SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
 ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์
สิ่งของสถานที่ ฯลฯ โดยอยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมต่อการสื่อสาร การแปลความหมาย
และการประมวลผลซึ่งข้อมูลอาจจะได้มาจากการสังเกต การรวบรวม การวัด ข้อมูล
เป็นได้ทั้งข้อมูลตัวเลขหรือสัญญลักษณ์ใด ๆ ที่สาคัญจะต้องมีความเป็นจริงและ
ต่อเนื่องตัวอย่างของข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชือนักเรียน เพศ อายุ เป็นต้น

 แหล่งที่มาของข้อมูล (Source of Data)
ข้อมูลสถิติอาจจาแนกตามแหล่งที่มาได้ 2 ทาง คือ
• ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้หรือหน่วยงานที่ใช้เป็นผู้ทาการเก็บ
ข้อมูลด้วยตนเอง ซึ่งวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลอาจใช้วิธีการสัมภาษณ์ การทดลอง หรือ
การสังเกตการณ์ ข้อมูลปฐมภูมิเป็นข้อมูลที่มีรายละเอียดตรงตามที่ผู้ใช้ต้องการ แต่
มักจะเสียเวลาในการจัดหาและมีค่าใช้จ่ายสูง
• ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่ได้เก็บรวบรวมเอง แต่มีผู้อื่น
หรือ หน่วยงานอื่นๆ ทาการเก็บรวบรวมไว้แล้ว เช่น จากรายงาน ที่พิมพ์แล้ว หรือยัง
ไม่ได้พิมพ์ของ หน่วยงานของรัฐบาล สมาคม บริษัท สานักงานวิจัย นักวิจัย วารสาร
หนังสือพิมพ์ เป็นต้น การนาเอาข้อมูลเหล่านี้มาใช้เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย แต่
ในบางครั้งข้อมูลอาจจะไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ หรือมีรายละเอียดไม่เพียง
พอที่จะนาไปวิเคราะห์ นอกจากนี้ในบางครั้ง ข้อมูลนั้นอาจมีความผิดพลาดและผู้ใช้มักจะ
ไม่ทราบข้อผิดพลาดดังกล่าว ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการสรุปผล ดังนั้น ผู้ที่จะนาข้อมูล
ทุติยภูมิมาใช้ควรระมัดระวังและตรวจสอบคุณภาพข้อมูลก่อนที่จะนาไปวิเคราะห์
หัวข้อที่ 6
นาเสนอ ม.คุณภัทร
จัดทาโดย ปัณฑิตา สังฆ์การีย์ ม.6/1 เลขที่ 50
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
- คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
ข้อมูลที่ดีจะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติที่สาคัญๆ ดังนี้คือ
1. ความถูกต้องแม่นยา (accuracy) ข้อมูลที่ดีควรจะมีความถูกต้องแม่นยาสูง หรือถ้ามีความ
คลาดเคลื่อน (errors) ปนอยู่บ้าง ก็ควรที่จะสามารถควบคุมขนาดของความคลาดเคลื่อนที่ปนมาให้
มีความคลาดเคลื่อน น้อยที่สุด
2. ความทันเวลา (timeliness) เป็นข้อมูลที่ทันสมัย (up to date) และทันต่อความต้องการของ
ผู้ใช้ ถ้าผลิตข้อมูลออกมาช้า ก็ไม่มีคุณค่าถึงแม้จะเป็นข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยาก็ตาม
3. ความสมบูรณ์ครบถ้วน (completeness) ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาต้องเป็นข้อมูลที่ให้ข้อเท็จจริง
(facts) หรือข่าวสาร (information) ที่ครบถ้วนทุกด้านทุกประการ มิใช่ขาดส่วนหนึ่งส่วนใดไปทาให้
นาไปใช้การไม่ได้
4. ความกระทัดรัด (conciseness) ข้อมูล
ที่ได้รับส่วนใหญ่จะกระจัดกระจาย ควรจัด
ข้อมูลให้อยู่ใน รูปแบบที่กระทัดรัดไม่เยิ่น
เย้อ สะดวกต่อการใช้และค้นหา ผู้ใช้มี
