น
1. Search
 1) Basic Search
 2) Advanced Search
 3) Expert Search


2. Browse
 1) Subject
 2) Journal Title
 3) School    ฯลฯ     Page 2
วิธีการสืบค้น       (ต่อ)

1. Search
     คือ การพิมพ์คาค้นลงในช่อง Search
 ส่วนใหญ่จะมีวิธีการสืบค้น 2 แบบ คือ Basic Search
 และ Advanced Search แต่มีบางฐานเท่านั้นที่มีการ
 สืบค้นแบบ Expert Search



                                             Page 3
วิธีการสืบค้น (ต่อ)
1.1 Basic Search หรือ Quick Search
            มีช่องสาหรับพิมพ์คาค้น 1 ช่อง
           ให้พิมพ์คาค้น 1 คา หรือมากกว่า 1 คาก็ได้
           บางฐานสามารถเลือกช่องทางการสืบค้นได้ เช่น ค้น
   จากเขตข้อมูล Title, Subject, Abstract เป็นต้น
   สามารถระบุปีค.ศ. ได้ ระบุว่าต้องการ Fulltext ได้ เป็นต้น
           บางฐาน เช่น DAO ในการสืบค้นแบบ Basic
   Search สามารถใช้เทคนิคการค้นคืนทุกประเภท         เช่น
   Boolean Logics     Truncation and Wildcard
   Proximity Connectors และการค้นระบุเขตข้อมูล (Fields)
   ช่วยในการค้นคืนได้ด้วย                              Page 4
วิธีการสืบค้น                (ต่อ)

1.2 Advanced Search
    ส่วนใหญ่มีช่องสาหรับพิมพ์คาค้น   3       ช่อง
        มีบางฐาน เช่น DAO มีมากถึง 7 ช่อง
        ให้พิมพ์คาค้น และระบุเขตข้อมูลจาก Template ของ
  แบบฟอร์ม จากนั้นใช้ ตัวปฏิบัติการ (operators) ของ Boolean
  เชื่อมคาค้นเหล่านั้นโดยเลือกจาก Template ของแบบฟอร์ม
  และยังสามารถกาหนดเงื่อนไขอื่นๆ ได้ด้วย เช่น ภาษา ช่วงปี
  ค.ศ. Full text Sources Subjects เป็นต้น
        รวมถึงใช้เทคนิคการค้นคืนเหล่านี้ได้ด้วย เช่น
  Truncation and Wildcard Proximity Connectors เป็นต้น Page 5
วิธีการสืบค้น              (ต่อ)

1.3 Expert Search
       ฐานข้อมูลที่มีวิธีการสืบค้นแบบนี้คือ OCLC FirstSearch
       หลักการสืบค้นคือ พิมพ์คาสั่งในการค้นคืนเองทั้งหมดโดยต้อง
  ใช้เทคนิคการค้นคืนหลากหลายช่วยในการสืบค้น           เช่น
  Boolean Logics        Truncation and Wildcard
  Proximity Connectors        Nesting      Quotation
  การค้นระบุเขตข้อมูล (Fields) เป็นต้น


                                                           Page 6
วิธีการสืบค้น         (ต่อ)
2. Browse คือ การสืบค้นแบบไล่เลียง หรือการเลือกไปตาม
   2.1 Subject หัวข้อวิชา/ สาขาวิชา
   2.2 Journal Title        ชื่อเรื่องของวารสาร
   2.3   School ชื่อมหาวิทยาลัย/ สถาบันการศึกษา
   2.4   Categories หมวดหมู่ เช่น Education, Social Science
             เป็นต้น โดยเลือกจากหมวดหมู่ใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย
             จนพบเรื่องที่ต้องการ
   2.5   Location สถานที่ตั้ง (ของสถาบันการศึกษา)
   2.6   Alphabetical ตัวอักษรตัวแรกของเรื่อง (Topic)
   2.7   Index คลังคา                                  Page 7
เทคนิคการค้นคืน
1. case insensitivity
   พิมพ์ตัวอักษรเล็กหรือใหญ่ได้ผลการสืบค้นเหมือนกัน       เช่น
   WATER หรือ water หรือ WaTER


