SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วย
รายละเอียดของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกัน ที่จะนามาใช้ในระบบงานต่างๆ
ร่วมกัน ระบบฐานข้อมูลจึงนับเป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยผู้ใช้สามารถจัดการกับ
ข้อมูลได้ในลักษณะต่างๆ ทั้งการเพิ่มข้อมูล การแก้ไข การลบ การค้นหา ตลอดจนการเรียกดู
ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการประยุกต์นาเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยใน
การจัดการฐานข้อมูล และนาฐานข้อมูลผ่านกระบวนการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ใน
รูปแบบต่างๆ ที่ต้องการ
บิต (Bit) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่มีการจัดเก็บในลักษณะ
ของเลขฐานสองคือ 0 กับ 1
ไบต์ (Byte) หมายถึงหน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาบิตมารวมเป็นตัวอักขระหรือ
ตัวอักษร (Character)
ฟิ ลด์ (Field) หมายถึง เขตข้อมูลหรือหน่วยของข้อมูลที่ประกอบขึ้นจากไบต์หรือตัวอักขระ
ตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป มารวมกันแล้วได้ความหมายเป็นคา เป็นข้อความ หรือของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
เช่น ชื่อบุคคล ตาแหน่ง อายุ เป็นต้น
เรคคอร์ด (Record) หมายถึง ระเบียนหรือหน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาเอาฟิ ลด์หรือเขต
ข้อมูลหลายๆเขตข้อมูลที่เกี่ยวข้องมารวมกัน เพื่อเกิดเป็นรายการข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น
ข้อมูลของพนักงาน 1 ระเบียน (1 คน) จะประกอบด้วย รหัสพนักงาน ชื่อ – สกุล ที่อยู่ ตาแหน่ง
เงินเดือน เป็นต้น
ไฟล์ (File) หมายถึง แฟ้ มข้อมูลหรือหน่วยของข้อมูลหลายๆ ข้อมูล ที่เป็นเรื่องเดียวกันมา
ร่วมกัน เช่น แฟ้ มข้อมูลพนักงาน แฟ้ มข้อมูลลูกค้า แฟ้ มข้อมูลสินค้า ฯลฯ
รหัส ชื่อ-สกุล ตาแหน่ง เงินเดือน
1001 โชคชัย บูลกุล การบัญชี 8,500
1002 ชัยชาญ อลงกต วิศวกร 25,000
1003 ชิดชม พานิชสกุล ประชาสัมพันธ์ 8,100
ฟิ ลด์
เรคคอร์ด
ไฟล์พนักงาน
เอนทิตี้ (Entty) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคานาม อาจได้แก่ คน สถานที่
สิ่งของ การกระทา ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้พนักงาน เอนทิตี้นักเรียน เป็นต้น
แอททริบิวต์ (Attribute) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของ
แอททริบิวต์หนึ่งๆ เช่น เอนทิตี้สินค้า ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสสินค้า ประเภทสินค้า
ชื่อสินค้า ราคาต่อหน่วย เป็นต้น
ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ เช่น ความสัมพันธ์
ระหว่างแอนทิตี้นักศึกษา และแอนทิตี้คณะวิชา เช่น นักศึกษาแต่ละคนเรียนอยู่ คณะวิชาใด
คณะวิชาหนึ่ง เป็นต้น
รหัส ชื่อ-สกุล ตาแหน่ง เงินเดือน
1001 โชคชัย บูลกุล การบัญชี 8,500
1002 ชัยชาญ อลงกต วิศวกร 25,000
1003 ชิดชม พานิชสกุล ประชาสัมพันธ์ 8,100
แอททริบิวต์เอนทิตี้
1.ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ( Relational Database)
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ( Relational Database) เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบที่
เป็นตาราง(Table) หรือเรียกว่า รีเลชัน(Relation) มีลักษณะ 2 มิติ คือ เป็นแถว(Row) และ
เป็นคอลัมน์ (Column) การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตารางจะเชื่อมโยง โดยใช้แอททริบิวต์
(Attribute) หรือคอลัมน์ที่เหมือนกันทั้งสองตารางเป็นตัวเชื่อมโยงข้อมูล ตัวอย่างเช่น
