SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
 ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่ สิ่งของต่าง ๆ ซึ่งมีการเก็บรวบรวม
เอาไว้และสามารถนาไปประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้สามารถเรียกเอามาใช้
ประโยชน์ได้ในภายหลัง โดยข้อมูลอาจเป็นตัวเลข สัญลักษณ์ ตัวอักษร เสียง ภาพ
ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
 ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้ผ่านการประมวลผลและสามารถนามาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์ ผ่านการ
เลือกสรรให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ทันเวลา
 ทั้งนี้ข้อมูลที่จะเป็นสารสนเทศที่ดีนั้นจะต้องผ่านกระบวนการที่เรียกว่า การประมวลผล
(Processing)ซึ่งหมายถึง การจัดการกับข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อสรุปอย่างใดอย่างหนึ่ง
และสามารถนาเอาข้อสรุป
หรือสารสนเทศนั้นไปช่วยในการตัดสินใจได้
ข้อมูล ประมวลผล สารสนเทศ
 ข้อมูลที่สามารถนามาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ มี 5 ประเภท คือ
1. ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นจานวนตัวเลข สามารถนาไปคานวณได้
เช่น จานวนเงินเดือนราคาสินค้า
2. ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร และสัญลักษณ์เช่น ชื่อ สกลล ที่อูู่
3. ข้อมูลเสีูง (Audio Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นเสีูงต่าง ๆ เช่น เสีูงดนตรี เสีูงพูด
 4. ข้อมูลภาพ (Images Data) คือ ข้อมูลที่เป็นจลดสีต่าง ๆเมื่อนามาเรีูงต่อกันแล้ว
เกิดรูปภาพขึ้น เช่น ภาพถ่าู ภาพลาูเส้น เป็นต้น
5. ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นภาพเคลื่อนไหวต่าง เช่น
ภาพเคลื่อนไหวที่ถ่าูด้วูกล้องวิดีโอ หรือภาพที่ทาจากโปรแกรมต่างๆ เป็นต้น
 1. บิต (Bit) เป็นหน่วูข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สลด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ
เข้าใจและนาไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ
1 ตัว เช่น 0,1…9,
A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
 3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น
เลขประจาตัว ชื่อสกลล เป็นต้น
4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนาเอาฟิลด์หลาูฟิลด์และมี
ความสัมพันธ์มารวมกลล่มกัน เช่น นักเรีูนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่
เกีู่วกับ ชื่อ สกลล อาูล เพศ เกรดเฉลีู่ฯลฯ โดูข้อมูลในลักษณะนี้
คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
 5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลาูๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็น
เรื่องเดีูวกัน
เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรีูนห้อง ม.1/1 จานวน 50 คน ทลกคนจะมีข้อมูลเกีู่วกับ ชื่อ
สกลล เพศ อาูล เกรดเฉลีู่ ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรีูนจานวน 50 คนนี้
เรีูกว่า แฟ้มข้อมูล
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลาูๆ ไฟล์ที่
เกีู่วข้องมารวมกัน
 การประมวลผลข้อมูล เป็นวิธีการที่ใช้ในการจัดการกับข้อมูลที่ได้เก็บ
รวบรวมมา แล้วประมวลผลข้อมูลดังกล่าว เพื่อให้ได้ข้อมูลใหม่ให้อยู่ใน
ลักษณะที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ หรือเป็นสารสนเทศนั่นเอง
 ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล มีขั้นตอนการประมวลผล 3 ขั้นตอน คือ การ
รวบรวมข้อมูลเข้า การประมวลผลข้อมูล และการนาเสนอข้อมูล
 1.1 การรวบรวมข้อมูล เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้รับจากแหล่งต่าง ๆ
1.2 การตรวจสอบข้อมูล เป็นการตรวจสอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข
 2.1 การแูกประเภท เป็นแูกประเภทข้อมูลให้ถูกต้องตามลักษณะงานหรือคลณสมบัติของ
ข้อมูล เช่น แูกประเภทตามรหัส อาชีพ เพศ เป็นต้น
 2.2 การเรีูงลาดับข้อมูล เป็นการจัดเรีูงข้อมูลไว้เป็นลาดับ เพื่อความสะดวกในการค้นหา
หรือการเก็บรักษา เช่นเรีูงตามลาดับชื่อ วันเวลา อักษร เป็นต้น
 2.3 การคานวณ เป็นการประมวลผล โดูการใช้การบวก ลบ คูณ หาร เพื่อหาผลลัพธ์ของ
ข้อมูล
