SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
อินเทอร ์เน็ต
Internet
อินเทอร ์เน็ต
 ปัจจุบันใคร ๆ ก็รู ้จักและมีโอกาสเข้าใช้
อินเทอร ์เน็ต โดยมองเสมือนเป็ นที่รวมของ
ข้อมูลมหาศาล ทั้งข้อความ ภาพ เสียง
โปรแกรม และอื่น ๆ
 อินเทอร ์เน็ตเป็ นช่องทางติดต่อสื่อสารกัน
ด้วยข้อมูลต่าง ๆ อย่างสะดวกรวดเร็ว
 อินเทอร ์เน็ตเป็ นเพียง “ช่องทาง” หรือ
เครือข่ายที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร ์ทั้งโลก
เข้าด้วยกันให้สามารถรับส่งข้อมูลกันได้
ความหมาย
 อินเทอร ์เน็ต คือ กลุ่มของเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์จานวนมากที่เชื่อมต่อเข้า
ด้วยกันภายใต้ระบบมาตรฐานเดียวกันจน
กลายเป็ นสังคมเครือข่ายขนาดใหญ่ ซึ่ง
คอมพิวเตอร ์แต่ละเครื่องสามารถรับส่ง
ข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตัวอักษร
รูปภาพและเสียงได้ รวมทั้งการสืบค้นข้อมูล
ต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว อินเทอร ์เน็ตจึงเป็ น
เครื่องมือติดต่อสื่อสารที่กาลังได้รับความ
นิยมเป็ นอย่างมาก
ความเป็ นมา
 พ.ศ. 2512 กระทรวงกลาโหมของประเทศ
สหรัฐอเมริกา ได้พัฒนาเครือข่าย
คอมพิวเตอร ์ขึ้นมาเพื่อใช้ในทางทหาร ชื่อว่า
ARPANET (Advanced Research Projects
Agency Network) ซึ่งคอมพิวเตอร ์แต่ละ
เครื่องจะเชื่อมกันด้วยสายส่งข้อมูลที่แยก
ออกเป็ นหลายเส้นทางประสานกันเหมือน
ร่างแห การส่งข้อมูลไปให้เครื่องอื่นจะแบ่ง
ข้อมูลออกเป็ นส่วนย่อย แล้วทยอยส่งไปให้
ปลายทางตามที่กาหนด โดยแต่ละชิ้นย่อย ๆ
ความเป็ นมา
 ถ้าหากว่าในระหว่างทางข้อมูลส่วนใดส่วน
หนึ่ง (Packet) เกิดสูญหายหรือผิดพลาด อัน
เนื่องมาจากสัญญาณรบกวนก็ดี หรือสายส่ง
ข้อมูลและเครื่องคอมพิวเตอร ์ที่อยู่กลางทาง
เสียหายหรือถูกทาลายก็ดี เครื่องคอมพิวเตอร ์
ปลายทางจะส่งสัญญาณกลับมาแจ้งให้
คอมพิวเตอร ์ต้นทางรับรู ้และจัดการส่งข้อมูล
เฉพาะส่วนที่ขาดไปให้ใหม่โดยใช้เส้นทางอื่น
แทน ด้วยวิธีนี้จะสามารถมั่นใจได้ว่าข้อมูลที่
ส่งออกไปจะถึงปลายทางอย่างแน่นอน แม้ว่า
ความเป็ นมา
 ก้าวแรกของ ARPANET ประกอบด้วย
คอมพิวเตอร ์เพียง 4 เครื่อง คือ เครื่อง
คอมพิวเตอร ์ของมหาวิทยาลัยยูทาห์
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร ์เนียที่ซานตาบาบารา
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร ์เนียที่ลอสแองเจลิส และ
สถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร ์ด
เมื่อมีการทดลองใช้งาน ARPANET จนได้ผล
เป็ นที่น่าพอใจแล้ว กระทรวงกลาโหมของ
ประเทศสหรัฐฯได้ได้ขยายเครือข่ายของ
ARPANET ออกไป โดยเชื่อมต่อคอมพิวเตอร ์
ความเป็ นมา
 คอมพิวเตอร ์ที่ต่อเข้ากับเครือข่ายจะมี
มาตรฐานการรับส่งข้อมูลเดียวกันเรียกว่า
Network Control Protocol (NCP) เป็ นส่วน
ควบคุมการรับส่งข้อมูล การตรวจสอบความ
ผิดพลาดในการส่งข้อมูล และเปรียบเสมือน
ตัวกลางที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร ์ทุกเครื่องเข้า
ด้วยกัน แต่มาตรฐานของ NCP ยังมีข้อจากัด
อยู่มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือในด้านจานวน
เครื่องคอมพิวเตอร ์ที่ต่อ ทาให้ขยายจานวน
เครื่องคอมพิวเตอร ์ออกไปมาก ๆ ไม่ได้ จึงได้
ความเป็ นมา
 จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2525 ได้มีมาตรฐานใหม่
ออกมา คือ Transmission Control
Protocol/Internet Protocol หรือโปรโตคอล
แบบ TCP/IP ซึ่งถือว่าเป็ นก้าวสาคัญที่
ARPANET ได้วางรากฐานไว้ให้กับอินเทอร ์เน็ต
เพราะจากมาตรฐานการรับส่งข้อมูลแบบ
TCP/IP นี้ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร ์ต่างชนิด
กันสามารถรับส่งข้อมูลไปมาระหว่างกันได้และ
นับเป็ นหัวใจของอินเทอร ์เน็ตเลยทีเดียว
โปรโตคอล (TPC/IP) ได้รับการยอมรับอย่าง
ความเป็ นมา
 ต่อมา พ.ศ. 2529 มูลนิธิวิทยาศาสตร ์แห่งชาติ
หรือ National Science Foundation (NSF)
ของประเทศสหรัฐฯ ได้วางระบบเครือข่าย
ขึ้นมาอีกระบบหนึ่งเรียกว่า NSFNET ซึ่ง
ประกอบด้วยซูเปอร ์คอมพิวเตอร ์จานวน 5
เครื่องใน 5 รัฐ เชื่อมต่อเข้าด้วยกันเพื่อใช้
