SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
หน่วยที่ 6
การจัดการข้อมูล
แนวคิด
การจัดการข้อมูลเป็นกิจกรรมที่สาคัญจะส่งผลสาเร็จต่อการนาเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการปฏิบัติงาน โดยทั่วไปข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ใน
ระบบคอมพิวเตอร์จะอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล ดังนั้น การเรียนรู้ในเรื่องการจัดการข้อมูล
นักศึกษาจะต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างของข้อมูล แฟ้มข้อมูล การจัดการ
แฟ้มข้อมูล รวมทั้งการจัดการแฟ้มข้อมูลด้วยฐานข้อมูลและการนาโปรแกรมระบบ
การจัดการฐานข้อมูลมาใช้ตลอดจนการประมวลผลข้อมูล ขั้นตอนและวิธีการ
ประมวลผลข้อมูล
สาระการเรียนรู้
วัตถุประสงค์ในการจัดการข้อมูล
การแบ่งลาดับของการจัดการข้อมูล
ชนิดของข้อมูล
ประเภทของแฟ้มข้อมูล
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)
การแบ่งประเภทแฟ้ม
ระบบจัดการฐานข้อมูล
ลักษณะการจัดสารสนเทศที่ดี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
บอกวัตถุประสงค์ในการจัดการข้อมูลได้
อธิบายการแบ่งลาดับของการจัดการข้อมูลได้
บอกชนิดของข้อมูลได้
อธิบายประเภทของแฟ้มข้อมูลได้
บอกลักษณะการประมวลผลข้อมูลได้
อธิบายการแบ่งประเภทแฟ้มได้
บอกระบบจัดการฐานข้อมูลได้
อธิบายลักษณะการจัดสารสนเทศที่ดีได้
วัตถุประสงค์ในการจัดการข้อมูล
เป็นองค์ประกอบที่สาคัญส่วนหนึ่งของระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ (Computer
Information System) การจัดการข้อมูล (Data Management) เป็นกลยุทธ์หนึ่งใน
การบริหารองค์กรให้มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคเทคโนโลยีข่าวสารคอมพิวเตอร์ที่เจริญก้าวหน้า
ไปอย่างรวดเร็ว การจัดการบริหารองค์กรให้ประสบความสาเร็จนั้น การตัดสินใจที่ถูกต้องรวดเร็ว และทันต่อ
เหตุการณ์ถือเป็นหัวใจของการทาธุรกิจในยุคปัจจุบัน ดังนั้นการจัดการข้อมูลให้มีประสิทธิภาพเพื่อนาสู่การ
ตัดสินใจที่ถูกต้องจะช่วยให้องค์กรอยู่รอดได้ในการแข่งขันกับองค์กรอื่นๆ สาหรับวัตถุประสงค์ในการจัดการ
ข้อมูลมีดังต่อไปนี้
1. การเก็บข้อมูลต้องเก็บข้อมูลเพื่อให้สามารถนากลับมาใช้ได้ในภายหลัง
2. การจัดข้อมูล ต้องจัดข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถเรียกใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. การปรับปรุงข้อมูล ต้องปรับปรุงข้อมูลให้มีความถูกต้องสมบูรณ์อยู่เสมอ
4. การปกป้องข้อมูล ต้องปกป้องข้อมูลจากการทาลาย ลักลอบใช้ หรือแก้ไขโดยมิชอบ
5. รวมทั้งปกป้องข้อมูลจากอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากวินาศภัยหรือความบกพร่องภายในระบบ
คอมพิวเตอร์
การแบ่งลาดับของการจัดข้อมูล
หน่วยของข้อมูลคอมพิวเตอร์สามารถจัดเรียงเป็นลาดับชั้นจากขนาดเล็กไปขนาดใหญ่ได้ดังนี้
1. บิต (Bit) เป็นส่วนที่เล็กที่สุดในการเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จะเป็น
ตัวเลขในระบบฐานสองประกอบด้วย 0 และ 1 แทนสองสถานะของเปิด-ปิด หรือ จริง-
เท็จ
2. อักขระ (Character) คือ ส่วนประกอบของบิตโดยทั่วไปใช้ 8 บิต แทน
หนึ่งอักขระของตัวอักษร
3. ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ อักขระหนึ่งตัวเรียกว่า 1 ไบต์ (Byte) และรหัสแทน
ข้อมูลที่นิยมใช้คือ รหัสแอสกี (ASCII) และรหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC)
4. เขตข้อมูล (Field) เป็นส่วนของข้อมูลที่ประกอบด้วยอักขระตั่งแต่ 1 ตัวที่มี
ความหมายแสดงถึงลักษณะของข้อมูล เช่น ชื่อผู้แต่งหนังสือ ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เป็นต้น
โดยเขตข้อมูลแบ่งเป็นเขตข้อมูลย่อยได้อีกเช่น เขตข้อมูลชื่อผู้แต่ง แบ่งเป็นชื่อตัวและชื่อ
สกุล เช่น นางสาวจุฑามาศ รักดี เป็นต้น
5. ระเบียนข้อมูล (Record) เป็นส่วนของข้อมูลที่ประกอบด้วยเขตข้อมูล
ตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไปที่สัมพันธ์กัน ระเบียนข้อมูลจะรวมเขตข้อมูลที่แสดงถึงเรื่องใด
เรื่องหนึ่ง
6. แฟ้มข้อมูล (File) เป็นการรวมระเบียนข้อมูลหลายๆ ระเบียนที่เกี่ยวพัน
กันเพื่อการนาไปประมวลใช้งาน เช่น แฟ้มข้อมูลหนังสือด้านวิทยาศาสตร์
ประกอบด้วยระบียนข้อมูลบรรณานุกรมหนังสือด้านวิทยาศาสตร์หลายๆระเบียน
รวมกัน หรือแฟ้มข้อมูลนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยระเบียนข้อมูล
นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์หลายๆ ระเบียนรวมกัน
7. ฐานข้อมูล (Database) เป็นการรวบรวมแฟ้มข้อมูลที่สัมพันธ์กัน
หลายๆ แฟ้มมาจัดเก็บเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบมีการกาหนดรูปแบบการจัดเก็บ
อย่างมีระบบเพื่อให้สามารถนาไปประมวลใช้งานต่างๆ ตามต้องการ เช่น ฐานข้อมูล
งานบริการยืม-คืน วัสดุสารสนเทศของห้องสมุดประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลรายการ
วัสดุสารสนเทศที่ให้ยืม แฟ้มข้อมูลผู้ใช้ห้องสมุดที่มีสิทธิยืมวัสดุสารสนเทศ เป็นต้น
ชนิดของข้อมูล (DataTypes)
ข้อมูลแต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะตัว โดยสามารถแบ่งเป็นชนิดต่างๆ ได้ ดังนี้
1. ค่าตรรกะ (BooleanValues) คือค่าทางตรรกศาสตร์ซึ่งมีเพียง 2
ค่าคือ จริงหรือเท็จ
2. จานวนเต็ม (Integers) หมายถึงเลขที่ไม่มีเศษส่วน หรือทศนิยม เช่น
1,34,-29 เลขฐานสองจานวน 16 บิต ช่วงของข้อมูลจะเป็น -32768 ถึง
+32767 (หรือ 0 ถึง 65535 ในกรณีของจานวนเต็มที่ไม่มีเครื่องหมายติด
ลบ) ถ้าใช้จานวนบิตมากขึ้นก็ยิ่งเก็บได้ช่วงกว้างขึ้น
3. จานวนจริง (Floating-point Numbers) หมายถึง จานวน
ใดๆ รวมทั้งจานวนเต็มและจานวนที่มีทศนิยม เช่น 41.55 และ -9.0477
เป็นต้น
4. ตัวอักษร (Characters) หมายถึงข้อมูลที่แทนด้วยกลุ่มของบิต ซึ่ง
อาจเป็น 8 บิต (1 ไบต์) หรือ 16 บิต ข้อมูลประเภทตัวอักษรหมายถึงตัวอักษร
เพียงตัวเดียวเท่านั้น ถ้ามีมากกว่าหนึ่งจะไม่ถือว่าเป็นตัวอักษร แต่อาจถือว่าเป็นสาย
อักขระ (Strings) ข้อมูลชนิดตัวอักษร เช่น R
5. สายอักขระ (Strings) หมายถึงกลุ่มตัวอักษรที่ประกอบกันขึ้นเป็น
ข้อความที่มีความยาวตั้งแต่ 0 ขึ้นไป ชื่อ นามสกุล ชื่อภาพยนตร์ หรือคาอธิบาย
สรรพคุณยา เป็นข้อมูลประเภทสายอักขระ เช่น ห้ามดื่มน้าเกินวันละสองขวด
6. วันที่และเวลา (Date/Time) หมายถึง ข้อมูลที่แทนค้าวันที่และเวลา
ซึ่งต่างจากสายอักขระที่ใช้แทนวันที่ เช่น 210799 (หมายถึงวันที่ 21 กรกฎาคม
ค.ศ.1999) วันที่และเวลาเป็นข้อมูลที่มีการตรวจสอบความถูกต้องในตัวของมัน
เอง
7. ไบนารี (Binary) หมายถึง ข้อมูลใดๆ ที่เก็บในคอมพิวเตอร์อาจเป็น
แฟ้มโปรแกรมหรือรูปภาพ หรือวิดีโอ เป็นต้น
ประเภทของแฟ้ มข้อมูล
แฟ้มข้อมูล สามารถแบ่งตามสถานการณ์เก็บข้อมูลได้2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
แฟ้มหลัก (Master files) คือ แฟ้มที่เก็บข้อมูลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
หรือเปลี่ยนแปลงน้อย เช่น ฝ่ายขายอาจมีแฟ้มข้อมูลหลักของลูกค้า และแฟ้มข้อมูล
ของลูกค้า แฟ้มนี้อาจเก็บข้อมูลที่ไม่เป็นปัจจุบันนั่นคือเป็นข้อมูลที่ไม่ตรงกับความ
เป็นจริงในชั่วขณะหนึ่ง ขึ้นอยู่กับความถี่ในการปรับปรุงแฟ้มหลัก โดยทั่วไปแฟ้ม
หลักจะเก็บข้อมูลถาวรหรือกึ่งถาวร หรือข้อมูลที่เป็นประวัติศาสตร์ ซึ่งจะไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงอีกเลย
แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction files) คือ แฟ้มที่เก็บข้อมูล
รายการเปลี่ยนแปลง (Transaction) เก็บสะสมรวบรวมไว้เพื่อนามา
ประมวลผลและนาไปปรับปรุงแฟ้มหลักอีกทีหนึ่งระเบียนในแฟ้มรายการ
เปลี่ยนแปลงจะแทนเหตุการณ์หรือความเปลี่ยนแปลงที่จะนาไปปรับปรุงในความเป็น
จริงซึ่งเก็บสะสมไว้ในแฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)
การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) การประมวลผลแบบกลุ่ม
ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กาหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อ
ถึงกาหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้
โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี (1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชีข้อมูล
การใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนามารวบรวมและประมวลผลคราวเดียวเพื่อออกใบแจ้งนี้
ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบ
ยอกการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไหร่ การประมวลผล
แบบกลุ่มจึงเหมาะสาหรับงานลักษณะ
การประมวลผลแบบทันที (Real-Time Processing) การประมวลผล
แบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝาก ถอนเงินในธนาคาร
เมื่อลูกค้าฝากเงินข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากใน
บัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันทีการฝาก ถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทาพร้อมกันในคราว
เดียวไม่ได้จึงต้องประมวลผลทันทีถึงแม้จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม
ก็ตาม
การแบ่งประเภทแฟ้ ม
แฟ้มลาดับ เป็นแฟ้มที่มีโรงสร้างการเก็บข้อมูลแบบพื้นฐานที่สุด กล่าวคือ เมื่อ
มีการเพิ่มข้อมูลลงในแฟ้มทีละระเบียน ข้อมูลจะเข้าต่อท้ายเรียงกันไปในการย้าย
ข้อมูลก็จะอ่านข้อมูลทีละระเบียน เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายอาจเปรียบเทียบได้กับการเก็บ
ข้อมูลเพลงในเทปคาสเซต
แฟ้มสุ่ม เป็นแฟ้มที่มีคุณสมบัติที่ผู้ใช้สามารถอ่านหรือเขียนที่ตาแหน่งใดๆก็ได้
โดยไม่ต้องเรียงลาดับจากต้นแฟ้ม
แฟ้มแบบดรรชนี แฟ้มแบบนี้จาเป็นต้องมีการจัดเรียงข้อมูลในเขตข้อมูลที่เป็น
ดรรชนีเสียก่อน เพื่อประโยชน์การค้นหา การหาตาแหน่งในการเขียน การอ่านใน
ระเบียนที่ต้องการ ปกติจะใช้ข้อมูลที่เป็นกุญแจสาหรับการค้นหา เพื่อความสะดวก
ในการกาหนดตาแหน่งการเขียนอ่าน
ระบบจัดการฐานข้อมูล
ในยุคการทางานด้วยคอมพิวเตอร์ถึงแม้จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพดีแล้วก็ตามยังต้อง
มีชุดคาสั่ง (Software) ที่จะควบคุมการทางานของเครื่องอีกด้วย บุคคลที่ได้คุ้นเคยกับการเขียน
ชุดคาสั่งด้วยคาสั่งของคอมพิวเตอร์ต่างๆ เช่น ภาษาเบสิก ภาษาฟอร์แทรน อาจจะประสบปัญหาการเขียน
ชุดคาสั่งด้วยคาสั่งที่เกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล ตัวอย่างเช่น บริษัทแห่งหนึ่งต้องการประมวลผลข้อมูลเกี่ยวกับ
เงินเดือนของพนักงาน ข้อมูลเกี่ยวกับการทาบัญชีรายรับรายจ่าย ข้อมูลของระบบสินค้าคงคลัง โดยทั่วๆ
ไปในการเขียนชุดคาสั่งหรือใช้งานคอมพิวเตอร์เพื่อให้ได้จุดประสงค์ตามความต้องการดังกล่าว อาจจะใช้
หลักการทางานโดยวิธีการจัดแฟ้ม ซึ่งเรียกวิธีนี้ว่าระบบการจัดกระทาแฟ้มข้อมูล (File Handing
System) ดังภาพ
ลักษณะการจัดสารสนเทศที่ดี
ในศูนย์คอมพิวเตอร์เมื่อสมัยก่อนนั้นจะเห็นภาพผู้คนนั่งเจาะบัตรคอมพิวเตอร์
ให้เป็นรหัสทั้งส่วนที่เป็นข้อมูลหรือโปรแกรม กาทางานในสมัยนั้นส่วนใหญ่ใช้การ
ประมวลผลแบบกลุ่มโดยนาข้อมูลเก็บไว้ในเทปบันทึก แล้วนามาประมวลผล เพื่อทา
รายงานตามความต้องการ การทางานในลักษณะประมวลผลแบบกลุ่มก็ยังคงมีอยู่
จนถึงปัจจุบันโดยเฉพาะในงานวิจัย
การแจ้งผลสอบผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธนาคาร ต้องมีการค้นหารข้อมูลผล
สอบและตอบให้ทราบทันทีทั้งที่เป็นระบบเสียงพูดและระบบแสดงผลบนจอภาพ เป็น
ตัวอย่างที่แสดงว่าการทางานกับระบบฐานข้อมูลเริ่มมีความจาเป็นจะต้องมีการ
ประมวลผลผ่านสายโทรศัพท์ที่เรียกว่าการประมวลผลแบบเชื่อมตรง การ
ประมวลผลแบบนี้มีการเรียกค้นหาข้อมูลและปรับปรุงแก้ไขข้อมูลได้ตลอดเวลา จึง
นิยมใช้กันแพร่หลายมากขึ้น