ตารางลงทะเบียน ถ้าต้องการทราบว่านักเรียนรหัส 1001 ลงทะเบียนวิชาอะไร กี่หน่วยกิต
ก็สามารถ นารหัสวิชาในตารางนักเรียนไปตรวจสอบกับรหัสวิชาซึ่งเป็นคีย์หลักในตาราง
หลักสูตร เพื่อนาชื่อวิชา และจานวนหน่วยกิตมาใช้
1.ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ( Relational Database)
รูปที่ 1.4 แสดงตารางที่มีความสัมพันธ์เชิงสัมพันธ์
รหัส
นักเรียน
ชื่อ สกุล แผนก
วิชา
รหัส
วิชา
1001
1002
1003
สมชาย
สมพล
สมสมร
มีสุข
สุขสม
สุขสวัสดิ์
บัญชี
การขาย
คอมฯ
001
003
002
รหัส
วิชา
ชื่อวิชา หน่วย
กิต
001
002
003
ประมวลผลคา
ตารางงาน
การนาเสนอ
3
3
3
ตารางลงทะเบียน ตารางหลักสูตร
2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database)
ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายจะเป็นการ
รวมระเบียนต่างๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียน แต่จะต่างกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
คือ ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะแฝงความสัมพันธ์เอาไว้ โดยระเบียนที่มีความสัมพันธ์กัน
จะต้องมีค่าของข้อมูลในแอททริบิวต์หนึ่งเหมือนกัน แต่ในฐานข้อมูลแบบเครือข่าย จะแสดง
ความสัมพันธ์อย่างชัดเจน โดยแสดงไว้ในโครงสร้างตัวอย่างเช่น
2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database)
จากรูป จะเห็นได้ว่า กรอบสี่เหลี่ยมแสดงถึงชนิดของระเบียนในฐานข้อมูล ลูกศรเป็น
การแสดงความสัมพันธ์ จากรูปเป็นการแสดงความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม การค้นหา
ข้อมูลที่ต้องการ เช่นถ้าต้องการค้นหารายชื่อนักเรียนที่เรียนอยู่แผนกที่ 5 ก็ทาโดยออก
คาสั่งบอก DBMS ให้ค้นหาแผนกที่ 5 จากระเบียนของทะเบียน แล้ววิ่งตามลูกศร ซึ่งจะ
เชื่อมข้อมูลของแผนกที่ 5 เข้ากับข้อมูลของนักเรียนซึ่งได้แก่ระเบียนของนักเรียนที่เรียน
ในแผนกที่ 5 เป็นการค้นโดยใช้ลูกศรเชื่อมโยงไปถึงความสัมพันธ์จึงไม่จาเป็นต้องเก็บ
แอททริบิวต์รหัสแผนกไว้ในระเบียนของทะเบียน เช่นที่ทาในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
รูปที่ 1.5 แสดงตารางที่มีความสัมพันธ์
แบบเครือข่าย
3. ฐานข้อมูลแบบลาดับ (Hierarchical Databas)
ฐานข้อมูลแบบลาดับ (Hierarchical Databas) ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น เป็นโครงสร้าง
ที่จัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบ (Parent-Child Relationship Type) หรือเป็น
โครงสร้างรูปแบบต้นไม้ (Tree) ข้อมูลที่จัดเก็บในที่นี้ คือ ระเบียน (Record) ซึ่งประกอบด้วย
ค่าของเขตข้อมูล (Field) ของแอนทิตี้หนึ่งๆ นี่เอง
3. ฐานข้อมูลแบบลาดับ (Hierarchical Databas)
รูปที่ 1.6 ตัวอย่างฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น
แผนก
ชื่อแผนก รหัสแผนก ที่ตั้ง
นักเรียน
ชื่อ
นักเรียน
รหัส
นักเรียน
ที่อยู่
หลักสูตร
ชื่อวิชา รหัสวิชา หน่วย
เรียน
โปรแกรมฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมซอฟแวร์ที่ช่วยจัดการข้อมูลหรือรายการต่างๆที่อยู่
ในฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บ การเรียกใช้ การปรับปรุงข้อมูล โปรแกรมฐานข้อมูล
จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งโปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้มีอยู่
ด้วยกันหลายตัว เช่น Access, FoxPro, Oracle, SQL เป็นต้น
สาหรับโปรแกรม Microsoft Access นี้จะกล่าวถึงวิธีการใช้เบื้องต้น โดยสังเขปไว้ใน
หน่วยถัดไป
1. คีย์หลัก (Primary Key)