ความเข้าใจได้ทันที
5. ความตรงกับความต้องการของ
ผู้ใช้ (relevance) ข้อมูลที่จัดทาขึ้นมาควร
เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้ ข้อมูลต้องการใช้ และ
จาเป็นต้องรู้ / ทราบ หรือเป็นประโยชน์ต่อ
การจัดทาแผน กาหนดนโยบายหรือ
ตัดสินปัญหาในเรื่องนั้นๆ ไม่ใช่เป็นข้อมูล
ที่จัดทาขึ้นมาอย่างมากมาย แต่ไม่มีใคร
ต้องการใช้หรือไม่ตรงกับความต้องการ
ของผู้ใช้ข้อมูล
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
การแบ่งลาดับชั้นของการจัดการข้อมูล (hierarchy of date)
ในการจัดการข้อมูลจะมีการแบ่งข้อมูลออกเป็นลาดับชั้นเพื่อง่ายต่อการ เรียกใช้และ
ประมวลผล ลาดับชั้นข้อมูลพื้นฐานที่ควรทราบมีดังต่อไปนี้
บิต (Bit = Binary Digit)
เป็นลาดับชั้นของหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด ดังที่ทราบกันดีแล้วว่าข้อมูลที่จะทางาน
ร่วมกับคอมพิวเตอร์ได้นั้น จะต้องเอามาแปลงให้อยู่ในรูปของเลขฐานสองเสียก่อน
คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและ ทางานตามที่ต้องการได้ เมื่อแปลงแล้วจะได้ตัวเลขแทน
สถานะเปิดและปิด ของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า บิต เพียง 2 ค่าเท่านั้นคือ บิต 0 และ
บิต 1
ไบต์ (Byte)
เมื่อนาบิตมารวมกันหลายๆบิต จะได้หน่วยข้อมูลกลุ่มใหม่ที่เรียกว่า ไบต์ (Byte) ซึ่ง
จานวนของบิตที่ได้นั้นแต่ละกลุ่มอาจมีมากหรือน้อยบ้าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของรหัสที่ใช้
เก็บ แต่โดยปกติกับการใช้งานในรหัสแอสกีทั่วไปจะได้กลุ่มของบิต 8 บิตด้วยกัน ซึ่งนิยม
มาแทนเป็นรหัสของตัวอักษร บางครั้งจึงนิยมเรียกข้อมูล 1 ไบต์ว่าเป็น 1 ตัวอักษร
ฟีลด์ หรือเขตของข้อมูล (Field)
ประกอบด้วยกลุ่มของตัวอักษรหรือไบต์ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปมาประกอบกันเป็นหน่วย
ข้อมูลที่ใหญ่ขึ้นแล้วแสดงลักษณะหรือความ หมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ยกตัวอย่างเขต
ข้อมูลเกี่ยวกับพนักงาน เช่น รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล เงินเดือน ตาแหน่ง
เรคคอร์ด (Record)
เป็นกลุ่มของเขตข้อมูลหรือฟีลด์ที่มีความสัมพันธ์กัน และนามาจัดเก็บรวมกันเป็น
หน่วยใหม่ที่ใหญ่ขึ้นเพียงหน่วยเดียว ปกติในการจัดการข้อมูลใดมักประกอบด้วยเรคค
อร์ด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของข้อมูลเป็นหลัก
ไฟล์ หรือแฟ้มตารางข้อมูล (File)
ไฟล์ หรือแฟ้มข้อมูล เป็นการนาเอาข้อมูลทั้งหมดหลายๆเรคคอร์ดที่ต้องการจัดเก็บ
มาเรียงอยู่ในรู แปบของแฟ้มตารางข้อมูลเดียวกัน เช่น แฟ้มตารางข้อมูลเกี่ยวกับ
คะแนนนักศึกษาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจประกอบด้วยเรคคอร์ดของนักศึกษา
หลายๆคนที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับ รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล และคะแนนที่ได้
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ฐานข้อมูล (Database)
เกิดจากการรวบรวมเอาแฟ้มตารางข้อมูลหลายๆแฟ้มที่มีความสัมพันธ์กันมา เก็บรวมกันไว้ที่เดียว
โดยจะมีการเก็บคาอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างฐานข้อมูลหรือที่เรียกว่า พจนานุกรมข้อมูล (data