 2.4 การสรลปผลข้อมูล เป็นการสรลปผลการคานวณ ทาให้เกิดข้อมูลใหม่ขึ้นมาในรูปของ
สารสนเทศ
www.themegallery.comCompany Logo
 3.1 การเก็บรักษาข้อมูล หมาูถึง การนาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่าง ๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล
นอกจากนีู้ังรวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูลเพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคต
 3.2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจลดประสงค์ที่จะเรีูกใช้งานได้ต่อไป การค้นหาข้อมูลจะต้องค้นได้
ถูกต้องแม่นูา รวดเร็ว จึงมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วูในการทางาน ทาให้การเรีูกค้นกระทาได้
ทันเวลา
 3.3 การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อที่จะนาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนาไปแจกจ่าูในภาูหลัง จึงควร
จัดเก็บข้อมูลให้ง่าูต่อการทาสาเนา หรือนาไปใช้อีกครั้งได้โดูง่าู
 3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจาูหรือส่งต่อไปูังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าูการสื่อสารข้อมูลจึงเป็นเรื่องสาคัญ
และมีบทบาทที่สาคัญูิ่งที่จะทาให้การส่งข่าวสารไปูังผู้ใช้ทาได้รวดเร็วและทันเวลา
www.themegallery.comCompany Logo
 1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะ
ทาให้เกิดผลเสีูอู่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนาเอาไปใช้ประโูชน์ ซึ่งเป็น
เหตลให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นูา และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้
โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงานเพื่อให้ได้ความถูก
ต้อง แม่นูามากที่สลด
 2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความ
ต้องการของผู้ใช้มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อ
เหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้น และรายงานตาม
ความต้องการของผู้ใช้
 3. ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการ
ทางปฏิบัติด้วย ในการดาเนินการจัดทาสารสนเทศต้องสารวจและสอบถามความ
ต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม
 4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บ
ข้อมูลมากจึงจาเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมาูได้ มีการใช้รหัส
หรือู่นู่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจเพื่อหาความ
ต้องการของหน่วูงานและองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของ
ขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ
1 ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการที่ผู้ใช้เป็นผู้เก็บข้อมูล
โดยตรง ซึ่งอาจจะเก็บด้วยการสัมภาษณ์หรือสังเกตการณ์ เป็นข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด
เนื่องจากยังไม่มีการเปลี่ยนรูป และมีรายละเอียดตามที่ผู้ใช้ต้องการ แต่จะต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่าย
มาก เช่น ข้อมูลที่ได้จากการนับจานวนรถที่เข้า - ออก มหาวิทยาลัยในช่วงเวลา 08.00 - 09.00 น .
ข้อมูลจากการสัมภาษณ์นักศึกษา
การจาแนกตามแหล่งที่มาของข้อมูล แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
2 ข้อมูลทุติภูมิ (Secondary Data)
เป็นข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลที่มีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้ว เป็นข้อมูลในอดีต และมักจะเป็นข้อมูลที่ได้
ผ่านการวิเคราะห์เบื้องต้นมาแล้ว ผู้ใช้นามาใช้ได้เลย จึงประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายบางครั้งข้อมูลทุติยภูมิจะไม่ตรง
กับความต้องการหรือมีรายละเอียดไม่เพียงพอนอกจากนั้นผู้ใช้จะไม่ทราบถึงข้อผิดพลาดของข้อมูลซึ่งอาจจะทาให้ผู้ที่
นามาใช้สรุปผลการวิจัยผิดพลาดไปด้วย เช่น สถิติการเกิดอุบัติเหตุโดยรถจักรยานยนต์ของนักศึกษาในปี 2540 - 2541
เป็นข้อมูลที่บางครั้งอาจถูกแปรรูปไปแล้วแต่เนื่องจากบางครั้งเราไม่สามารถที่จะจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิได้เราจึงต้อง
ศึกษาจากข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมไว้แล้ว
สวัสดีค่ะ