Primary Key หมายถึง คีย์หลักที่กาหนดจากฟิ ลด์ที่ไม่มีข้อมูลซ้าซ้อน (Unique) ใน Table
เดียวกันโดยเด็ดขาดและจะต้องมีค่าเสมอจะเป็นค่าว่าง (Null) ไม่ได้สามารถนามาจัด
เรียงลาดับและแยกแยะข้อมูลแต่ละรายการออกจากกันได้เป็นอย่างดี ตัวอย่างของข้อมูลที่
นามากาหนดเป็นคีย์หลัก ได้แก่ รหัสนักเรียน รหัสสินค้า หมายเลขห้องพัก รหัสวิชา ฯลฯ
1. คีย์หลัก (Primary Key)
รหัส ชื่อ-สกุล ตาแหน่ง เงินเดือน
1001 โชคชัย บูลกุล การบัญชี 8,500
1002 ชัยชาญ อลงกต วิศวกร 25,000
1003 ชิดชม พานิชสกุล ประชาสัมพันธ์ 8,100
รูปที่ 1.8 แสดงตัวอย่างการกาหนดคีย์หลัก ( Primary Key)
2. คีย์นอก (Foreign Key)
.Foreign Key หมายถึง คีย์นอก เป็นคีย์ที่เชื่อม Table ที่เกี่ยวข้องหรือมีความสัมพันธ์กัน
เช่น ใน Table หลักสูตร กาหนดให้รหัสวิชาเป็น Primary Key และทาการเชื่อมโยงไปยัง
Table ลงทะเบียนเพื่อต้องการทราบชื่อวิชาและหน่วยกิตที่นักเรียนลงทะเบียน โดยกาหนด
ฟิ ลด์ รหัสวิชา ใน Table ลงทะเบียนเป็น Foreign Key ในลักษณะความสัมพันธ์ One to May
หมายความว่า รหัสวิชา 1 วิชาสามารถให้นักเรียนลงทะเบียนได้มากกว่า 1 คน ดังนั้นจึงมี
รหัสวิชาซ้ากันได้ใน Table ลงทะเบียนเป็น Foreign Key ในลักษณะความสัมพันธ์ One to
Many หมายความว่า รหัสวิชา 1 วิชาสามารถให้นักเรียนลงทะเบียนได้มากกว่า 1 คน ดังนั้น
จึงมีรหัสซ้ากันได้ใน Table ลงทะเบียน
2. คีย์นอก (Foreign Key)
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
001
002
003
ประมวลผลคา
ตารางงาน
การนาเสนอ
3
3
2
รหัส
นักเรียน
ชื่อ สกุล แผนกวิชา รหัสวิชา
1001
1002
1003
สมชาย
สมพร
สมสมร
มีสุข
สุขสม
สุขสวัสดิ์
บัญชี
การขาย
คอมฯ
001
003
001
รูปที่ 1.9. แสดงตัวอย่างการกาหนดคีย์นอก ( Foreign Key)
ตารางหลักสูตร
ตารางลงทะเบียน
3. คีย์คู่แข่ง Candidate Key
Candidate Key หมายถึง คีย์มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับคีย์หลัก ( Primary Key) หรือสามารถ
นามาแทนคีย์หลักได้ เช่น ในตารางพนักงานกาหนดให้รหัสพนักงานเป็นคีย์หลักที่มีค่าไม่ซ้า
กัน แต่พบว่าหมายเลขบัตรประชาชนของพนักงานก็มีค่าไมซ้ากัน ดังนั้น หมายเลขบัตร
ประชาชนมีลักษณะเป็น Candidate Key ซึ่งสามารถนามาเป็นคีย์สารองแทนคีย์หลักได้
3. คีย์คู่แข่ง Candidate Key
รูปที่ 1.10 แสดงตัวอย่างการกาหนดคีย์สารองคีย์หลัก ( Candidate Key)
รหัส
พนักงาน
ชื่อ สกุล หมายเลขบัตร การศึกษา
001
002
003
สมชาย
สิริวิมล
สมควร
มีสกุล
ชาญฉลาด
ชนะชาติ
1-1299-00123-25-8
1-3205-12001-32-4
3-2022-15444-77-9
ปวส.
ปริญญาตรี
ปวช.
4. คีย์รวม (Compound Key)
Compound Key หมายถึง คีย์ที่เกิดจากการรวมข้อมูลหลายฟิ ลด์ให้มีคุณสมบัติเหมือนคีย์หลัก
( มีค่าไม่ซ้ากันและไม่มีค่าว่าง หรือ null value) เช่น การนาฟิ ลด์ชื่อนักเรียน มารวมกับฟิ ลด์สกุล
ของนักเรียน ทาให้เกิดเป็นฟิ ลด์ข้อมูลที่ไม่มีค่าไม่ซ้าซ้อนกัน เราเรียกคีย์ที่เกิดจากการรวมชื่อ
นักเรียนและสกุลว่า Compound key หรือคีย์รวม
4. คีย์รวม (Compound Key)
รูปที่ 1.11. แสดงตัวอย่างการกาหนดคีย์รวม ( compound Key)
รหัส
พนักงาน
ชื่อ-สกุล สกุล หมายเลขบัตร การศึกษา
001
002
003
สมชาย
สิริวิมล
สมควร
มีสกุล
ชาญฉลาด
ชนะชาติ
1-1299-00123-25-8
1-3205-12001-32-4
3-2022-15444-77-9
ปวส.
ปริญญาตรี
ปวช.
เนื้อหาจบแล้ว ต่อไปให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 1
เมื่อทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 เสร็จแล้ว
ให้นักเรียนศึกษา หน่วยที่ 2 ต่อไป