ประโยชน์ทางการศึกษาและการค้นคว้าทาง
วิทยาศาสตร ์และได้ใช้โปรโตคอล TCP/IP เป็ น
มาตรฐานในการรับส่งข้อมูลเช่นกัน ทาให้
Network ขยายตัวเป็ นไปอย่างรวดเร็ว
ความเป็ นมา
 ประกอบกับการรับส่งข้อมูลก็ใช้มาตรฐาน
เดียวกัน จานวนเครื่องคอมพิวเตอร ์ใน
เครือข่ายจึงเพิ่มขึ้นเป็ น 5,000 เครื่อง
นอกจาก ARPANET และ NSFNET แล้ว ยังมี
เครือข่ายอื่น ๆ อีกหลายเครือข่าย เช่น
UUNET, UUCP, BITNET, CSNET เป็ นต้น ซึ่ง
ต่อมาก็ได้เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยมี NSFNET
เป็ นเครือข่ายหลัก เปรียบเสมือนกระดูกสัน
หลัง (Backbone) ของระบบ จานวนเครื่อง
คอมพิวเตอร ์ในเครือข่ายจึงได้เพิ่มเป็ นกว่า
ความเป็ นมา
 หลังจากที่ ARPANET ได้รวมเข้ากับ NSFNET แล้วก็
เปลี่ยนไปใช้ความสามารถของ NSFNET แทน
จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2533 ก็เลิกใช้งาน ARPANET โดย
สิ้นเชิง แต่จานวนเครื่องคอมพิวเตอร ์ในเครือข่ายก็
ยังคงเพิ่มขึ้นแบบทวีคูณ และในปี พ.ศ. 2534 ก็ได้มี
การจัดตั้งสมาคม CIX หรือ Commercial Internet
Exchange ขึ้น โดยขณะนั้นมีเครื่องคอมพิวเตอร ์รวม
มากกว่า 600,000 เครื่องในระบบ และเมื่ออินเทอร ์เน็ต
มีอายุครบ 25 ปี ในปี พ.ศ. 2537 จานวนเครื่อง
คอมพิวเตอร ์ในเครือข่ายพุ่งสูงกว่า 2,000,000 เครื่อง
ซึ่งปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร ์ที่เชื่อมต่อกันอยู่ทั่วโลก
อินเทอร ์เน็ตในประเทศ
ไทย
 อินเทอร ์เน็ตในประเทศไทย เกิดขึ้นโดยที่
ประเทศไทยได้ติดต่อกับอินเทอร ์เน็ตใน
ลักษณะการใช้บริการจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์ตั้งแต่
ปี พ.ศ. 2530 ซึ่งสถาบันที่ติดต่อกับ
เครือข่ายอินเทอร ์เน็ตในลักษณะดัง
กล่าวคือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ์
วิทยาเขตหาดใหญ่ (PSU) และสถาบัน
เทคโนโลยีแห่งเอเชีย หรือสถาบันเอไอที
(AIT) การติดต่ออินเทอร ์เน็ตของทั้งสอง
อินเทอร ์เน็ตในประเทศ
ไทย
 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2531
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ์ วิทยาเขต
หาดใหญ่ได้ยื่นขอที่อยู่ อินเทอร ์เน็ตใน
ประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อินเทอร ์เน็ต
sritrang.psu.th ซึ่งเป็ นที่อยู่อินเทอร ์เน็ต
แห่งแรกของประเทศไทย ต่อมาปี พ.ศ.
2534 บริษัท DEC (Thailand) จากัด ได้ขอ
ที่อยู่อินเทอร ์เน็ตเพื่อใช้ในกิจของบริษัท
โดยได้รับที่อยู่เป็ น dect.co.th มีคา “ th ”
เป็ นส่วนที่เรียกว่าโดเมน (Domain) เป็ น
รูปแบบเครือข่าย
อินเทอร ์เน็ต
รูปแบบเครือข่าย
อินเทอร ์เน็ต
ISP คืออะไร
 ISP หรือ Internet Service Provider เป็ น
หน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อเข้ากับ
เครือข่ายอินเทอร ์เน็ต หรือพูดอีกนัยหนึ่ง
คือ ทาหน้าที่เสมือนเป็ นประตูเปิ ดการ
เชื่อมต่อให้บุคคลหรือองค์การสามารถใช้
งานอินเทอร ์เน็ตได้ สาหรับในประเทศไทยมี
หน่วยงานที่ให้บริการด้านนี้อยู่ 2
ประเภทด้วยกันคือ ผู้ให้บริการอินเทอร ์เน็ต
เชิงพาณิชย์(Commercial ISP) จานวน 18
ราย และ ผู้ให้บริการอินเทอร ์เน็ตสาหรับ
อินเทอร ์เน็ตเชื่อมต่อกัน
ได้อย่างไร
การเชื่อมต่อกับ
อินเทอร ์เน็ต
 การเชื่อมต่อกับอินเทอร ์เน็ตผ่านโมเด็ม
การเชื่อมต่อกับ
อินเทอร ์เน็ต
 การเชื่อมต่อกับอินเทอร ์เน็ตผ่านโมเด็ม
ชนิด ADSN
โปรโตคอล
 การทางานต่าง ๆ ในอินเทอร ์เน็ตจะ
สอดคล้องกันได้ก็ต้องมีกติกาที่ทุกเครื่อง
ทุกโปรแกรม รับรู ้และทาตามแบบหรือ
มาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ซึ่งบน
อินเทอร ์เน็ตมีกติกาเหล่านี้มากมายสาหรับ
แต่ละเครื่อง เรียกว่า “โปรโตคอล”
(protocal)
โปรโตคอล” (protocal)
ที่สาคัญ
 TCP/IP กับ IP address
 เป็ นกติกาหลักในการรับส่งข้อมูลผ่าน
อินเทอร ์เน็ต ข้อมูลทุกรูปแบบไม่ว่าจาก
โปรแกรมใดก็ต้องแปลงให้อยู่ในมาตรฐาน
ของ TCP/IP เสียก่อนจึงจะรับส่งได้ กติกานี้
กาหนดวิธี ขั้นตอนในการรับส่งข้อมูล และ
ตรวจสอบความถูกต้องอย่างรัดกุม202.56.159.90
ชื่อโดเมน
โปรโตคอล” (protocal)
ที่สาคัญ
 DNS และ DNS Server