More Related Content

What's hot

นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลABELE Snvip
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลพัน พัน
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 

What's hot (16)

นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
Work3-10
Work3-10Work3-10
Work3-10
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Slide Chapter1
 

Viewers also liked

Åpne lenkede data og kulturarvsektoren
Åpne lenkede data og kulturarvsektorenÅpne lenkede data og kulturarvsektoren
Åpne lenkede data og kulturarvsektorenLars Rogstad
 
Epic research daily agri report 23 jan 2015
Epic research daily agri  report  23 jan 2015Epic research daily agri  report  23 jan 2015
Epic research daily agri report 23 jan 2015Epic Research Limited
 
En the ruling_on_magic
En the ruling_on_magicEn the ruling_on_magic
En the ruling_on_magicLoveofpeople
 
Pesan&kesan magang
Pesan&kesan magangPesan&kesan magang
Pesan&kesan magangRima Utami
 
Cek cumhuriyeti ulke-raporu_2013
Cek cumhuriyeti ulke-raporu_2013Cek cumhuriyeti ulke-raporu_2013
Cek cumhuriyeti ulke-raporu_2013UlkeRaporlari2013
 
WinterIssue_BSPages_InteriorsChicago_ ModernLuxury
WinterIssue_BSPages_InteriorsChicago_ ModernLuxuryWinterIssue_BSPages_InteriorsChicago_ ModernLuxury
WinterIssue_BSPages_InteriorsChicago_ ModernLuxuryBianca Smith
 
Menjadi Profesional (How to Become A Professional - Bahasa Indonesia)
Menjadi Profesional (How to Become A Professional - Bahasa Indonesia)Menjadi Profesional (How to Become A Professional - Bahasa Indonesia)
Menjadi Profesional (How to Become A Professional - Bahasa Indonesia)Yoke S. Fabianto
 
Crowdfunding – Naar een duurzame sector (Anne Hakvoort)
Crowdfunding – Naar een duurzame sector (Anne Hakvoort)Crowdfunding – Naar een duurzame sector (Anne Hakvoort)
Crowdfunding – Naar een duurzame sector (Anne Hakvoort)Ronald Kleverlaan
 
Invesztitúra
InvesztitúraInvesztitúra
Invesztitúrazsuzsimc3
 
Udhëzime për aplikimin në Programin LEAD Albania
Udhëzime për aplikimin në Programin LEAD AlbaniaUdhëzime për aplikimin në Programin LEAD Albania
Udhëzime për aplikimin në Programin LEAD AlbaniaLEAD_Albania
 
สมัครงาน
สมัครงานสมัครงาน
สมัครงานfindgooodjob
 
история Великой победы для моей семьи
история  Великой победы для  моей семьиистория  Великой победы для  моей семьи
история Великой победы для моей семьиЕлена Чермошенцева
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Piyamon1997
 

Viewers also liked (20)

Model model rumah
Model model rumahModel model rumah
Model model rumah
 
Åpne lenkede data og kulturarvsektoren
Åpne lenkede data og kulturarvsektorenÅpne lenkede data og kulturarvsektoren
Åpne lenkede data og kulturarvsektoren
 
Epic research daily agri report 23 jan 2015
Epic research daily agri  report  23 jan 2015Epic research daily agri  report  23 jan 2015
Epic research daily agri report 23 jan 2015
 
En the ruling_on_magic
En the ruling_on_magicEn the ruling_on_magic
En the ruling_on_magic
 
Pesan&kesan magang
Pesan&kesan magangPesan&kesan magang
Pesan&kesan magang
 
Cek cumhuriyeti ulke-raporu_2013
Cek cumhuriyeti ulke-raporu_2013Cek cumhuriyeti ulke-raporu_2013
Cek cumhuriyeti ulke-raporu_2013
 