More Related Content

What's hot

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2kanjana Pongkan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์kunanya12
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูลNattipong Siangyen
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nunzaza
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10nunzaza
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนsariya25
 

What's hot (18)

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Slide Chapter1
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Similar to Db1

การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลwarathip-por
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลwarathip-por
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลApirada Prayougsab
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
Bacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisBacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisSakarin Habusaya
 
Data processing
Data processingData processing
Data processingchukiat008
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 

Similar to Db1 (20)

การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
Ch5 database system
Ch5 database systemCh5 database system
Ch5 database system
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
 
Bacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisBacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcis
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
Data processing
Data processingData processing
Data processing
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 

More from Kru Tammada (6)

Db7
Db7Db7
Db7
 
Db6
Db6Db6
Db6
 
Db5
Db5Db5
Db5
 
Db4
Db4Db4
Db4
 
Db3
Db3Db3
Db3
 
Db2
Db2Db2
Db2
 

Db1

  • 1.
  • 2. ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วย รายละเอียดของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกัน ที่จะนามาใช้ในระบบงานต่างๆ ร่วมกัน ระบบฐานข้อมูลจึงนับเป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยผู้ใช้สามารถจัดการกับ ข้อมูลได้ในลักษณะต่างๆ ทั้งการเพิ่มข้อมูล การแก้ไข การลบ การค้นหา ตลอดจนการเรียกดู ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการประยุกต์นาเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยใน การจัดการฐานข้อมูล และนาฐานข้อมูลผ่านกระบวนการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ใน รูปแบบต่างๆ ที่ต้องการ
  • 3. บิต (Bit) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่มีการจัดเก็บในลักษณะ ของเลขฐานสองคือ 0 กับ 1 ไบต์ (Byte) หมายถึงหน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาบิตมารวมเป็นตัวอักขระหรือ ตัวอักษร (Character) ฟิ ลด์ (Field) หมายถึง เขตข้อมูลหรือหน่วยของข้อมูลที่ประกอบขึ้นจากไบต์หรือตัวอักขระ ตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป มารวมกันแล้วได้ความหมายเป็นคา เป็นข้อความ หรือของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อบุคคล ตาแหน่ง อายุ เป็นต้น