 ระบบการแปลงชื่อที่เรียกว่า Domain
Name System (DNS) เข้ามาช่วย โดยแต่
ละ ISP ก็ต้องมีคอมพิวเตอร ์เครื่องหนึ่งคอย
เก็บข้อมูลว่าเครื่องชื่อนั้น ๆ มี IP address
อะไร เราเรียกเครื่องที่ทาหน้าที่นี้ว่า DNS
server
โปรโตคอล” (protocal)
ที่สาคัญ
 WEB หรือ WWW หรือ World Wide Web
 เป็ นบริการพื้นฐานที่ใช้กันมากที่สุด โดย
เรียกดูข้อความและภาพประกอบเป็ นหน้า ๆ
ไป เหมือนการอ่านหนังสือพิมพ์หรือ
วารสาร แต่เป็ นข้อมูลสดที่เปลี่ยนแปลงได้
ตลอดเวลาตามการทางานของโปรแกรมว่า
จะไปดึงอะไรมาแสดง และยังอาจมี
ภาพเคลื่อนไหวหรือเสียงได้ด้วย นอกจากนี้
เว็บยังเป็ นต้นทางของบริการอื่น ๆที่จะ
โปรโตคอล” (protocal)
ที่สาคัญ
 Web Site
 สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร ์ที่ให้บริการเว็บ
หมายถึงเราสามารถเรียกดูเว็บจากเครื่อง
นั้นได้ จะเรียกว่าเป็ น “เว็บเซิร ์ฟเวอร ์” (web
server) และข้อมูลทั้งหมดที่จัดให้เรียกดู
เป็ นเว็บได้จะเรียกว่า “เว็บไซท์” (web site)
หรือแหล่งข้อมูลเว็บ ส่วนแต่ละหน้าที่เปิ ด
เข้าไปดูได้จะเรียกว่า “เว็บเพจ” (web page)
ซึ่งหน้าที่หลักของเว็บไซท์นั้น ๆ หรือหน้า
่ ่ ่ ้
โปรโตคอล” (protocal)
ที่สาคัญ
 HTTP โปรโตคอลของเว็บ
 โปรโตคอลหรือกติกาที่ใช้เรียกดูข้อมูล
จากเว็บจะเรียกว่า HTTP (Hyper Text
Transfer Protocol) ซึ่งเรียกใช้ได้โดยระบุ
http:// ในช่องที่กรอกชื่อเว็บของ
บราวเซอร ์นาหน้าชื่อเครื่องที่จะเรียกดู
ข้อมูล เช่น http:///www.mcc.ac.th แต่
ปกติหากไม่ใส่หรือไม่ระบุเป็ นอย่างอื่น
บราวเซอร ์ก็จะคิดแทนให้ว่าเป็ น http:// อยู่
โปรโตคอล” (protocal)
ที่สาคัญ
 HTML : ภาษาของเว็บ
 ภาษาที่ใช้ในการจัดหน้าเว็บเพจ
เรียกว่า HTML (Hyper Text Markup
Language) ซึ่งเป็ นที่มาของส่วนขยาย
.htm หรือ .html ท้ายไฟล์เว็บเพจ ปัจจุบัน
ผู้ใช้จะไม่ได้เขียนคาสั่ง HTML แต่ใช้
โปรแกรมออกแบบเว็บช่วย เช่น
Dreamweaver ของ Macromedia
(ปัจจุบันถูกซื้อกิจการโดย Adobe ไปแล้ว),
โปรโตคอล” (protocal)
ที่สาคัญ
 URL = โปรโตคอล + ชื่อโดเมน + ชื่อไฟล์ในเครื่อง
 เมื่อรู ้จักเว็บไซท์และโปรโตคอลแล้ว การจะให้
บราวเซอร ์ไปเรียกดูเว็บเพจจากที่ใด ก็ต้องระบุ 3
อย่างคือ โปรโตคอล ชื่อโดเมนของเครื่อง (ส่วนนี้
อาจใส่ IP address แทนได้) และชื่อไฟล์เว็บเพจ
(.htm หรือ .html) หรือไฟล์อื่น ๆ เช่น ไฟล์รูปภาพ
แบบ JPEG (.jpg หรือ .jpeg) ในเครื่องนั้น ๆ (ซึ่ง
รวมถึงชื่อดิสก์ไดรว์ ชื่อโฟลเดอร ์หรือไดเร็คทรอรีที่
ไฟล์ของเอกสารเว็บนั้นอยู่ด้วย) ซึ่งชื่อทั้งหมดนี้
รวมกันจะถูกกาหนดให้มีรูปแบบเดียว เรียกว่า
Uniform Resource Locator หรือ URL ดังนั้นแต่ละ
โปรโตคอล” (protocal)
ที่สาคัญ
โปรโตคอล” (protocal)
ที่สาคัญ
 เวลาของการสื่อสารบนอินเทอร ์เน็ต
 แบบประสานเวลา (synchronous) เป็ นการใช้งานที่
ผู้ใช้สามารถติดต่อถึงกันได้พร้อมกันในเวลา
เดียวกัน โดยผู้ใช้แต่ละฝ่ ายจะนั่งทางานอยู่
หน้าจอคอมพิวเตอร ์ดังเช่น การสนทนาใน
เครือข่าย (Internet Relay Chat)
 แบบไม่ประสานเวลา (asynchronous) หรือแบบต่าง
เวลา เป็ นการรับส่งข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่จาเป็ นต้องนั่ง
อยู่หน้าจอคอมพิวเตอร ์พร้อมกันในเวลาเดียวกัน
แต่สามารถส่งข่าวสารข้อมูลไปเก็บไว้ในเครื่อง
บริการก่อนได้ เพื่อที่ผู้รับจะเรียกดูข้อมูลนั้นได้
บริการจากอินเทอร ์เน็ต
 E-mail
บริการจากอินเทอร ์เน็ต
 Instant Messing
บริการจากอินเทอร ์เน็ต
 Telnet
บริการจากอินเทอร ์เน็ต
 FTP
บริการจากอินเทอร ์เน็ต
 Chat Room
บริการจากอินเทอร ์เน็ต
 Internet Telephony
บริการจากอินเทอร ์เน็ต
 Content Streaming
บริการจากอินเทอร ์เน็ต
 ซื้อสินค้าออนไลน์
บริการจากอินเทอร ์เน็ต
 การประมูลสินค้าผ่านเว็บ
บริการจากอินเทอร ์เน็ต
 บริการเพลงและวิดีโอ
บริการจากอินเทอร ์เน็ต
 NewsGroup / Webboard
บริการจากอินเทอร ์เน็ต
 Online Diary
บริการจากอินเทอร ์เน็ต
 Weblog / Blog
บริการค้นหาข้อมูลจาก
อินเทอร ์เน็ต
 Web Directory
 Search Engine
– Crawler เรียกได้อย่างหนึ่งว่า “ Spider ” , “ Robot ” หรือ “ Worm