dictionary) ซึ่งจะใช้อธิบายลักษณะของข้อมูลที่เก็บไว้ เป็นต้นว่า โครงสร้างของแต่ละตารางเป็นอย่างไร
ประกอบด้วยฟีลด์อะไรบ้าง คุณลักษณะของแต่ละฟีลด์และความสัมพันธ์ของแต่ละแฟ้มเป็นอย่างไร ซึ่ง
ข้อมูลเหล่านี้ถือว่ามีความจาเป็นมากและจะถูกเรียกใช้ในระหว่างที่มีการ ประมวลผลฐานข้อมูลนั่นเอง
ตัวอย่างฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์
ฐานข้อมูลทะเบียนนักศึกษา
ฐานข้อมูลบุคลากร
ฐานข้อมูลสินค้าคงคลัง
ฯลฯ
การจัดโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล (File Organization)
โครงสร้างของแฟ้มข้อมูล
เป็นวิธีการกาหนดโครงสร้างเพื่อจัดเก็บข้อมูลไว้ในแฟ้มบนสื่อบันทึกข้อมูลสารอง
เพื่อให้การจัดเก็บและเข้าถึงข้อมูล
มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และเหมาะสมกับความต้องการ
โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลาดับ (Sequential File Structure)
โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดพื้นฐานที่สามารถใช้งานได้ง่ายที่สุด
จัดเก็บข้อมูลแบบเรียงลาดับเรคอร์ดต่อเนื่องกันไป
การอ่านหรือค้นคืนข้อมูลจะข้ามลาดับไปอ่านโดยตรงไม่ได้
เหมาะสมกับงานที่มีการอ่านข้อมูลต่อเนื่องกันไปตามลาดับและในปริมาณมาก
จัดเก็บอยู่ในอุปกรณ์ประเภทเทปแม่เหล็ก (magnetic tape)
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม (Direct/Random File Structure)
โครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่เข้าถึงได้โดยตรง
สามารถเลือกหรืออ่านค่าได้โดยไม่จาเป็นต้องผ่านเรคอร์ดแรกๆ
การเข้าถึงข้อมูลทาได้เร็ว
จัดเก็บในสื่อที่มีการเข้าถึงได้โดยตรงประเภทจานแม่เหล็ก เช่นดิสเก็ตต์, ฮาร์ดดิสก์หรือ CD-
ROM
โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบลาดับเชิงดรรชนี (Index Sequential File Structure)
รวมเอาความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มและแบบเรียงตามลาดับเข้าไว้ด้วยกัน
ข้อมูลถูกเก็บเรียงกันตามลาดับไว้บนสื่อแบบสุ่ม และเข้าถึงข้อมูลผ่านแฟ้มข้อมูลลาดับเชิง
ดรรชนี (indexed sequential file)
ทางานได้ยืดหยุ่นกว่าวิธีอื่นโดยเฉพาะกรณีที่มีข้อมูลมากๆ
ข้อดีข้อเสียของแบบเรียงลาดับ (sequential file)
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ข้อดีข้อเสียของแบบสุ่ม (random file)
ข้อดีข้อเสียของแบบลาดับเชิงดรรชนี (indexed sequential file)
ประเภทของแฟ้มข้อมูล (File type)
สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ
แฟ้มหลัก (Master file)
แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction file
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
แฟ้มหลัก (Master file)
แฟ้มข้อมูลที่มีความถี่ของการเปลี่ยนแปลงข้อมูลไม่บ่อยมากนัก
อาศัยข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงเข้ามาทาให้มีความทันสมัย (up to date) ได้
เช่น แฟ้มหลักลูกค้าธนาคารซึ่งจะเก็บข้อมูลของลูกค้า เช่น ชื่อ ที่อยู่ หมายเลขบัญชี ยอดเงินคงเหลือ
ในบัญชีเป็นต้น
แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction file)