  • 4. เรคคอร์ด (Record) หมายถึง ระเบียนหรือหน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาเอาฟิ ลด์หรือเขต ข้อมูลหลายๆเขตข้อมูลที่เกี่ยวข้องมารวมกัน เพื่อเกิดเป็นรายการข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น ข้อมูลของพนักงาน 1 ระเบียน (1 คน) จะประกอบด้วย รหัสพนักงาน ชื่อ – สกุล ที่อยู่ ตาแหน่ง เงินเดือน เป็นต้น ไฟล์ (File) หมายถึง แฟ้ มข้อมูลหรือหน่วยของข้อมูลหลายๆ ข้อมูล ที่เป็นเรื่องเดียวกันมา ร่วมกัน เช่น แฟ้ มข้อมูลพนักงาน แฟ้ มข้อมูลลูกค้า แฟ้ มข้อมูลสินค้า ฯลฯ รหัส ชื่อ-สกุล ตาแหน่ง เงินเดือน 1001 โชคชัย บูลกุล การบัญชี 8,500 1002 ชัยชาญ อลงกต วิศวกร 25,000 1003 ชิดชม พานิชสกุล ประชาสัมพันธ์ 8,100 ฟิ ลด์ เรคคอร์ด ไฟล์พนักงาน
  • 5. เอนทิตี้ (Entty) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคานาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทา ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้พนักงาน เอนทิตี้นักเรียน เป็นต้น แอททริบิวต์ (Attribute) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของ แอททริบิวต์หนึ่งๆ เช่น เอนทิตี้สินค้า ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสสินค้า ประเภทสินค้า ชื่อสินค้า ราคาต่อหน่วย เป็นต้น ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ เช่น ความสัมพันธ์ ระหว่างแอนทิตี้นักศึกษา และแอนทิตี้คณะวิชา เช่น นักศึกษาแต่ละคนเรียนอยู่ คณะวิชาใด คณะวิชาหนึ่ง เป็นต้น รหัส ชื่อ-สกุล ตาแหน่ง เงินเดือน 1001 โชคชัย บูลกุล การบัญชี 8,500 1002 ชัยชาญ อลงกต วิศวกร 25,000 1003 ชิดชม พานิชสกุล ประชาสัมพันธ์ 8,100 แอททริบิวต์เอนทิตี้
  • 6. 1.ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ( Relational Database) ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ( Relational Database) เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบที่ เป็นตาราง(Table) หรือเรียกว่า รีเลชัน(Relation) มีลักษณะ 2 มิติ คือ เป็นแถว(Row) และ เป็นคอลัมน์ (Column) การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตารางจะเชื่อมโยง โดยใช้แอททริบิวต์ (Attribute) หรือคอลัมน์ที่เหมือนกันทั้งสองตารางเป็นตัวเชื่อมโยงข้อมูล ตัวอย่างเช่น ตารางลงทะเบียน ถ้าต้องการทราบว่านักเรียนรหัส 1001 ลงทะเบียนวิชาอะไร กี่หน่วยกิต ก็สามารถ นารหัสวิชาในตารางนักเรียนไปตรวจสอบกับรหัสวิชาซึ่งเป็นคีย์หลักในตาราง หลักสูตร เพื่อนาชื่อวิชา และจานวนหน่วยกิตมาใช้
  • 7. 1.ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ( Relational Database) รูปที่ 1.4 แสดงตารางที่มีความสัมพันธ์เชิงสัมพันธ์ รหัส นักเรียน ชื่อ สกุล แผนก วิชา รหัส วิชา 1001 1002 1003 สมชาย สมพล สมสมร มีสุข สุขสม สุขสวัสดิ์ บัญชี การขาย คอมฯ 001 003 002 รหัส วิชา ชื่อวิชา หน่วย กิต 001 002 003 ประมวลผลคา ตารางงาน การนาเสนอ 3 3 3 ตารางลงทะเบียน ตารางหลักสูตร