” เป็ นกลไกที่สร้างขึ้นให้เป็ นตัวแทน (Agent) เพื่อท่องไปตาม
เว็บไซต์ต่าง ๆ แล้วรวบรวมข้อมูลที่อยู่ในเว็บไซต์นั้น
– Indexer หลังจากที่ Crawler รวบรวมข้อมูลเว็บไซต์มาให้แล้ว
Indexer จะทาหน้าที่ในการจัดหมวดหมู่ให้กับข้อมูลเหล่านั้น และ
จัดเก็บลงในฐานข้อมูล
– Query Process เป็ นส่วนการทางานที่ซับซ้อนที่สุดของ Search
Engine เนื่องจากต้องค้นหาข้อมูลใน Indexer และนาคาค้นหรือ
ปัจจัยต่าง ๆ มาเปรียบเทียบเพื่อตัดสินใจว่าจะแสดงผลลัพธ ์ใดบ้าง
 Portal Site มีลิงค์ต่าง ๆ มากมายให้ผู้ใช้สามารถเชื่อมโยง
ไปยังบริการที่ผู้ใช้สนใจ
เทคนิคในการใช้คาค้น
(keyword)
 ควรใช้คาที่หลากหลาย เช่น หากต้องการค้นหา
ข้อมูลเกี่ยวกับชาจีน ไม่ควรใช้เพียงคาว่า “tea”
เพียงคาเดียว แต่ควรใช้คาว่า “ Chinese Tea ” จะ
ได้ผลลัพธ ์ที่ตรงต่อความต้องการมากกว่า
 ควรใช้เครื่องหมายคาพูด (“ ”) ในการรวมคา เมื่อ
ต้องการค้นหาคาที่เป็ นประโยค หรือกลุ่มของคาที่
มีการเว้นช่องว่าง เช่น ชื่อ และนามสกุล สามารถ
ทาได้โดยใช้เครื่องหมายคาพูดปิ ดคาที่ต้องการ
รวม
 ไม่ควรใช้คาทั่วไปเป็ นคาค้น คาทั่วไปได้แก่
คาเชื่อม คานาหน้านาม คาวิเศษณ์ เช่น if, on,
เทคนิคในการใช้คาค้น
(keyword)
 ใช้เครื่องหมายบวก ( + ) นาหน้าคาค้นที่ต้องการ
ให้ผลลัพธ ์ที่ได้ตรงกับคานั้น เช่น หากต้องการ
ค้นหาคาว่า “ แอปเปิ้ล ” ที่เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร ์
สามารถใช้คาค้นได้ว่า “แอปเปิ้ล+คอมพิวเตอร ์”
เป็ นต้น
 ใช้เครื่องหมายลบ ( - ) นาหน้าคาค้นที่ไม่
ต้องการให้แสดงผลลัพธ ์ตามคาค้นนั้น เช่น หาก
ต้องการค้นหาคาว่า “ แอปเปิ้ล ” ที่ไม่ใช่เครื่อง
คอมพิวเตอร ์สามารถใช้คาค้นได้ว่า “แอปเปิ้ล-
คอมพิวเตอร ์” เป็ นต้น
 ใช้เครื่องหมายดอกจันทร ์( * ) แทนกลุ่มคาหรือ
สื่อหลายมิติบนเว็บ
ข้อดีของอินเทอร ์เน็ต
 สนทนากับผู้อื่นที่อยู่ห่างไกลได้ทั้งในลักษณะ
ข้อความ ภาพ และเสียง
 ให้เสรีภาพในการสื่อสารในทุกรูปแบบแก่
บุคคลทุกคน
 ค้นคว้าข้อมูลในลักษณะต่าง ๆ เช่น งานวิจัย
บทความในหนังสือพิมพ์ ความก้าวหน้าทาง
การแพทย์เป็ นต้น ได้จากแหล่งข้อมูลทั่วโลก
เช่น ห้องสมุด สถาบันการศึกษา และ
สถาบันวิจัย โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายและ
ข้อดีของอินเทอร ์เน็ต
 ติดตามความเคลื่อนไหวและเหตุการณ์ต่าง ๆ ทั่วโลก
ได้อย่างรวดเร็วจากการรายงานของสานักข่าวที่มี
เว็บไซต์ทั้งในลักษณะสถานีวิทยุและสถานีวิทยุ
โทรทัศน์ รวมถึงพยากรณ์อากาศของเมืองต่าง ๆ ทั่ว
โลกล่วงหน้าด้วย
 รับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ทั่วโลกได้อย่างรวดเร็ว
โดยไม่ต้องเสียเงินค่าไปรษณียากร ถึงแม้จะเป็ นการส่ง
ข้อความไปต่างประเทศก็ไม่ต้องเสียเงินนอกจากจะส่ง
ข้อความตัวอักษรแบบจดหมายธรรมดาแล้ว ยัง
สามารถส่งไฟล์ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง
พร้อมกันไปด้วย
ข้อดีของอินเทอร ์เน็ต
 อ่านบทความเรื่องราวที่ลงในนิตยสารหรือ
วารสารต่าง ๆ ได้ฟรีโดยมีทั้งข้อความและ
ภาพประกอบด้วย
 ถ่ายโอนไฟล์ข้อความ ภาพ และเสียงจากที่อื่น
ๆ รวมถึงและถ่ายโอนโปรแกรมต่าง ๆ ได้จาก
เว็บไซต์ที่ยอมให้ผู้ใช้บรรจุลงในโปรแกรมได้
โดยไม่คิดมูลค่า
 ตรวจดูสินค้าและสั่งซื้อสินค้าได้โดยไม่ต้อง
เสียเวลาเดินทางไปซื้อเอง
ข้อจากัดของ
อินเทอร ์เน็ต
 ทุกคนสามารถสร้างเว็บไซต์หรือติดประกาศ
ข้อความได้ทุกเรื่อง บางครั้งข้อความนั้นอาจจะ
เป็ นข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือไม่ได้รับการรับรอง
เช่น ข้อมูลด้านการแพทย์หรือผลการทดลอง
ต่าง ๆ จึงเป็ นวิจารณญาณของผู้อ่านที่จะต้อง
ไตร่ตรองข้อความที่อ่านนั้นด้วยว่าควรจะ
เชื่อถือได้หรือไม่
 อินเทอร ์เน็ตมีโปรแกรมและเครื่องมือในการ
ทางานมากมายหลายอย่าง เช่นการใช้ เทล
่
ข้อจากัดของ
อินเทอร ์เน็ต
 นักเรียนและเยาวชนอาจติดต่อเข้าโปรแกรมใน
เว็บไซต์ที่ไม่เป็ นประโยชน์ หรืออาจ ยั่วยุ
อารมณ์ทาให้เป็ นอันตรายต่อตัวเองและสังคม
 มีการเล่นเกมบนอินเทอร ์เน็ตกันอย่าง
แพร่หลาย อันอาจทาให้เด็กหมกมุ่นในการเล่น
จนเสียเวลาในการเรียนได้
จากบทเรียนลองเขียน
Mind Map ดูนะ