แฟ้มข้อมูลที่มีการเปลี่ยนหรือแก้ไขของรายการข้อมูลภายในค่อนข้างบ่อยและทาแบบประจาต่อเนื่อง
หรือเกิดขึ้นทุกวัน
มักจะนาไปใช้สาหรับการปรับปรุงแฟ้มหลัก
ตัวอย่างเช่น แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลงเวลาเข้า-ออกงานของพนักงาน (transaction file) ซึ่งจะมี
รายการบันทึกหรือลงเวลาเกิดขึ้นอยู่เป็นประจาทุกวัน
แฟ้มข้อมูลกับระบบฐานข้อมูล (File Processing Versus Database Systems)
ระบบฐานข้อมูล (Database Systems)
แก้ปัญหาความซ้าซ้อนกันของข้อมูลจากเหตุผลข้างต้น
จัดเก็บรวบรวมแฟ้มข้อมูลที่สัมพันธ์กันมาจัดเรียงรวมกันเสียใหม่อย่างเป็นระเบียบ
สะดวกต่อการค้นหาและเรียกใช้ข้อมูลร่วมกัน
8
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เครื่องมือสาหรับจัดการฐานข้อมูล (DBMS)
ลักษณะของ DBMS
ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องทราบถึงโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลในระดับที่ลึกมาก
สามารถกาหนดโครงสร้างและดูแลรักษาฐานข้อมูลได้
ควบคุมการเข้าถึงของข้อมูลตามระดับการใช้งานที่ต้องการ
อาศัยส่วนของภาษาที่จัดการกับข้อมูลโดยเฉพาะเรียกว่า
ภาษาคิวรี่ (query language)
ภาษาคิวรี่ (Query Language)
ภาษาที่ใช้สาหรับสอบถามหรือจัดการกับข้อมูลโดยเฉพาะ
ภาษาที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือ ภาษา SQL(Structure Query Language)
องค์กร ANSI ได้ประกาศให้ SQL เป็นภาษามาตรฐานสาหรับระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิง
สัมพันธ์ (RDBMS)
DELETE ใช้สาหรับลบข้อมูลหรือลบเรคอร์ดใดๆ ในฐานข้อมูล
INSERT ใช้สาหรับเพิ่มข้อมูลหรือเพิ่มเรคอร์ดใดๆ เข้าไปในฐานข้อมูล
SELECT ใช้สาหรับเลือกข้อมูลหรือเลือกเรคอร์ดใดๆ ที่ต้องการจากฐานข้อมูล
UPDATE ใช้สาหรับแก้ไขข้อมูลหรือแก้ไขเรคอร์ดใดๆ ในฐานข้อมูล
9
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ความสามารถโดยทั่วไปของระบบการจัดการฐานข้อมูล
สร้างฐานข้อมูล (create database)
วิเคราะห์และออกแบบข้อมูลก่อนสร้างฐานข้อมูลจริง
ระบบ DBMS ทั่วไป มีเครื่องมือช่วยสร้างอยู่ในโปรแกรม
อาศัยภาษา SQL ในการสั่งงาน เช่น สร้างฟีลด์หรือตาราง เป็นต้น
เพิ่ม เปลี่ยนแปลงและลบข้อมูล (add, change, and delete data)
สามารถเพิ่มค่ารายการในฐานข้อมูลได้ทุกเมื่อ เช่น เพิ่มค่าเรคอร์ดบางเรคอร์ดที่
ตกหล่นในการบันทึกข้อมูล
ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น ที่อยู่ลูกค้าเปลี่ยนหรือเบอร์โทรศัพท์ถูกยกเลิก ก็
สามารถแก้ไขได้
ข้อมูลที่ไม่มีความจาเป็นต้องใช้ เช่น เรคอร์ดของนักศึกษาบางคนที่ลาออกไป
อาจลบออกไปได้เช่นกัน
จัดเรียงและค้นหาข้อมูล (sort and retrieve data)
DBMS มีคุณสมบัติที่ช่วยให้การเรียกค้นดูข้อมูลง่ายและสะดวก
สามารถจัดเรียงข้อมูลและเลือกได้ว่าจะให้ DBMS จัดเรียงแบบใดมากไปน้อย
หรือ เรียงตามลาดับเวลา
การค้นหาข้อมูลที่มีอยู่มาก สามารถระบุค่าเพียงบางส่วนให้ค้นหาได้
สร้างรูปแบบและรายงาน (creat form and report)
สามารถสร้างรูปแบบการแสดงผลบนหน้าจอ (form)
พิมพ์ผลลัพธ์รายการออกมาเป็นรายงาน (report)
ช่วยในเรื่องของการตัดสินใจและการวิเคราะห์ข้อมูล