  • 8. 2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database) ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายจะเป็นการ รวมระเบียนต่างๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียน แต่จะต่างกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะแฝงความสัมพันธ์เอาไว้ โดยระเบียนที่มีความสัมพันธ์กัน จะต้องมีค่าของข้อมูลในแอททริบิวต์หนึ่งเหมือนกัน แต่ในฐานข้อมูลแบบเครือข่าย จะแสดง ความสัมพันธ์อย่างชัดเจน โดยแสดงไว้ในโครงสร้างตัวอย่างเช่น
  • 9. 2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database) จากรูป จะเห็นได้ว่า กรอบสี่เหลี่ยมแสดงถึงชนิดของระเบียนในฐานข้อมูล ลูกศรเป็น การแสดงความสัมพันธ์ จากรูปเป็นการแสดงความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม การค้นหา ข้อมูลที่ต้องการ เช่นถ้าต้องการค้นหารายชื่อนักเรียนที่เรียนอยู่แผนกที่ 5 ก็ทาโดยออก คาสั่งบอก DBMS ให้ค้นหาแผนกที่ 5 จากระเบียนของทะเบียน แล้ววิ่งตามลูกศร ซึ่งจะ เชื่อมข้อมูลของแผนกที่ 5 เข้ากับข้อมูลของนักเรียนซึ่งได้แก่ระเบียนของนักเรียนที่เรียน ในแผนกที่ 5 เป็นการค้นโดยใช้ลูกศรเชื่อมโยงไปถึงความสัมพันธ์จึงไม่จาเป็นต้องเก็บ แอททริบิวต์รหัสแผนกไว้ในระเบียนของทะเบียน เช่นที่ทาในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ รูปที่ 1.5 แสดงตารางที่มีความสัมพันธ์ แบบเครือข่าย
  • 10. 3. ฐานข้อมูลแบบลาดับ (Hierarchical Databas) ฐานข้อมูลแบบลาดับ (Hierarchical Databas) ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น เป็นโครงสร้าง ที่จัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบ (Parent-Child Relationship Type) หรือเป็น โครงสร้างรูปแบบต้นไม้ (Tree) ข้อมูลที่จัดเก็บในที่นี้ คือ ระเบียน (Record) ซึ่งประกอบด้วย ค่าของเขตข้อมูล (Field) ของแอนทิตี้หนึ่งๆ นี่เอง
  • 11. 3. ฐานข้อมูลแบบลาดับ (Hierarchical Databas) รูปที่ 1.6 ตัวอย่างฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น แผนก ชื่อแผนก รหัสแผนก ที่ตั้ง นักเรียน ชื่อ นักเรียน รหัส นักเรียน ที่อยู่ หลักสูตร ชื่อวิชา รหัสวิชา หน่วย เรียน
  • 12. โปรแกรมฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมซอฟแวร์ที่ช่วยจัดการข้อมูลหรือรายการต่างๆที่อยู่ ในฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บ การเรียกใช้ การปรับปรุงข้อมูล โปรแกรมฐานข้อมูล จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งโปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้มีอยู่ ด้วยกันหลายตัว เช่น Access, FoxPro, Oracle, SQL เป็นต้น สาหรับโปรแกรม Microsoft Access นี้จะกล่าวถึงวิธีการใช้เบื้องต้น โดยสังเขปไว้ใน หน่วยถัดไป
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17. 1. คีย์หลัก (Primary Key) Primary Key หมายถึง คีย์หลักที่กาหนดจากฟิ ลด์ที่ไม่มีข้อมูลซ้าซ้อน (Unique) ใน Table เดียวกันโดยเด็ดขาดและจะต้องมีค่าเสมอจะเป็นค่าว่าง (Null) ไม่ได้สามารถนามาจัด เรียงลาดับและแยกแยะข้อมูลแต่ละรายการออกจากกันได้เป็นอย่างดี ตัวอย่างของข้อมูลที่ นามากาหนดเป็นคีย์หลัก ได้แก่ รหัสนักเรียน รหัสสินค้า หมายเลขห้องพัก รหัสวิชา ฯลฯ