WinterIssue_BSPages_InteriorsChicago_ ModernLuxury
WinterIssue_BSPages_InteriorsChicago_ ModernLuxuryWinterIssue_BSPages_InteriorsChicago_ ModernLuxury
WinterIssue_BSPages_InteriorsChicago_ ModernLuxury
 
Menjadi Profesional (How to Become A Professional - Bahasa Indonesia)
Menjadi Profesional (How to Become A Professional - Bahasa Indonesia)Menjadi Profesional (How to Become A Professional - Bahasa Indonesia)
Menjadi Profesional (How to Become A Professional - Bahasa Indonesia)
 
Crowdfunding – Naar een duurzame sector (Anne Hakvoort)
Crowdfunding – Naar een duurzame sector (Anne Hakvoort)Crowdfunding – Naar een duurzame sector (Anne Hakvoort)
Crowdfunding – Naar een duurzame sector (Anne Hakvoort)
 
Silabus B. Ing smp kls 8
Silabus B. Ing smp kls 8Silabus B. Ing smp kls 8
Silabus B. Ing smp kls 8
 
Invesztitúra
InvesztitúraInvesztitúra
Invesztitúra
 
2009__kaitzB_003
2009__kaitzB_0032009__kaitzB_003
2009__kaitzB_003
 
Udhëzime për aplikimin në Programin LEAD Albania
Udhëzime për aplikimin në Programin LEAD AlbaniaUdhëzime për aplikimin në Programin LEAD Albania
Udhëzime për aplikimin në Programin LEAD Albania
 
Jukka Suvitie: Strateginen johtaminen
Jukka Suvitie: Strateginen johtaminenJukka Suvitie: Strateginen johtaminen
Jukka Suvitie: Strateginen johtaminen
 
Hangyák
HangyákHangyák
Hangyák
 
2009_horef_007
2009_horef_0072009_horef_007
2009_horef_007
 
สมัครงาน
สมัครงานสมัครงาน
สมัครงาน
 
история Великой победы для моей семьи
история  Великой победы для  моей семьиистория  Великой победы для  моей семьи
история Великой победы для моей семьи
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
001
001001
001
 

Similar to หน่วยที่ 6

Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุลmiwmilk
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1leoleaun
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 

Similar to หน่วยที่ 6 (20)

it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
 
บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 

More from niramon_gam

หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12niramon_gam
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11niramon_gam
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10niramon_gam
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9niramon_gam
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8niramon_gam
 
หน่วยที่7
หน่วยที่7หน่วยที่7
หน่วยที่7niramon_gam
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5niramon_gam
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4niramon_gam
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3niramon_gam
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2niramon_gam
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1niramon_gam
 

More from niramon_gam (11)

หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
หน่วยที่7
หน่วยที่7หน่วยที่7
หน่วยที่7
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 