More Related Content

What's hot

Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลพัน พัน
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูลการจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูลKru Jhair
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 

What's hot (14)

work 3 -6
work 3 -6work 3 -6
work 3 -6
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
 
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูลการจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 

Similar to it-06-50

พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลtumetr
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนsariya25
 
Bacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisBacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisSakarin Habusaya
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
01 introduction to data mining
01 introduction to data mining01 introduction to data mining
01 introduction to data miningphakhwan22
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารmiwmilk
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศnawapornsattasan
 

Similar to it-06-50 (20)

พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอน
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
Bacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisBacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcis
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
01 introduction to data mining
01 introduction to data mining01 introduction to data mining
01 introduction to data mining
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
 
work3
work3 work3
work3
 

it-06-50

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved  ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของสถานที่ ฯลฯ โดยอยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมต่อการสื่อสาร การแปลความหมาย และการประมวลผลซึ่งข้อมูลอาจจะได้มาจากการสังเกต การรวบรวม การวัด ข้อมูล เป็นได้ทั้งข้อมูลตัวเลขหรือสัญญลักษณ์ใด ๆ ที่สาคัญจะต้องมีความเป็นจริงและ ต่อเนื่องตัวอย่างของข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชือนักเรียน เพศ อายุ เป็นต้น   แหล่งที่มาของข้อมูล (Source of Data) ข้อมูลสถิติอาจจาแนกตามแหล่งที่มาได้ 2 ทาง คือ • ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้หรือหน่วยงานที่ใช้เป็นผู้ทาการเก็บ ข้อมูลด้วยตนเอง ซึ่งวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลอาจใช้วิธีการสัมภาษณ์ การทดลอง หรือ การสังเกตการณ์ ข้อมูลปฐมภูมิเป็นข้อมูลที่มีรายละเอียดตรงตามที่ผู้ใช้ต้องการ แต่ มักจะเสียเวลาในการจัดหาและมีค่าใช้จ่ายสูง • ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่ได้เก็บรวบรวมเอง แต่มีผู้อื่น หรือ หน่วยงานอื่นๆ ทาการเก็บรวบรวมไว้แล้ว เช่น จากรายงาน ที่พิมพ์แล้ว หรือยัง ไม่ได้พิมพ์ของ หน่วยงานของรัฐบาล สมาคม บริษัท สานักงานวิจัย นักวิจัย วารสาร หนังสือพิมพ์ เป็นต้น การนาเอาข้อมูลเหล่านี้มาใช้เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย แต่ ในบางครั้งข้อมูลอาจจะไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ หรือมีรายละเอียดไม่เพียง พอที่จะนาไปวิเคราะห์ นอกจากนี้ในบางครั้ง ข้อมูลนั้นอาจมีความผิดพลาดและผู้ใช้มักจะ ไม่ทราบข้อผิดพลาดดังกล่าว ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการสรุปผล ดังนั้น ผู้ที่จะนาข้อมูล ทุติยภูมิมาใช้ควรระมัดระวังและตรวจสอบคุณภาพข้อมูลก่อนที่จะนาไปวิเคราะห์ หัวข้อที่ 6 นาเสนอ ม.คุณภัทร จัดทาโดย ปัณฑิตา สังฆ์การีย์ ม.6/1 เลขที่ 50