  • 18. 1. คีย์หลัก (Primary Key) รหัส ชื่อ-สกุล ตาแหน่ง เงินเดือน 1001 โชคชัย บูลกุล การบัญชี 8,500 1002 ชัยชาญ อลงกต วิศวกร 25,000 1003 ชิดชม พานิชสกุล ประชาสัมพันธ์ 8,100 รูปที่ 1.8 แสดงตัวอย่างการกาหนดคีย์หลัก ( Primary Key)
  • 19. 2. คีย์นอก (Foreign Key) .Foreign Key หมายถึง คีย์นอก เป็นคีย์ที่เชื่อม Table ที่เกี่ยวข้องหรือมีความสัมพันธ์กัน เช่น ใน Table หลักสูตร กาหนดให้รหัสวิชาเป็น Primary Key และทาการเชื่อมโยงไปยัง Table ลงทะเบียนเพื่อต้องการทราบชื่อวิชาและหน่วยกิตที่นักเรียนลงทะเบียน โดยกาหนด ฟิ ลด์ รหัสวิชา ใน Table ลงทะเบียนเป็น Foreign Key ในลักษณะความสัมพันธ์ One to May หมายความว่า รหัสวิชา 1 วิชาสามารถให้นักเรียนลงทะเบียนได้มากกว่า 1 คน ดังนั้นจึงมี รหัสวิชาซ้ากันได้ใน Table ลงทะเบียนเป็น Foreign Key ในลักษณะความสัมพันธ์ One to Many หมายความว่า รหัสวิชา 1 วิชาสามารถให้นักเรียนลงทะเบียนได้มากกว่า 1 คน ดังนั้น จึงมีรหัสซ้ากันได้ใน Table ลงทะเบียน
  • 20. 2. คีย์นอก (Foreign Key) รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต 001 002 003 ประมวลผลคา ตารางงาน การนาเสนอ 3 3 2 รหัส นักเรียน ชื่อ สกุล แผนกวิชา รหัสวิชา 1001 1002 1003 สมชาย สมพร สมสมร มีสุข สุขสม สุขสวัสดิ์ บัญชี การขาย คอมฯ 001 003 001 รูปที่ 1.9. แสดงตัวอย่างการกาหนดคีย์นอก ( Foreign Key) ตารางหลักสูตร ตารางลงทะเบียน
  • 21. 3. คีย์คู่แข่ง Candidate Key Candidate Key หมายถึง คีย์มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับคีย์หลัก ( Primary Key) หรือสามารถ นามาแทนคีย์หลักได้ เช่น ในตารางพนักงานกาหนดให้รหัสพนักงานเป็นคีย์หลักที่มีค่าไม่ซ้า กัน แต่พบว่าหมายเลขบัตรประชาชนของพนักงานก็มีค่าไมซ้ากัน ดังนั้น หมายเลขบัตร ประชาชนมีลักษณะเป็น Candidate Key ซึ่งสามารถนามาเป็นคีย์สารองแทนคีย์หลักได้
  • 22. 3. คีย์คู่แข่ง Candidate Key รูปที่ 1.10 แสดงตัวอย่างการกาหนดคีย์สารองคีย์หลัก ( Candidate Key) รหัส พนักงาน ชื่อ สกุล หมายเลขบัตร การศึกษา 001 002 003 สมชาย สิริวิมล สมควร มีสกุล ชาญฉลาด ชนะชาติ 1-1299-00123-25-8 1-3205-12001-32-4 3-2022-15444-77-9 ปวส. ปริญญาตรี ปวช.
  • 23. 4. คีย์รวม (Compound Key) Compound Key หมายถึง คีย์ที่เกิดจากการรวมข้อมูลหลายฟิ ลด์ให้มีคุณสมบัติเหมือนคีย์หลัก ( มีค่าไม่ซ้ากันและไม่มีค่าว่าง หรือ null value) เช่น การนาฟิ ลด์ชื่อนักเรียน มารวมกับฟิ ลด์สกุล ของนักเรียน ทาให้เกิดเป็นฟิ ลด์ข้อมูลที่ไม่มีค่าไม่ซ้าซ้อนกัน เราเรียกคีย์ที่เกิดจากการรวมชื่อ นักเรียนและสกุลว่า Compound key หรือคีย์รวม
  • 24. 4. คีย์รวม (Compound Key) รูปที่ 1.11. แสดงตัวอย่างการกาหนดคีย์รวม ( compound Key) รหัส พนักงาน ชื่อ-สกุล สกุล หมายเลขบัตร การศึกษา 001 002 003 สมชาย สิริวิมล สมควร มีสกุล ชาญฉลาด ชนะชาติ 1-1299-00123-25-8 1-3205-12001-32-4 3-2022-15444-77-9 ปวส. ปริญญาตรี ปวช.