2. truncation and wildcard pattern (* , ?)
   การใส่เครื่องหมาย * หรือ ? แทนตัวอักษรที่ละไว้ เช่น
    librar* (library, libraries, librarian, librarians)
    col*r (color, colour )
   col?r = color

                                                                 Page 8
เทคนิคการค้นคืน                  (ต่อ)


3. quotation (“…..”)
     ใส่เครื่องหมาย “….” คร่อมวลีที่เป็นศัพท์เฉพาะ   เช่น
      “Information Studies”
      “Singha Drinking Water” (น้าดื่มตราสิงห์)
      เป็นต้น




                                                            Page 9
เทคนิคการค้นคืน                     (ต่อ)


4. boolean logics
     เป็นการใช้ตัวปฏิบัติการ   and, or, not/ and not    เชื่อมคาค้น
  บางฐานใช้สัญลักษณ์ เช่น & หรือ + แทน and หรือใช้การ
  เว้นระยะแทนตัวปฏิบัติการดังกล่าว (แล้วแต่ว่าจะตั้งค่า default ไว้
  ว่าเป็น and หรือ or) ใช้ - แทน not เป็นต้น
       บางฐานหากเชื่อมคาค้นด้วย or ต้องพิมพ์ or ด้วยตัวพิมพ์
  ใหญ่ เช่น cat OR dog เป็นต้น

                                                               Page 10
เทคนิคการค้นคืน                 (ต่อ)


5. different forms of words
   ใช้คาค้นเป็น “volcano” หรือ “volcanoes” ให้ผลการสืบค้น
  เหมือนกัน

6. plurals
   การค้นหาคาค้นทีเ่ ป็นพหูพจน์ (plurals)
   ใช้เครื่องหมายบวก (+) ต่อท้ายคา เช่น mammal+ จะได้ผล
        การสืบค้นคือ mammal mammals เป็นต้น
                                                      Page 11
เทคนิคการค้นคืน                  (ต่อ)

7. proximity connectors
  การค้นหาคาค้นที่อยู่ในเขตข้อมูลเดียวกัน   เช่น
  chickenn3egg               realwestate           เป็นต้น

8. ระบุเขตข้อมูล (Fields)
   เช่น     katz:AUTHOR
              nanotechnology:TITLE
                    ABS(pollution)


                                                             Page 12
เทคนิคการค้นคืน                  (ต่อ)


9. Parentheses เครื่องหมายวงเล็บ
    เช่น dog and (cat or felines) and behavior

                            ฯลฯ




                                                   Page 13

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ponderingg
 
แผ่นพับวันเข้าพรรษา
แผ่นพับวันเข้าพรรษาแผ่นพับวันเข้าพรรษา
แผ่นพับวันเข้าพรรษาstudentkc3 TKC
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Bank Sangsudta
 
โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6Wichai Likitponrak
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองWan Ngamwongwan
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ v4
Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  v4Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  v4
Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ v4Settapong Malisuwan
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 

What's hot (20)

บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
แผ่นพับวันเข้าพรรษา
แผ่นพับวันเข้าพรรษาแผ่นพับวันเข้าพรรษา
แผ่นพับวันเข้าพรรษา
 
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6
 
Practical Data Mining with RapidMiner Studio 7 : A Basic and Intermediate
Practical Data Mining with RapidMiner Studio 7 : A Basic and IntermediatePractical Data Mining with RapidMiner Studio 7 : A Basic and Intermediate
Practical Data Mining with RapidMiner Studio 7 : A Basic and Intermediate
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุด
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
EHRs, PHRs and Meaningful Use
EHRs, PHRs and Meaningful UseEHRs, PHRs and Meaningful Use
EHRs, PHRs and Meaningful Use
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
 
Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ v4
Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  v4Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  v4
Blockchain พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ v4
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 

Viewers also liked

บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesSrion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
Dspace
DspaceDspace
Dspace
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
Open Digital Education
Open Digital EducationOpen Digital Education
Open Digital Education
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
Data in Digital Era
Data in Digital EraData in Digital Era
Data in Digital Era
 
Data Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in ThailandData Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in Thailand
 