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved - คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี ข้อมูลที่ดีจะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติที่สาคัญๆ ดังนี้คือ 1. ความถูกต้องแม่นยา (accuracy) ข้อมูลที่ดีควรจะมีความถูกต้องแม่นยาสูง หรือถ้ามีความ คลาดเคลื่อน (errors) ปนอยู่บ้าง ก็ควรที่จะสามารถควบคุมขนาดของความคลาดเคลื่อนที่ปนมาให้ มีความคลาดเคลื่อน น้อยที่สุด 2. ความทันเวลา (timeliness) เป็นข้อมูลที่ทันสมัย (up to date) และทันต่อความต้องการของ ผู้ใช้ ถ้าผลิตข้อมูลออกมาช้า ก็ไม่มีคุณค่าถึงแม้จะเป็นข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยาก็ตาม 3. ความสมบูรณ์ครบถ้วน (completeness) ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาต้องเป็นข้อมูลที่ให้ข้อเท็จจริง (facts) หรือข่าวสาร (information) ที่ครบถ้วนทุกด้านทุกประการ มิใช่ขาดส่วนหนึ่งส่วนใดไปทาให้ นาไปใช้การไม่ได้ 4. ความกระทัดรัด (conciseness) ข้อมูล ที่ได้รับส่วนใหญ่จะกระจัดกระจาย ควรจัด ข้อมูลให้อยู่ใน รูปแบบที่กระทัดรัดไม่เยิ่น เย้อ สะดวกต่อการใช้และค้นหา ผู้ใช้มี ความเข้าใจได้ทันที 5. ความตรงกับความต้องการของ ผู้ใช้ (relevance) ข้อมูลที่จัดทาขึ้นมาควร เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้ ข้อมูลต้องการใช้ และ จาเป็นต้องรู้ / ทราบ หรือเป็นประโยชน์ต่อ การจัดทาแผน กาหนดนโยบายหรือ ตัดสินปัญหาในเรื่องนั้นๆ ไม่ใช่เป็นข้อมูล ที่จัดทาขึ้นมาอย่างมากมาย แต่ไม่มีใคร ต้องการใช้หรือไม่ตรงกับความต้องการ ของผู้ใช้ข้อมูล
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved การแบ่งลาดับชั้นของการจัดการข้อมูล (hierarchy of date) ในการจัดการข้อมูลจะมีการแบ่งข้อมูลออกเป็นลาดับชั้นเพื่อง่ายต่อการ เรียกใช้และ ประมวลผล ลาดับชั้นข้อมูลพื้นฐานที่ควรทราบมีดังต่อไปนี้ บิต (Bit = Binary Digit) เป็นลาดับชั้นของหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด ดังที่ทราบกันดีแล้วว่าข้อมูลที่จะทางาน ร่วมกับคอมพิวเตอร์ได้นั้น จะต้องเอามาแปลงให้อยู่ในรูปของเลขฐานสองเสียก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและ ทางานตามที่ต้องการได้ เมื่อแปลงแล้วจะได้ตัวเลขแทน สถานะเปิดและปิด ของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า บิต เพียง 2 ค่าเท่านั้นคือ บิต 0 และ บิต 1 ไบต์ (Byte) เมื่อนาบิตมารวมกันหลายๆบิต จะได้หน่วยข้อมูลกลุ่มใหม่ที่เรียกว่า ไบต์ (Byte) ซึ่ง จานวนของบิตที่ได้นั้นแต่ละกลุ่มอาจมีมากหรือน้อยบ้าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของรหัสที่ใช้ เก็บ แต่โดยปกติกับการใช้งานในรหัสแอสกีทั่วไปจะได้กลุ่มของบิต 8 บิตด้วยกัน ซึ่งนิยม มาแทนเป็นรหัสของตัวอักษร บางครั้งจึงนิยมเรียกข้อมูล 1 ไบต์ว่าเป็น 1 ตัวอักษร ฟีลด์ หรือเขตของข้อมูล (Field) ประกอบด้วยกลุ่มของตัวอักษรหรือไบต์ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปมาประกอบกันเป็นหน่วย ข้อมูลที่ใหญ่ขึ้นแล้วแสดงลักษณะหรือความ หมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ยกตัวอย่างเขต ข้อมูลเกี่ยวกับพนักงาน เช่น รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล เงินเดือน ตาแหน่ง เรคคอร์ด (Record) เป็นกลุ่มของเขตข้อมูลหรือฟีลด์ที่มีความสัมพันธ์กัน