More Related Content

What's hot

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลKhanpetz'Kao Boreds
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลchanoot29
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศKo Kung
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 

What's hot (17)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Slide Chapter1
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Power Point
Power PointPower Point
Power Point
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 

Similar to บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศnattapas33130
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1leoleaun
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศnutoon
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศkartoon7
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศnutoon
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจTiger Tanatat
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pWareerut Suwannalop
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลเทวัญ ภูพานทอง
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptLatae Chutipas
 

Similar to บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ (20)

หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศ
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
 

บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ

  • 1.
  • 2.  ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่ สิ่งของต่าง ๆ ซึ่งมีการเก็บรวบรวม เอาไว้และสามารถนาไปประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้สามารถเรียกเอามาใช้ ประโยชน์ได้ในภายหลัง โดยข้อมูลอาจเป็นตัวเลข สัญลักษณ์ ตัวอักษร เสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
  • 3.  ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้ผ่านการประมวลผลและสามารถนามาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์ ผ่านการ เลือกสรรให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ทันเวลา  ทั้งนี้ข้อมูลที่จะเป็นสารสนเทศที่ดีนั้นจะต้องผ่านกระบวนการที่เรียกว่า การประมวลผล (Processing)ซึ่งหมายถึง การจัดการกับข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อสรุปอย่างใดอย่างหนึ่ง และสามารถนาเอาข้อสรุป หรือสารสนเทศนั้นไปช่วยในการตัดสินใจได้
  • 5.  ข้อมูลที่สามารถนามาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ มี 5 ประเภท คือ 1. ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นจานวนตัวเลข สามารถนาไปคานวณได้ เช่น จานวนเงินเดือนราคาสินค้า 2. ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร และสัญลักษณ์เช่น ชื่อ สกลล ที่อูู่ 3. ข้อมูลเสีูง (Audio Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นเสีูงต่าง ๆ เช่น เสีูงดนตรี เสีูงพูด
  • 6.  4. ข้อมูลภาพ (Images Data) คือ ข้อมูลที่เป็นจลดสีต่าง ๆเมื่อนามาเรีูงต่อกันแล้ว เกิดรูปภาพขึ้น เช่น ภาพถ่าู ภาพลาูเส้น เป็นต้น 5. ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นภาพเคลื่อนไหวต่าง เช่น ภาพเคลื่อนไหวที่ถ่าูด้วูกล้องวิดีโอ หรือภาพที่ทาจากโปรแกรมต่างๆ เป็นต้น
  • 7.  1. บิต (Bit) เป็นหน่วูข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สลด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจและนาไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1 2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9, A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว
  • 8.  3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจาตัว ชื่อสกลล เป็นต้น 4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนาเอาฟิลด์หลาูฟิลด์และมี ความสัมพันธ์มารวมกลล่มกัน เช่น นักเรีูนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่ เกีู่วกับ ชื่อ สกลล อาูล เพศ เกรดเฉลีู่ฯลฯ โดูข้อมูลในลักษณะนี้ คือ 1 เรคคอร์ดนั่นเอง
  • 9.  5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลาูๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็น เรื่องเดีูวกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรีูนห้อง ม.1/1 จานวน 50 คน ทลกคนจะมีข้อมูลเกีู่วกับ ชื่อ สกลล เพศ อาูล เกรดเฉลีู่ ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรีูนจานวน 50 คนนี้ เรีูกว่า แฟ้มข้อมูล 6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลาูๆ ไฟล์ที่ เกีู่วข้องมารวมกัน
  • 10.  การประมวลผลข้อมูล เป็นวิธีการที่ใช้ในการจัดการกับข้อมูลที่ได้เก็บ รวบรวมมา แล้วประมวลผลข้อมูลดังกล่าว เพื่อให้ได้ข้อมูลใหม่ให้อยู่ใน ลักษณะที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ หรือเป็นสารสนเทศนั่นเอง  ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล มีขั้นตอนการประมวลผล 3 ขั้นตอน คือ การ รวบรวมข้อมูลเข้า การประมวลผลข้อมูล และการนาเสนอข้อมูล