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปguest0b1d15e4
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1Pp'dan Phuengkun
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตsaranya40
 
ใบงานที่ 4 53-6
ใบงานที่ 4 53-6ใบงานที่ 4 53-6
ใบงานที่ 4 53-6StnPT
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตssuseraa96d2
 
ใบงานที่ 4-53-6
ใบงานที่ 4-53-6ใบงานที่ 4-53-6
ใบงานที่ 4-53-6StnPT
 
ใบความรู้ 5
ใบความรู้ 5ใบความรู้ 5
ใบความรู้ 5Tharasin
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16sangkom
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตkhemjira_p
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1Mevenwen Singollo
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตNattapon
 

What's hot (17)

งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิป
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
08 W3 Browser
08 W3 Browser08 W3 Browser
08 W3 Browser
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
ใบงานที่ 4 53-6
ใบงานที่ 4 53-6ใบงานที่ 4 53-6
ใบงานที่ 4 53-6
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
Website
WebsiteWebsite
Website
 
ใบงานที่ 4-53-6
ใบงานที่ 4-53-6ใบงานที่ 4-53-6
ใบงานที่ 4-53-6
 
ใบความรู้ 5
ใบความรู้ 5ใบความรู้ 5
ใบความรู้ 5
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
it-10-46
it-10-46it-10-46
it-10-46buabbn
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1Toey_Wanatsanan
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาวความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาวMilkSick
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ยความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ยPheeranan Thetkham
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ammarirat
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (20)

Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
it-10-46
it-10-46it-10-46
it-10-46
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาวความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
 
ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
 
ความมาของอินเทอร์เน็fdagfdgsadgasaggต
ความมาของอินเทอร์เน็fdagfdgsadgasaggตความมาของอินเทอร์เน็fdagfdgsadgasaggต
ความมาของอินเทอร์เน็fdagfdgsadgasaggต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ยความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

More from ssuseraa96d2

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศssuseraa96d2
 
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ssuseraa96d2
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxssuseraa96d2
 
ระบบปฏิบัติการ MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ MS-DOSระบบปฏิบัติการ MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ MS-DOSssuseraa96d2
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ssuseraa96d2
 
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสารการกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสารssuseraa96d2
 
การเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสารการเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสารssuseraa96d2
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มssuseraa96d2
 
การสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมการสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมssuseraa96d2
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตารางssuseraa96d2
 
การแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพการแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพssuseraa96d2
 
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการการกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการssuseraa96d2
 
การตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสารการตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสารssuseraa96d2
 
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLเริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLssuseraa96d2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTMLความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTMLssuseraa96d2
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆssuseraa96d2
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศssuseraa96d2
 
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ssuseraa96d2
 

More from ssuseraa96d2 (20)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linux
 
ระบบปฏิบัติการ MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ MS-DOSระบบปฏิบัติการ MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ MS-DOS
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสารการกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
 
การเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสารการเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสาร
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์ม
 
การสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมการสร้างเฟรม
การสร้างเฟรม
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตาราง
 
การแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพการแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพ
 
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการการกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
 
การตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสารการตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสาร
 
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLเริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTMLความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต

  • 2. อินเทอร ์เน็ต  ปัจจุบันใคร ๆ ก็รู ้จักและมีโอกาสเข้าใช้ อินเทอร ์เน็ต โดยมองเสมือนเป็ นที่รวมของ ข้อมูลมหาศาล ทั้งข้อความ ภาพ เสียง โปรแกรม และอื่น ๆ  อินเทอร ์เน็ตเป็ นช่องทางติดต่อสื่อสารกัน ด้วยข้อมูลต่าง ๆ อย่างสะดวกรวดเร็ว  อินเทอร ์เน็ตเป็ นเพียง “ช่องทาง” หรือ เครือข่ายที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร ์ทั้งโลก เข้าด้วยกันให้สามารถรับส่งข้อมูลกันได้
  • 3. ความหมาย  อินเทอร ์เน็ต คือ กลุ่มของเครือข่าย คอมพิวเตอร ์จานวนมากที่เชื่อมต่อเข้า ด้วยกันภายใต้ระบบมาตรฐานเดียวกันจน กลายเป็ นสังคมเครือข่ายขนาดใหญ่ ซึ่ง คอมพิวเตอร ์แต่ละเครื่องสามารถรับส่ง ข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตัวอักษร รูปภาพและเสียงได้ รวมทั้งการสืบค้นข้อมูล ต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว อินเทอร ์เน็ตจึงเป็ น เครื่องมือติดต่อสื่อสารที่กาลังได้รับความ นิยมเป็ นอย่างมาก
  • 4. ความเป็ นมา  พ.ศ. 2512 กระทรวงกลาโหมของประเทศ สหรัฐอเมริกา ได้พัฒนาเครือข่าย คอมพิวเตอร ์ขึ้นมาเพื่อใช้ในทางทหาร ชื่อว่า ARPANET (Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งคอมพิวเตอร ์แต่ละ เครื่องจะเชื่อมกันด้วยสายส่งข้อมูลที่แยก ออกเป็ นหลายเส้นทางประสานกันเหมือน ร่างแห การส่งข้อมูลไปให้เครื่องอื่นจะแบ่ง ข้อมูลออกเป็ นส่วนย่อย แล้วทยอยส่งไปให้ ปลายทางตามที่กาหนด โดยแต่ละชิ้นย่อย ๆ
  • 5. ความเป็ นมา  ถ้าหากว่าในระหว่างทางข้อมูลส่วนใดส่วน หนึ่ง (Packet) เกิดสูญหายหรือผิดพลาด อัน เนื่องมาจากสัญญาณรบกวนก็ดี หรือสายส่ง ข้อมูลและเครื่องคอมพิวเตอร ์ที่อยู่กลางทาง เสียหายหรือถูกทาลายก็ดี เครื่องคอมพิวเตอร ์ ปลายทางจะส่งสัญญาณกลับมาแจ้งให้ คอมพิวเตอร ์ต้นทางรับรู ้และจัดการส่งข้อมูล เฉพาะส่วนที่ขาดไปให้ใหม่โดยใช้เส้นทางอื่น แทน ด้วยวิธีนี้จะสามารถมั่นใจได้ว่าข้อมูลที่ ส่งออกไปจะถึงปลายทางอย่างแน่นอน แม้ว่า
  • 6. ความเป็ นมา  ก้าวแรกของ ARPANET ประกอบด้วย คอมพิวเตอร ์เพียง 4 เครื่อง คือ เครื่อง คอมพิวเตอร ์ของมหาวิทยาลัยยูทาห์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร ์เนียที่ซานตาบาบารา มหาวิทยาลัยแคลิฟอร ์เนียที่ลอสแองเจลิส และ สถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร ์ด เมื่อมีการทดลองใช้งาน ARPANET จนได้ผล เป็ นที่น่าพอใจแล้ว กระทรวงกลาโหมของ ประเทศสหรัฐฯได้ได้ขยายเครือข่ายของ ARPANET ออกไป โดยเชื่อมต่อคอมพิวเตอร ์
  • 7. ความเป็ นมา  คอมพิวเตอร ์ที่ต่อเข้ากับเครือข่ายจะมี มาตรฐานการรับส่งข้อมูลเดียวกันเรียกว่า Network Control Protocol (NCP) เป็ นส่วน ควบคุมการรับส่งข้อมูล การตรวจสอบความ ผิดพลาดในการส่งข้อมูล และเปรียบเสมือน ตัวกลางที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร ์ทุกเครื่องเข้า ด้วยกัน แต่มาตรฐานของ NCP ยังมีข้อจากัด อยู่มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือในด้านจานวน เครื่องคอมพิวเตอร ์ที่ต่อ ทาให้ขยายจานวน เครื่องคอมพิวเตอร ์ออกไปมาก ๆ ไม่ได้ จึงได้
  • 8. ความเป็ นมา  จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2525 ได้มีมาตรฐานใหม่ ออกมา คือ Transmission Control Protocol/Internet Protocol หรือโปรโตคอล แบบ TCP/IP ซึ่งถือว่าเป็ นก้าวสาคัญที่ ARPANET ได้วางรากฐานไว้ให้กับอินเทอร ์เน็ต เพราะจากมาตรฐานการรับส่งข้อมูลแบบ TCP/IP นี้ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร ์ต่างชนิด กันสามารถรับส่งข้อมูลไปมาระหว่างกันได้และ นับเป็ นหัวใจของอินเทอร ์เน็ตเลยทีเดียว โปรโตคอล (TPC/IP) ได้รับการยอมรับอย่าง
  • 9. ความเป็ นมา  ต่อมา พ.ศ. 2529 มูลนิธิวิทยาศาสตร ์แห่งชาติ หรือ National Science Foundation (NSF) ของประเทศสหรัฐฯ ได้วางระบบเครือข่าย ขึ้นมาอีกระบบหนึ่งเรียกว่า NSFNET ซึ่ง ประกอบด้วยซูเปอร ์คอมพิวเตอร ์จานวน 5 เครื่องใน 5 รัฐ เชื่อมต่อเข้าด้วยกันเพื่อใช้ ประโยชน์ทางการศึกษาและการค้นคว้าทาง วิทยาศาสตร ์และได้ใช้โปรโตคอล TCP/IP เป็ น มาตรฐานในการรับส่งข้อมูลเช่นกัน ทาให้ Network ขยายตัวเป็ นไปอย่างรวดเร็ว
  • 10. ความเป็ นมา  ประกอบกับการรับส่งข้อมูลก็ใช้มาตรฐาน เดียวกัน จานวนเครื่องคอมพิวเตอร ์ใน เครือข่ายจึงเพิ่มขึ้นเป็ น 5,000 เครื่อง นอกจาก ARPANET และ NSFNET แล้ว ยังมี เครือข่ายอื่น ๆ อีกหลายเครือข่าย เช่น UUNET, UUCP, BITNET, CSNET เป็ นต้น ซึ่ง ต่อมาก็ได้เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยมี NSFNET เป็ นเครือข่ายหลัก เปรียบเสมือนกระดูกสัน หลัง (Backbone) ของระบบ จานวนเครื่อง คอมพิวเตอร ์ในเครือข่ายจึงได้เพิ่มเป็ นกว่า