หน่วยที่ 6

  • 2. แนวคิด การจัดการข้อมูลเป็นกิจกรรมที่สาคัญจะส่งผลสาเร็จต่อการนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการปฏิบัติงาน โดยทั่วไปข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ใน ระบบคอมพิวเตอร์จะอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล ดังนั้น การเรียนรู้ในเรื่องการจัดการข้อมูล นักศึกษาจะต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างของข้อมูล แฟ้มข้อมูล การจัดการ แฟ้มข้อมูล รวมทั้งการจัดการแฟ้มข้อมูลด้วยฐานข้อมูลและการนาโปรแกรมระบบ การจัดการฐานข้อมูลมาใช้ตลอดจนการประมวลผลข้อมูล ขั้นตอนและวิธีการ ประมวลผลข้อมูล
  • 3. สาระการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ในการจัดการข้อมูล การแบ่งลาดับของการจัดการข้อมูล ชนิดของข้อมูล ประเภทของแฟ้มข้อมูล ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing) การแบ่งประเภทแฟ้ม ระบบจัดการฐานข้อมูล ลักษณะการจัดสารสนเทศที่ดี ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง บอกวัตถุประสงค์ในการจัดการข้อมูลได้ อธิบายการแบ่งลาดับของการจัดการข้อมูลได้ บอกชนิดของข้อมูลได้ อธิบายประเภทของแฟ้มข้อมูลได้ บอกลักษณะการประมวลผลข้อมูลได้ อธิบายการแบ่งประเภทแฟ้มได้ บอกระบบจัดการฐานข้อมูลได้ อธิบายลักษณะการจัดสารสนเทศที่ดีได้
  • 4. วัตถุประสงค์ในการจัดการข้อมูล เป็นองค์ประกอบที่สาคัญส่วนหนึ่งของระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ (Computer Information System) การจัดการข้อมูล (Data Management) เป็นกลยุทธ์หนึ่งใน การบริหารองค์กรให้มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคเทคโนโลยีข่าวสารคอมพิวเตอร์ที่เจริญก้าวหน้า ไปอย่างรวดเร็ว การจัดการบริหารองค์กรให้ประสบความสาเร็จนั้น การตัดสินใจที่ถูกต้องรวดเร็ว และทันต่อ เหตุการณ์ถือเป็นหัวใจของการทาธุรกิจในยุคปัจจุบัน ดังนั้นการจัดการข้อมูลให้มีประสิทธิภาพเพื่อนาสู่การ ตัดสินใจที่ถูกต้องจะช่วยให้องค์กรอยู่รอดได้ในการแข่งขันกับองค์กรอื่นๆ สาหรับวัตถุประสงค์ในการจัดการ ข้อมูลมีดังต่อไปนี้ 1. การเก็บข้อมูลต้องเก็บข้อมูลเพื่อให้สามารถนากลับมาใช้ได้ในภายหลัง 2. การจัดข้อมูล ต้องจัดข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถเรียกใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. การปรับปรุงข้อมูล ต้องปรับปรุงข้อมูลให้มีความถูกต้องสมบูรณ์อยู่เสมอ 4. การปกป้องข้อมูล ต้องปกป้องข้อมูลจากการทาลาย ลักลอบใช้ หรือแก้ไขโดยมิชอบ 5. รวมทั้งปกป้องข้อมูลจากอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากวินาศภัยหรือความบกพร่องภายในระบบ คอมพิวเตอร์
  • 5. การแบ่งลาดับของการจัดข้อมูล หน่วยของข้อมูลคอมพิวเตอร์สามารถจัดเรียงเป็นลาดับชั้นจากขนาดเล็กไปขนาดใหญ่ได้ดังนี้ 1. บิต (Bit) เป็นส่วนที่เล็กที่สุดในการเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จะเป็น ตัวเลขในระบบฐานสองประกอบด้วย 0 และ 1 แทนสองสถานะของเปิด-ปิด หรือ จริง- เท็จ 2. อักขระ (Character) คือ ส่วนประกอบของบิตโดยทั่วไปใช้ 8 บิต แทน หนึ่งอักขระของตัวอักษร 3. ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ อักขระหนึ่งตัวเรียกว่า 1 ไบต์ (Byte) และรหัสแทน ข้อมูลที่นิยมใช้คือ รหัสแอสกี (ASCII) และรหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) 4. เขตข้อมูล (Field) เป็นส่วนของข้อมูลที่ประกอบด้วยอักขระตั่งแต่ 1 ตัวที่มี ความหมายแสดงถึงลักษณะของข้อมูล เช่น ชื่อผู้แต่งหนังสือ ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เป็นต้น โดยเขตข้อมูลแบ่งเป็นเขตข้อมูลย่อยได้อีกเช่น เขตข้อมูลชื่อผู้แต่ง แบ่งเป็นชื่อตัวและชื่อ สกุล เช่น นางสาวจุฑามาศ รักดี เป็นต้น