  • 11.  1.1 การรวบรวมข้อมูล เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้รับจากแหล่งต่าง ๆ 1.2 การตรวจสอบข้อมูล เป็นการตรวจสอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข
  • 12.  2.1 การแูกประเภท เป็นแูกประเภทข้อมูลให้ถูกต้องตามลักษณะงานหรือคลณสมบัติของ ข้อมูล เช่น แูกประเภทตามรหัส อาชีพ เพศ เป็นต้น  2.2 การเรีูงลาดับข้อมูล เป็นการจัดเรีูงข้อมูลไว้เป็นลาดับ เพื่อความสะดวกในการค้นหา หรือการเก็บรักษา เช่นเรีูงตามลาดับชื่อ วันเวลา อักษร เป็นต้น  2.3 การคานวณ เป็นการประมวลผล โดูการใช้การบวก ลบ คูณ หาร เพื่อหาผลลัพธ์ของ ข้อมูล  2.4 การสรลปผลข้อมูล เป็นการสรลปผลการคานวณ ทาให้เกิดข้อมูลใหม่ขึ้นมาในรูปของ สารสนเทศ www.themegallery.comCompany Logo
  • 13.  3.1 การเก็บรักษาข้อมูล หมาูถึง การนาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่าง ๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนีู้ังรวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูลเพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคต  3.2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจลดประสงค์ที่จะเรีูกใช้งานได้ต่อไป การค้นหาข้อมูลจะต้องค้นได้ ถูกต้องแม่นูา รวดเร็ว จึงมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วูในการทางาน ทาให้การเรีูกค้นกระทาได้ ทันเวลา  3.3 การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อที่จะนาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนาไปแจกจ่าูในภาูหลัง จึงควร จัดเก็บข้อมูลให้ง่าูต่อการทาสาเนา หรือนาไปใช้อีกครั้งได้โดูง่าู  3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจาูหรือส่งต่อไปูังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าูการสื่อสารข้อมูลจึงเป็นเรื่องสาคัญ และมีบทบาทที่สาคัญูิ่งที่จะทาให้การส่งข่าวสารไปูังผู้ใช้ทาได้รวดเร็วและทันเวลา www.themegallery.comCompany Logo
  • 14.  1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะ ทาให้เกิดผลเสีูอู่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนาเอาไปใช้ประโูชน์ ซึ่งเป็น เหตลให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นูา และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงานเพื่อให้ได้ความถูก ต้อง แม่นูามากที่สลด
  • 15.  2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความ ต้องการของผู้ใช้มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อ เหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้น และรายงานตาม ความต้องการของผู้ใช้  3. ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการ ทางปฏิบัติด้วย ในการดาเนินการจัดทาสารสนเทศต้องสารวจและสอบถามความ ต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม
  • 16.  4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บ ข้อมูลมากจึงจาเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมาูได้ มีการใช้รหัส หรือู่นู่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ 5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจเพื่อหาความ ต้องการของหน่วูงานและองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของ ขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ
  • 17. 1 ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการที่ผู้ใช้เป็นผู้เก็บข้อมูล โดยตรง ซึ่งอาจจะเก็บด้วยการสัมภาษณ์หรือสังเกตการณ์ เป็นข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด เนื่องจากยังไม่มีการเปลี่ยนรูป และมีรายละเอียดตามที่ผู้ใช้ต้องการ แต่จะต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่าย มาก เช่น ข้อมูลที่ได้จากการนับจานวนรถที่เข้า - ออก มหาวิทยาลัยในช่วงเวลา 08.00 - 09.00 น . ข้อมูลจากการสัมภาษณ์นักศึกษา การจาแนกตามแหล่งที่มาของข้อมูล แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
  • 18. 2 ข้อมูลทุติภูมิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลที่มีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้ว เป็นข้อมูลในอดีต และมักจะเป็นข้อมูลที่ได้ ผ่านการวิเคราะห์เบื้องต้นมาแล้ว ผู้ใช้นามาใช้ได้เลย จึงประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายบางครั้งข้อมูลทุติยภูมิจะไม่ตรง กับความต้องการหรือมีรายละเอียดไม่เพียงพอนอกจากนั้นผู้ใช้จะไม่ทราบถึงข้อผิดพลาดของข้อมูลซึ่งอาจจะทาให้ผู้ที่ นามาใช้สรุปผลการวิจัยผิดพลาดไปด้วย เช่น สถิติการเกิดอุบัติเหตุโดยรถจักรยานยนต์ของนักศึกษาในปี 2540 - 2541 เป็นข้อมูลที่บางครั้งอาจถูกแปรรูปไปแล้วแต่เนื่องจากบางครั้งเราไม่สามารถที่จะจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิได้เราจึงต้อง ศึกษาจากข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมไว้แล้ว