  • 11. ความเป็ นมา  หลังจากที่ ARPANET ได้รวมเข้ากับ NSFNET แล้วก็ เปลี่ยนไปใช้ความสามารถของ NSFNET แทน จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2533 ก็เลิกใช้งาน ARPANET โดย สิ้นเชิง แต่จานวนเครื่องคอมพิวเตอร ์ในเครือข่ายก็ ยังคงเพิ่มขึ้นแบบทวีคูณ และในปี พ.ศ. 2534 ก็ได้มี การจัดตั้งสมาคม CIX หรือ Commercial Internet Exchange ขึ้น โดยขณะนั้นมีเครื่องคอมพิวเตอร ์รวม มากกว่า 600,000 เครื่องในระบบ และเมื่ออินเทอร ์เน็ต มีอายุครบ 25 ปี ในปี พ.ศ. 2537 จานวนเครื่อง คอมพิวเตอร ์ในเครือข่ายพุ่งสูงกว่า 2,000,000 เครื่อง ซึ่งปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร ์ที่เชื่อมต่อกันอยู่ทั่วโลก
  • 12. อินเทอร ์เน็ตในประเทศ ไทย  อินเทอร ์เน็ตในประเทศไทย เกิดขึ้นโดยที่ ประเทศไทยได้ติดต่อกับอินเทอร ์เน็ตใน ลักษณะการใช้บริการจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2530 ซึ่งสถาบันที่ติดต่อกับ เครือข่ายอินเทอร ์เน็ตในลักษณะดัง กล่าวคือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (PSU) และสถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย หรือสถาบันเอไอที (AIT) การติดต่ออินเทอร ์เน็ตของทั้งสอง
  • 13. อินเทอร ์เน็ตในประเทศ ไทย  จนกระทั่งปี พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ์ วิทยาเขต หาดใหญ่ได้ยื่นขอที่อยู่ อินเทอร ์เน็ตใน ประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อินเทอร ์เน็ต sritrang.psu.th ซึ่งเป็ นที่อยู่อินเทอร ์เน็ต แห่งแรกของประเทศไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2534 บริษัท DEC (Thailand) จากัด ได้ขอ ที่อยู่อินเทอร ์เน็ตเพื่อใช้ในกิจของบริษัท โดยได้รับที่อยู่เป็ น dect.co.th มีคา “ th ” เป็ นส่วนที่เรียกว่าโดเมน (Domain) เป็ น
  • 16. ISP คืออะไร  ISP หรือ Internet Service Provider เป็ น หน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อเข้ากับ เครือข่ายอินเทอร ์เน็ต หรือพูดอีกนัยหนึ่ง คือ ทาหน้าที่เสมือนเป็ นประตูเปิ ดการ เชื่อมต่อให้บุคคลหรือองค์การสามารถใช้ งานอินเทอร ์เน็ตได้ สาหรับในประเทศไทยมี หน่วยงานที่ให้บริการด้านนี้อยู่ 2 ประเภทด้วยกันคือ ผู้ให้บริการอินเทอร ์เน็ต เชิงพาณิชย์(Commercial ISP) จานวน 18 ราย และ ผู้ให้บริการอินเทอร ์เน็ตสาหรับ
  • 20. โปรโตคอล  การทางานต่าง ๆ ในอินเทอร ์เน็ตจะ สอดคล้องกันได้ก็ต้องมีกติกาที่ทุกเครื่อง ทุกโปรแกรม รับรู ้และทาตามแบบหรือ มาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ซึ่งบน อินเทอร ์เน็ตมีกติกาเหล่านี้มากมายสาหรับ แต่ละเครื่อง เรียกว่า “โปรโตคอล” (protocal)
  • 21. โปรโตคอล” (protocal) ที่สาคัญ  TCP/IP กับ IP address  เป็ นกติกาหลักในการรับส่งข้อมูลผ่าน อินเทอร ์เน็ต ข้อมูลทุกรูปแบบไม่ว่าจาก โปรแกรมใดก็ต้องแปลงให้อยู่ในมาตรฐาน ของ TCP/IP เสียก่อนจึงจะรับส่งได้ กติกานี้ กาหนดวิธี ขั้นตอนในการรับส่งข้อมูล และ ตรวจสอบความถูกต้องอย่างรัดกุม202.56.159.90
  • 23. โปรโตคอล” (protocal) ที่สาคัญ  DNS และ DNS Server  ระบบการแปลงชื่อที่เรียกว่า Domain Name System (DNS) เข้ามาช่วย โดยแต่ ละ ISP ก็ต้องมีคอมพิวเตอร ์เครื่องหนึ่งคอย เก็บข้อมูลว่าเครื่องชื่อนั้น ๆ มี IP address อะไร เราเรียกเครื่องที่ทาหน้าที่นี้ว่า DNS server
  • 24.
  • 25. โปรโตคอล” (protocal) ที่สาคัญ  WEB หรือ WWW หรือ World Wide Web  เป็ นบริการพื้นฐานที่ใช้กันมากที่สุด โดย เรียกดูข้อความและภาพประกอบเป็ นหน้า ๆ ไป เหมือนการอ่านหนังสือพิมพ์หรือ วารสาร แต่เป็ นข้อมูลสดที่เปลี่ยนแปลงได้ ตลอดเวลาตามการทางานของโปรแกรมว่า จะไปดึงอะไรมาแสดง และยังอาจมี ภาพเคลื่อนไหวหรือเสียงได้ด้วย นอกจากนี้ เว็บยังเป็ นต้นทางของบริการอื่น ๆที่จะ
  • 26.
  • 27. โปรโตคอล” (protocal) ที่สาคัญ  Web Site  สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร ์ที่ให้บริการเว็บ หมายถึงเราสามารถเรียกดูเว็บจากเครื่อง นั้นได้ จะเรียกว่าเป็ น “เว็บเซิร ์ฟเวอร ์” (web server) และข้อมูลทั้งหมดที่จัดให้เรียกดู เป็ นเว็บได้จะเรียกว่า “เว็บไซท์” (web site) หรือแหล่งข้อมูลเว็บ ส่วนแต่ละหน้าที่เปิ ด เข้าไปดูได้จะเรียกว่า “เว็บเพจ” (web page) ซึ่งหน้าที่หลักของเว็บไซท์นั้น ๆ หรือหน้า ่ ่ ่ ้
  • 28.
  • 29. โปรโตคอล” (protocal) ที่สาคัญ  HTTP โปรโตคอลของเว็บ  โปรโตคอลหรือกติกาที่ใช้เรียกดูข้อมูล จากเว็บจะเรียกว่า HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) ซึ่งเรียกใช้ได้โดยระบุ http:// ในช่องที่กรอกชื่อเว็บของ บราวเซอร ์นาหน้าชื่อเครื่องที่จะเรียกดู ข้อมูล เช่น http:///www.mcc.ac.th แต่ ปกติหากไม่ใส่หรือไม่ระบุเป็ นอย่างอื่น บราวเซอร ์ก็จะคิดแทนให้ว่าเป็ น http:// อยู่
  • 30. โปรโตคอล” (protocal) ที่สาคัญ  HTML : ภาษาของเว็บ  ภาษาที่ใช้ในการจัดหน้าเว็บเพจ เรียกว่า HTML (Hyper Text Markup Language) ซึ่งเป็ นที่มาของส่วนขยาย .htm หรือ .html ท้ายไฟล์เว็บเพจ ปัจจุบัน ผู้ใช้จะไม่ได้เขียนคาสั่ง HTML แต่ใช้ โปรแกรมออกแบบเว็บช่วย เช่น Dreamweaver ของ Macromedia (ปัจจุบันถูกซื้อกิจการโดย Adobe ไปแล้ว),
  • 31.