และนามาจัดเก็บรวมกันเป็น หน่วยใหม่ที่ใหญ่ขึ้นเพียงหน่วยเดียว ปกติในการจัดการข้อมูลใดมักประกอบด้วยเรคค อร์ด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของข้อมูลเป็นหลัก ไฟล์ หรือแฟ้มตารางข้อมูล (File) ไฟล์ หรือแฟ้มข้อมูล เป็นการนาเอาข้อมูลทั้งหมดหลายๆเรคคอร์ดที่ต้องการจัดเก็บ มาเรียงอยู่ในรู แปบของแฟ้มตารางข้อมูลเดียวกัน เช่น แฟ้มตารางข้อมูลเกี่ยวกับ คะแนนนักศึกษาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจประกอบด้วยเรคคอร์ดของนักศึกษา หลายๆคนที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับ รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล และคะแนนที่ได้
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ฐานข้อมูล (Database) เกิดจากการรวบรวมเอาแฟ้มตารางข้อมูลหลายๆแฟ้มที่มีความสัมพันธ์กันมา เก็บรวมกันไว้ที่เดียว โดยจะมีการเก็บคาอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างฐานข้อมูลหรือที่เรียกว่า พจนานุกรมข้อมูล (data dictionary) ซึ่งจะใช้อธิบายลักษณะของข้อมูลที่เก็บไว้ เป็นต้นว่า โครงสร้างของแต่ละตารางเป็นอย่างไร ประกอบด้วยฟีลด์อะไรบ้าง คุณลักษณะของแต่ละฟีลด์และความสัมพันธ์ของแต่ละแฟ้มเป็นอย่างไร ซึ่ง ข้อมูลเหล่านี้ถือว่ามีความจาเป็นมากและจะถูกเรียกใช้ในระหว่างที่มีการ ประมวลผลฐานข้อมูลนั่นเอง ตัวอย่างฐานข้อมูล ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ฐานข้อมูลทะเบียนนักศึกษา ฐานข้อมูลบุคลากร ฐานข้อมูลสินค้าคงคลัง ฯลฯ การจัดโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล (File Organization) โครงสร้างของแฟ้มข้อมูล เป็นวิธีการกาหนดโครงสร้างเพื่อจัดเก็บข้อมูลไว้ในแฟ้มบนสื่อบันทึกข้อมูลสารอง เพื่อให้การจัดเก็บและเข้าถึงข้อมูล มีความรวดเร็ว ถูกต้อง และเหมาะสมกับความต้องการ โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลาดับ (Sequential File Structure) โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดพื้นฐานที่สามารถใช้งานได้ง่ายที่สุด จัดเก็บข้อมูลแบบเรียงลาดับเรคอร์ดต่อเนื่องกันไป การอ่านหรือค้นคืนข้อมูลจะข้ามลาดับไปอ่านโดยตรงไม่ได้ เหมาะสมกับงานที่มีการอ่านข้อมูลต่อเนื่องกันไปตามลาดับและในปริมาณมาก จัดเก็บอยู่ในอุปกรณ์ประเภทเทปแม่เหล็ก (magnetic tape)
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม (Direct/Random File Structure) โครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่เข้าถึงได้โดยตรง สามารถเลือกหรืออ่านค่าได้โดยไม่จาเป็นต้องผ่านเรคอร์ดแรกๆ การเข้าถึงข้อมูลทาได้เร็ว จัดเก็บในสื่อที่มีการเข้าถึงได้โดยตรงประเภทจานแม่เหล็ก เช่นดิสเก็ตต์, ฮาร์ดดิสก์หรือ CD- ROM โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบลาดับเชิงดรรชนี (Index Sequential File Structure) รวมเอาความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มและแบบเรียงตามลาดับเข้าไว้ด้วยกัน ข้อมูลถูกเก็บเรียงกันตามลาดับไว้บนสื่อแบบสุ่ม และเข้าถึงข้อมูลผ่านแฟ้มข้อมูลลาดับเชิง ดรรชนี (indexed sequential file) ทางานได้ยืดหยุ่นกว่าวิธีอื่นโดยเฉพาะกรณีที่มีข้อมูลมากๆ ข้อดีข้อเสียของแบบเรียงลาดับ (sequential file)
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ข้อดีข้อเสียของแบบสุ่ม (random file) ข้อดีข้อเสียของแบบลาดับเชิงดรรชนี (indexed sequential file) ประเภทของแฟ้มข้อมูล (File type) สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ แฟ้มหลัก (Master file) แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction file