Similar to วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน

เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1Walaiporn Fear
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศBeauso English
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography databaseJoy sarinubia
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นThunyaluck
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นpenelopene
 
Proquest Dissertations & Theses
Proquest Dissertations & Theses Proquest Dissertations & Theses
Proquest Dissertations & Theses Gritiga Soonthorn
 
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นการใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นitte55112
 
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล ProQuest Health and Medical Complete
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล 	ProQuest Health and Medical Completeเทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล 	ProQuest Health and Medical Complete
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล ProQuest Health and Medical CompleteAkarimA SoommarT
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10pui003
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search enginekacherry
 
53010210043
5301021004353010210043
53010210043Ann Oan
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6Tharathorn Junya
 

Similar to วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน (20)

เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
 
Search
SearchSearch
Search
 
การใช้งาน Google
การใช้งาน  Googleการใช้งาน  Google
การใช้งาน Google
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้น
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้น
 
Proquest Dissertations & Theses
Proquest Dissertations & Theses Proquest Dissertations & Theses
Proquest Dissertations & Theses
 
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นการใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
How to Search KKU Web OPAC
How to Search KKU Web OPACHow to Search KKU Web OPAC
How to Search KKU Web OPAC
 
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล ProQuest Health and Medical Complete
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล 	ProQuest Health and Medical Completeเทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล 	ProQuest Health and Medical Complete
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล ProQuest Health and Medical Complete
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
53010210043
5301021004353010210043
53010210043
 
Work3-10
Work3-10Work3-10
Work3-10
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 

More from Srion Janeprapapong

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมSrion Janeprapapong
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตSrion Janeprapapong
 

More from Srion Janeprapapong (13)