  • 6. 5. ระเบียนข้อมูล (Record) เป็นส่วนของข้อมูลที่ประกอบด้วยเขตข้อมูล ตั้งแต่ 1 เขตขึ้นไปที่สัมพันธ์กัน ระเบียนข้อมูลจะรวมเขตข้อมูลที่แสดงถึงเรื่องใด เรื่องหนึ่ง 6. แฟ้มข้อมูล (File) เป็นการรวมระเบียนข้อมูลหลายๆ ระเบียนที่เกี่ยวพัน กันเพื่อการนาไปประมวลใช้งาน เช่น แฟ้มข้อมูลหนังสือด้านวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยระบียนข้อมูลบรรณานุกรมหนังสือด้านวิทยาศาสตร์หลายๆระเบียน รวมกัน หรือแฟ้มข้อมูลนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยระเบียนข้อมูล นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์หลายๆ ระเบียนรวมกัน 7. ฐานข้อมูล (Database) เป็นการรวบรวมแฟ้มข้อมูลที่สัมพันธ์กัน หลายๆ แฟ้มมาจัดเก็บเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบมีการกาหนดรูปแบบการจัดเก็บ อย่างมีระบบเพื่อให้สามารถนาไปประมวลใช้งานต่างๆ ตามต้องการ เช่น ฐานข้อมูล งานบริการยืม-คืน วัสดุสารสนเทศของห้องสมุดประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลรายการ วัสดุสารสนเทศที่ให้ยืม แฟ้มข้อมูลผู้ใช้ห้องสมุดที่มีสิทธิยืมวัสดุสารสนเทศ เป็นต้น
  • 7. ชนิดของข้อมูล (DataTypes) ข้อมูลแต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะตัว โดยสามารถแบ่งเป็นชนิดต่างๆ ได้ ดังนี้ 1. ค่าตรรกะ (BooleanValues) คือค่าทางตรรกศาสตร์ซึ่งมีเพียง 2 ค่าคือ จริงหรือเท็จ 2. จานวนเต็ม (Integers) หมายถึงเลขที่ไม่มีเศษส่วน หรือทศนิยม เช่น 1,34,-29 เลขฐานสองจานวน 16 บิต ช่วงของข้อมูลจะเป็น -32768 ถึง +32767 (หรือ 0 ถึง 65535 ในกรณีของจานวนเต็มที่ไม่มีเครื่องหมายติด ลบ) ถ้าใช้จานวนบิตมากขึ้นก็ยิ่งเก็บได้ช่วงกว้างขึ้น 3. จานวนจริง (Floating-point Numbers) หมายถึง จานวน ใดๆ รวมทั้งจานวนเต็มและจานวนที่มีทศนิยม เช่น 41.55 และ -9.0477 เป็นต้น
  • 8. 4. ตัวอักษร (Characters) หมายถึงข้อมูลที่แทนด้วยกลุ่มของบิต ซึ่ง อาจเป็น 8 บิต (1 ไบต์) หรือ 16 บิต ข้อมูลประเภทตัวอักษรหมายถึงตัวอักษร เพียงตัวเดียวเท่านั้น ถ้ามีมากกว่าหนึ่งจะไม่ถือว่าเป็นตัวอักษร แต่อาจถือว่าเป็นสาย อักขระ (Strings) ข้อมูลชนิดตัวอักษร เช่น R 5. สายอักขระ (Strings) หมายถึงกลุ่มตัวอักษรที่ประกอบกันขึ้นเป็น ข้อความที่มีความยาวตั้งแต่ 0 ขึ้นไป ชื่อ นามสกุล ชื่อภาพยนตร์ หรือคาอธิบาย สรรพคุณยา เป็นข้อมูลประเภทสายอักขระ เช่น ห้ามดื่มน้าเกินวันละสองขวด 6. วันที่และเวลา (Date/Time) หมายถึง ข้อมูลที่แทนค้าวันที่และเวลา ซึ่งต่างจากสายอักขระที่ใช้แทนวันที่ เช่น 210799 (หมายถึงวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ.1999) วันที่และเวลาเป็นข้อมูลที่มีการตรวจสอบความถูกต้องในตัวของมัน เอง 7. ไบนารี (Binary) หมายถึง ข้อมูลใดๆ ที่เก็บในคอมพิวเตอร์อาจเป็น แฟ้มโปรแกรมหรือรูปภาพ หรือวิดีโอ เป็นต้น
  • 9. ประเภทของแฟ้ มข้อมูล แฟ้มข้อมูล สามารถแบ่งตามสถานการณ์เก็บข้อมูลได้2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ แฟ้มหลัก (Master files) คือ แฟ้มที่เก็บข้อมูลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง หรือเปลี่ยนแปลงน้อย เช่น ฝ่ายขายอาจมีแฟ้มข้อมูลหลักของลูกค้า และแฟ้มข้อมูล ของลูกค้า แฟ้มนี้อาจเก็บข้อมูลที่ไม่เป็นปัจจุบันนั่นคือเป็นข้อมูลที่ไม่ตรงกับความ เป็นจริงในชั่วขณะหนึ่ง ขึ้นอยู่กับความถี่ในการปรับปรุงแฟ้มหลัก โดยทั่วไปแฟ้ม หลักจะเก็บข้อมูลถาวรหรือกึ่งถาวร หรือข้อมูลที่เป็นประวัติศาสตร์ ซึ่งจะไม่มีการ เปลี่ยนแปลงอีกเลย แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction files) คือ แฟ้มที่เก็บข้อมูล รายการเปลี่ยนแปลง (Transaction) เก็บสะสมรวบรวมไว้เพื่อนามา ประมวลผลและนาไปปรับปรุงแฟ้มหลักอีกทีหนึ่งระเบียนในแฟ้มรายการ เปลี่ยนแปลงจะแทนเหตุการณ์หรือความเปลี่ยนแปลงที่จะนาไปปรับปรุงในความเป็น จริงซึ่งเก็บสะสมไว้ในแฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง
  • 10. ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing) การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) การประมวลผลแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกสะสมไว้ระหว่างช่วงเวลาที่กาหนด เช่น 1 เดือน หรือ 7 วัน เป็นต้น และเมื่อ ถึงกาหนดข้อมูลที่สะสมไว้จะถูกประมวลผลรวมกันครั้งเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการใช้ โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี (1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมไว้จนสิ้นสุดรอบบัญชีข้อมูล การใช้โทรศัพท์ทั้งหมดจะถูกนามารวบรวมและประมวลผลคราวเดียวเพื่อออกใบแจ้งนี้ ให้แก่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ถ้าเป็นการประมวลผลแบบกลุ่ม ลูกค้าจะไม่สามารถตรวจสอบ ยอกการใช้บริการระหว่างรอบบัญชีว่ามีค่าใช้จ่ายในปัจจุบันเป็นเท่าไหร่ การประมวลผล แบบกลุ่มจึงเหมาะสาหรับงานลักษณะ การประมวลผลแบบทันที (Real-Time Processing) การประมวลผล แบบทันทีเป็นการประมวลผลที่เกิดขึ้นพร้อมกับข้อมูล เช่น การฝาก ถอนเงินในธนาคาร เมื่อลูกค้าฝากเงินข้อมูลการฝากเงินที่เกิดขึ้นจะถูกประมวลทันที ส่งผลให้ยอดเงินฝากใน บัญชีนั้นเปลี่ยนแปลงทันทีการฝาก ถอนเงินเป็นงานที่สะสมข้อมูลไว้ทาพร้อมกันในคราว เดียวไม่ได้จึงต้องประมวลผลทันทีถึงแม้จะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการประมวลผลแบบกลุ่ม ก็ตาม
  • 11. การแบ่งประเภทแฟ้ ม แฟ้มลาดับ เป็นแฟ้มที่มีโรงสร้างการเก็บข้อมูลแบบพื้นฐานที่สุด กล่าวคือ เมื่อ มีการเพิ่มข้อมูลลงในแฟ้มทีละระเบียน ข้อมูลจะเข้าต่อท้ายเรียงกันไปในการย้าย ข้อมูลก็จะอ่านข้อมูลทีละระเบียน เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายอาจเปรียบเทียบได้กับการเก็บ ข้อมูลเพลงในเทปคาสเซต แฟ้มสุ่ม เป็นแฟ้มที่มีคุณสมบัติที่ผู้ใช้สามารถอ่านหรือเขียนที่ตาแหน่งใดๆก็ได้ โดยไม่ต้องเรียงลาดับจากต้นแฟ้ม แฟ้มแบบดรรชนี แฟ้มแบบนี้จาเป็นต้องมีการจัดเรียงข้อมูลในเขตข้อมูลที่เป็น ดรรชนีเสียก่อน เพื่อประโยชน์การค้นหา การหาตาแหน่งในการเขียน การอ่านใน ระเบียนที่ต้องการ ปกติจะใช้ข้อมูลที่เป็นกุญแจสาหรับการค้นหา เพื่อความสะดวก ในการกาหนดตาแหน่งการเขียนอ่าน
  • 12. ระบบจัดการฐานข้อมูล ในยุคการทางานด้วยคอมพิวเตอร์ถึงแม้จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพดีแล้วก็ตามยังต้อง มีชุดคาสั่ง (Software) ที่จะควบคุมการทางานของเครื่องอีกด้วย บุคคลที่ได้คุ้นเคยกับการเขียน ชุดคาสั่งด้วยคาสั่งของคอมพิวเตอร์ต่างๆ เช่น ภาษาเบสิก ภาษาฟอร์แทรน อาจจะประสบปัญหาการเขียน ชุดคาสั่งด้วยคาสั่งที่เกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล ตัวอย่างเช่น บริษัทแห่งหนึ่งต้องการประมวลผลข้อมูลเกี่ยวกับ เงินเดือนของพนักงาน ข้อมูลเกี่ยวกับการทาบัญชีรายรับรายจ่าย ข้อมูลของระบบสินค้าคงคลัง โดยทั่วๆ ไปในการเขียนชุดคาสั่งหรือใช้งานคอมพิวเตอร์เพื่อให้ได้จุดประสงค์ตามความต้องการดังกล่าว อาจจะใช้ หลักการทางานโดยวิธีการจัดแฟ้ม ซึ่งเรียกวิธีนี้ว่าระบบการจัดกระทาแฟ้มข้อมูล (File Handing System) ดังภาพ
  • 13. ลักษณะการจัดสารสนเทศที่ดี ในศูนย์คอมพิวเตอร์เมื่อสมัยก่อนนั้นจะเห็นภาพผู้คนนั่งเจาะบัตรคอมพิวเตอร์ ให้เป็นรหัสทั้งส่วนที่เป็นข้อมูลหรือโปรแกรม กาทางานในสมัยนั้นส่วนใหญ่ใช้การ ประมวลผลแบบกลุ่มโดยนาข้อมูลเก็บไว้ในเทปบันทึก แล้วนามาประมวลผล เพื่อทา รายงานตามความต้องการ การทางานในลักษณะประมวลผลแบบกลุ่มก็ยังคงมีอยู่ จนถึงปัจจุบันโดยเฉพาะในงานวิจัย การแจ้งผลสอบผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธนาคาร ต้องมีการค้นหารข้อมูลผล สอบและตอบให้ทราบทันทีทั้งที่เป็นระบบเสียงพูดและระบบแสดงผลบนจอภาพ เป็น ตัวอย่างที่แสดงว่าการทางานกับระบบฐานข้อมูลเริ่มมีความจาเป็นจะต้องมีการ ประมวลผลผ่านสายโทรศัพท์ที่เรียกว่าการประมวลผลแบบเชื่อมตรง การ ประมวลผลแบบนี้มีการเรียกค้นหาข้อมูลและปรับปรุงแก้ไขข้อมูลได้ตลอดเวลา จึง นิยมใช้กันแพร่หลายมากขึ้น