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved แฟ้มหลัก (Master file) แฟ้มข้อมูลที่มีความถี่ของการเปลี่ยนแปลงข้อมูลไม่บ่อยมากนัก อาศัยข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงเข้ามาทาให้มีความทันสมัย (up to date) ได้ เช่น แฟ้มหลักลูกค้าธนาคารซึ่งจะเก็บข้อมูลของลูกค้า เช่น ชื่อ ที่อยู่ หมายเลขบัญชี ยอดเงินคงเหลือ ในบัญชีเป็นต้น แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction file) แฟ้มข้อมูลที่มีการเปลี่ยนหรือแก้ไขของรายการข้อมูลภายในค่อนข้างบ่อยและทาแบบประจาต่อเนื่อง หรือเกิดขึ้นทุกวัน มักจะนาไปใช้สาหรับการปรับปรุงแฟ้มหลัก ตัวอย่างเช่น แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลงเวลาเข้า-ออกงานของพนักงาน (transaction file) ซึ่งจะมี รายการบันทึกหรือลงเวลาเกิดขึ้นอยู่เป็นประจาทุกวัน แฟ้มข้อมูลกับระบบฐานข้อมูล (File Processing Versus Database Systems) ระบบฐานข้อมูล (Database Systems) แก้ปัญหาความซ้าซ้อนกันของข้อมูลจากเหตุผลข้างต้น จัดเก็บรวบรวมแฟ้มข้อมูลที่สัมพันธ์กันมาจัดเรียงรวมกันเสียใหม่อย่างเป็นระเบียบ สะดวกต่อการค้นหาและเรียกใช้ข้อมูลร่วมกัน
  • 8. 8 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เครื่องมือสาหรับจัดการฐานข้อมูล (DBMS) ลักษณะของ DBMS ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องทราบถึงโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลในระดับที่ลึกมาก สามารถกาหนดโครงสร้างและดูแลรักษาฐานข้อมูลได้ ควบคุมการเข้าถึงของข้อมูลตามระดับการใช้งานที่ต้องการ อาศัยส่วนของภาษาที่จัดการกับข้อมูลโดยเฉพาะเรียกว่า ภาษาคิวรี่ (query language) ภาษาคิวรี่ (Query Language) ภาษาที่ใช้สาหรับสอบถามหรือจัดการกับข้อมูลโดยเฉพาะ ภาษาที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือ ภาษา SQL(Structure Query Language) องค์กร ANSI ได้ประกาศให้ SQL เป็นภาษามาตรฐานสาหรับระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิง สัมพันธ์ (RDBMS) DELETE ใช้สาหรับลบข้อมูลหรือลบเรคอร์ดใดๆ ในฐานข้อมูล INSERT ใช้สาหรับเพิ่มข้อมูลหรือเพิ่มเรคอร์ดใดๆ เข้าไปในฐานข้อมูล SELECT ใช้สาหรับเลือกข้อมูลหรือเลือกเรคอร์ดใดๆ ที่ต้องการจากฐานข้อมูล UPDATE ใช้สาหรับแก้ไขข้อมูลหรือแก้ไขเรคอร์ดใดๆ ในฐานข้อมูล
  • 9. 9 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ความสามารถโดยทั่วไปของระบบการจัดการฐานข้อมูล สร้างฐานข้อมูล (create database) วิเคราะห์และออกแบบข้อมูลก่อนสร้างฐานข้อมูลจริง ระบบ DBMS ทั่วไป มีเครื่องมือช่วยสร้างอยู่ในโปรแกรม อาศัยภาษา SQL ในการสั่งงาน เช่น สร้างฟีลด์หรือตาราง เป็นต้น เพิ่ม เปลี่ยนแปลงและลบข้อมูล (add, change, and delete data) สามารถเพิ่มค่ารายการในฐานข้อมูลได้ทุกเมื่อ เช่น เพิ่มค่าเรคอร์ดบางเรคอร์ดที่ ตกหล่นในการบันทึกข้อมูล ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น ที่อยู่ลูกค้าเปลี่ยนหรือเบอร์โทรศัพท์ถูกยกเลิก ก็ สามารถแก้ไขได้ ข้อมูลที่ไม่มีความจาเป็นต้องใช้ เช่น เรคอร์ดของนักศึกษาบางคนที่ลาออกไป อาจลบออกไปได้เช่นกัน จัดเรียงและค้นหาข้อมูล (sort and retrieve data) DBMS มีคุณสมบัติที่ช่วยให้การเรียกค้นดูข้อมูลง่ายและสะดวก สามารถจัดเรียงข้อมูลและเลือกได้ว่าจะให้ DBMS จัดเรียงแบบใดมากไปน้อย หรือ เรียงตามลาดับเวลา การค้นหาข้อมูลที่มีอยู่มาก สามารถระบุค่าเพียงบางส่วนให้ค้นหาได้ สร้างรูปแบบและรายงาน (creat form and report) สามารถสร้างรูปแบบการแสดงผลบนหน้าจอ (form) พิมพ์ผลลัพธ์รายการออกมาเป็นรายงาน (report) ช่วยในเรื่องของการตัดสินใจและการวิเคราะห์ข้อมูล