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
 

วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน

  • 1. วิธีการสืบค้น และเทคนิคการค้นคืน สารสนเทศจาก ฐานข้อมูลออนไลน์ และเว็บไซต์ โดย อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 2553 Page 1
  • 2. วิธีการสืบค้น 1. Search 1) Basic Search 2) Advanced Search 3) Expert Search 2. Browse 1) Subject 2) Journal Title 3) School ฯลฯ Page 2
  • 3. วิธีการสืบค้น (ต่อ) 1. Search คือ การพิมพ์คาค้นลงในช่อง Search ส่วนใหญ่จะมีวิธีการสืบค้น 2 แบบ คือ Basic Search และ Advanced Search แต่มีบางฐานเท่านั้นที่มีการ สืบค้นแบบ Expert Search Page 3
  • 4. วิธีการสืบค้น (ต่อ) 1.1 Basic Search หรือ Quick Search มีช่องสาหรับพิมพ์คาค้น 1 ช่อง ให้พิมพ์คาค้น 1 คา หรือมากกว่า 1 คาก็ได้ บางฐานสามารถเลือกช่องทางการสืบค้นได้ เช่น ค้น จากเขตข้อมูล Title, Subject, Abstract เป็นต้น สามารถระบุปีค.ศ. ได้ ระบุว่าต้องการ Fulltext ได้ เป็นต้น บางฐาน เช่น DAO ในการสืบค้นแบบ Basic Search สามารถใช้เทคนิคการค้นคืนทุกประเภท เช่น Boolean Logics Truncation and Wildcard Proximity Connectors และการค้นระบุเขตข้อมูล (Fields) ช่วยในการค้นคืนได้ด้วย Page 4
  • 5. วิธีการสืบค้น (ต่อ) 1.2 Advanced Search ส่วนใหญ่มีช่องสาหรับพิมพ์คาค้น 3 ช่อง มีบางฐาน เช่น DAO มีมากถึง 7 ช่อง ให้พิมพ์คาค้น และระบุเขตข้อมูลจาก Template ของ แบบฟอร์ม จากนั้นใช้ ตัวปฏิบัติการ (operators) ของ Boolean เชื่อมคาค้นเหล่านั้นโดยเลือกจาก Template ของแบบฟอร์ม และยังสามารถกาหนดเงื่อนไขอื่นๆ ได้ด้วย เช่น ภาษา ช่วงปี ค.ศ. Full text Sources Subjects เป็นต้น รวมถึงใช้เทคนิคการค้นคืนเหล่านี้ได้ด้วย เช่น Truncation and Wildcard Proximity Connectors เป็นต้น Page 5
  • 6. วิธีการสืบค้น (ต่อ) 1.3 Expert Search ฐานข้อมูลที่มีวิธีการสืบค้นแบบนี้คือ OCLC FirstSearch หลักการสืบค้นคือ พิมพ์คาสั่งในการค้นคืนเองทั้งหมดโดยต้อง ใช้เทคนิคการค้นคืนหลากหลายช่วยในการสืบค้น เช่น Boolean Logics Truncation and Wildcard Proximity Connectors Nesting Quotation การค้นระบุเขตข้อมูล (Fields) เป็นต้น Page 6
  • 7. วิธีการสืบค้น (ต่อ) 2. Browse คือ การสืบค้นแบบไล่เลียง หรือการเลือกไปตาม 2.1 Subject หัวข้อวิชา/ สาขาวิชา 2.2 Journal Title ชื่อเรื่องของวารสาร 2.3 School ชื่อมหาวิทยาลัย/ สถาบันการศึกษา 2.4 Categories หมวดหมู่ เช่น Education, Social Science เป็นต้น โดยเลือกจากหมวดหมู่ใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย จนพบเรื่องที่ต้องการ 2.5 Location สถานที่ตั้ง (ของสถาบันการศึกษา) 2.6 Alphabetical ตัวอักษรตัวแรกของเรื่อง (Topic) 2.7 Index คลังคา Page 7
  • 8. เทคนิคการค้นคืน 1. case insensitivity พิมพ์ตัวอักษรเล็กหรือใหญ่ได้ผลการสืบค้นเหมือนกัน เช่น WATER หรือ water หรือ WaTER 2. truncation and wildcard pattern (* , ?) การใส่เครื่องหมาย * หรือ ? แทนตัวอักษรที่ละไว้ เช่น librar* (library, libraries, librarian, librarians) col*r (color, colour ) col?r = color Page 8
  • 9. เทคนิคการค้นคืน (ต่อ) 3. quotation (“…..”) ใส่เครื่องหมาย “….” คร่อมวลีที่เป็นศัพท์เฉพาะ เช่น “Information Studies” “Singha Drinking Water” (น้าดื่มตราสิงห์) เป็นต้น Page 9
  • 10. เทคนิคการค้นคืน (ต่อ) 4. boolean logics เป็นการใช้ตัวปฏิบัติการ and, or, not/ and not เชื่อมคาค้น บางฐานใช้สัญลักษณ์ เช่น & หรือ + แทน and หรือใช้การ เว้นระยะแทนตัวปฏิบัติการดังกล่าว (แล้วแต่ว่าจะตั้งค่า default ไว้ ว่าเป็น and หรือ or) ใช้ - แทน not เป็นต้น บางฐานหากเชื่อมคาค้นด้วย or ต้องพิมพ์ or ด้วยตัวพิมพ์ ใหญ่ เช่น cat OR dog เป็นต้น Page 10
  • 11. เทคนิคการค้นคืน (ต่อ) 5. different forms of words ใช้คาค้นเป็น “volcano” หรือ “volcanoes” ให้ผลการสืบค้น เหมือนกัน 6. plurals การค้นหาคาค้นทีเ่ ป็นพหูพจน์ (plurals) ใช้เครื่องหมายบวก (+) ต่อท้ายคา เช่น mammal+ จะได้ผล การสืบค้นคือ mammal mammals เป็นต้น Page 11
  • 12. เทคนิคการค้นคืน (ต่อ) 7. proximity connectors การค้นหาคาค้นที่อยู่ในเขตข้อมูลเดียวกัน เช่น chickenn3egg realwestate เป็นต้น 8. ระบุเขตข้อมูล (Fields) เช่น katz:AUTHOR nanotechnology:TITLE ABS(pollution) Page 12
  • 13. เทคนิคการค้นคืน (ต่อ) 9. Parentheses เครื่องหมายวงเล็บ เช่น dog and (cat or felines) and behavior ฯลฯ Page 13