  • 32. โปรโตคอล” (protocal) ที่สาคัญ  URL = โปรโตคอล + ชื่อโดเมน + ชื่อไฟล์ในเครื่อง  เมื่อรู ้จักเว็บไซท์และโปรโตคอลแล้ว การจะให้ บราวเซอร ์ไปเรียกดูเว็บเพจจากที่ใด ก็ต้องระบุ 3 อย่างคือ โปรโตคอล ชื่อโดเมนของเครื่อง (ส่วนนี้ อาจใส่ IP address แทนได้) และชื่อไฟล์เว็บเพจ (.htm หรือ .html) หรือไฟล์อื่น ๆ เช่น ไฟล์รูปภาพ แบบ JPEG (.jpg หรือ .jpeg) ในเครื่องนั้น ๆ (ซึ่ง รวมถึงชื่อดิสก์ไดรว์ ชื่อโฟลเดอร ์หรือไดเร็คทรอรีที่ ไฟล์ของเอกสารเว็บนั้นอยู่ด้วย) ซึ่งชื่อทั้งหมดนี้ รวมกันจะถูกกาหนดให้มีรูปแบบเดียว เรียกว่า Uniform Resource Locator หรือ URL ดังนั้นแต่ละ
  • 34. โปรโตคอล” (protocal) ที่สาคัญ  เวลาของการสื่อสารบนอินเทอร ์เน็ต  แบบประสานเวลา (synchronous) เป็ นการใช้งานที่ ผู้ใช้สามารถติดต่อถึงกันได้พร้อมกันในเวลา เดียวกัน โดยผู้ใช้แต่ละฝ่ ายจะนั่งทางานอยู่ หน้าจอคอมพิวเตอร ์ดังเช่น การสนทนาใน เครือข่าย (Internet Relay Chat)  แบบไม่ประสานเวลา (asynchronous) หรือแบบต่าง เวลา เป็ นการรับส่งข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่จาเป็ นต้องนั่ง อยู่หน้าจอคอมพิวเตอร ์พร้อมกันในเวลาเดียวกัน แต่สามารถส่งข่าวสารข้อมูลไปเก็บไว้ในเครื่อง บริการก่อนได้ เพื่อที่ผู้รับจะเรียกดูข้อมูลนั้นได้
  • 48. บริการค้นหาข้อมูลจาก อินเทอร ์เน็ต  Web Directory  Search Engine – Crawler เรียกได้อย่างหนึ่งว่า “ Spider ” , “ Robot ” หรือ “ Worm ” เป็ นกลไกที่สร้างขึ้นให้เป็ นตัวแทน (Agent) เพื่อท่องไปตาม เว็บไซต์ต่าง ๆ แล้วรวบรวมข้อมูลที่อยู่ในเว็บไซต์นั้น – Indexer หลังจากที่ Crawler รวบรวมข้อมูลเว็บไซต์มาให้แล้ว Indexer จะทาหน้าที่ในการจัดหมวดหมู่ให้กับข้อมูลเหล่านั้น และ จัดเก็บลงในฐานข้อมูล – Query Process เป็ นส่วนการทางานที่ซับซ้อนที่สุดของ Search Engine เนื่องจากต้องค้นหาข้อมูลใน Indexer และนาคาค้นหรือ ปัจจัยต่าง ๆ มาเปรียบเทียบเพื่อตัดสินใจว่าจะแสดงผลลัพธ ์ใดบ้าง  Portal Site มีลิงค์ต่าง ๆ มากมายให้ผู้ใช้สามารถเชื่อมโยง ไปยังบริการที่ผู้ใช้สนใจ
  • 49. เทคนิคในการใช้คาค้น (keyword)  ควรใช้คาที่หลากหลาย เช่น หากต้องการค้นหา ข้อมูลเกี่ยวกับชาจีน ไม่ควรใช้เพียงคาว่า “tea” เพียงคาเดียว แต่ควรใช้คาว่า “ Chinese Tea ” จะ ได้ผลลัพธ ์ที่ตรงต่อความต้องการมากกว่า  ควรใช้เครื่องหมายคาพูด (“ ”) ในการรวมคา เมื่อ ต้องการค้นหาคาที่เป็ นประโยค หรือกลุ่มของคาที่ มีการเว้นช่องว่าง เช่น ชื่อ และนามสกุล สามารถ ทาได้โดยใช้เครื่องหมายคาพูดปิ ดคาที่ต้องการ รวม  ไม่ควรใช้คาทั่วไปเป็ นคาค้น คาทั่วไปได้แก่ คาเชื่อม คานาหน้านาม คาวิเศษณ์ เช่น if, on,
  • 50. เทคนิคในการใช้คาค้น (keyword)  ใช้เครื่องหมายบวก ( + ) นาหน้าคาค้นที่ต้องการ ให้ผลลัพธ ์ที่ได้ตรงกับคานั้น เช่น หากต้องการ ค้นหาคาว่า “ แอปเปิ้ล ” ที่เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร ์ สามารถใช้คาค้นได้ว่า “แอปเปิ้ล+คอมพิวเตอร ์” เป็ นต้น  ใช้เครื่องหมายลบ ( - ) นาหน้าคาค้นที่ไม่ ต้องการให้แสดงผลลัพธ ์ตามคาค้นนั้น เช่น หาก ต้องการค้นหาคาว่า “ แอปเปิ้ล ” ที่ไม่ใช่เครื่อง คอมพิวเตอร ์สามารถใช้คาค้นได้ว่า “แอปเปิ้ล- คอมพิวเตอร ์” เป็ นต้น  ใช้เครื่องหมายดอกจันทร ์( * ) แทนกลุ่มคาหรือ
  • 52. ข้อดีของอินเทอร ์เน็ต  สนทนากับผู้อื่นที่อยู่ห่างไกลได้ทั้งในลักษณะ ข้อความ ภาพ และเสียง  ให้เสรีภาพในการสื่อสารในทุกรูปแบบแก่ บุคคลทุกคน  ค้นคว้าข้อมูลในลักษณะต่าง ๆ เช่น งานวิจัย บทความในหนังสือพิมพ์ ความก้าวหน้าทาง การแพทย์เป็ นต้น ได้จากแหล่งข้อมูลทั่วโลก เช่น ห้องสมุด สถาบันการศึกษา และ สถาบันวิจัย โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายและ
  • 53. ข้อดีของอินเทอร ์เน็ต  ติดตามความเคลื่อนไหวและเหตุการณ์ต่าง ๆ ทั่วโลก ได้อย่างรวดเร็วจากการรายงานของสานักข่าวที่มี เว็บไซต์ทั้งในลักษณะสถานีวิทยุและสถานีวิทยุ โทรทัศน์ รวมถึงพยากรณ์อากาศของเมืองต่าง ๆ ทั่ว โลกล่วงหน้าด้วย  รับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ทั่วโลกได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องเสียเงินค่าไปรษณียากร ถึงแม้จะเป็ นการส่ง ข้อความไปต่างประเทศก็ไม่ต้องเสียเงินนอกจากจะส่ง ข้อความตัวอักษรแบบจดหมายธรรมดาแล้ว ยัง สามารถส่งไฟล์ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง พร้อมกันไปด้วย
  • 54. ข้อดีของอินเทอร ์เน็ต  อ่านบทความเรื่องราวที่ลงในนิตยสารหรือ วารสารต่าง ๆ ได้ฟรีโดยมีทั้งข้อความและ ภาพประกอบด้วย  ถ่ายโอนไฟล์ข้อความ ภาพ และเสียงจากที่อื่น ๆ รวมถึงและถ่ายโอนโปรแกรมต่าง ๆ ได้จาก เว็บไซต์ที่ยอมให้ผู้ใช้บรรจุลงในโปรแกรมได้ โดยไม่คิดมูลค่า  ตรวจดูสินค้าและสั่งซื้อสินค้าได้โดยไม่ต้อง เสียเวลาเดินทางไปซื้อเอง
  • 55. ข้อจากัดของ อินเทอร ์เน็ต  ทุกคนสามารถสร้างเว็บไซต์หรือติดประกาศ ข้อความได้ทุกเรื่อง บางครั้งข้อความนั้นอาจจะ เป็ นข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือไม่ได้รับการรับรอง เช่น ข้อมูลด้านการแพทย์หรือผลการทดลอง ต่าง ๆ จึงเป็ นวิจารณญาณของผู้อ่านที่จะต้อง ไตร่ตรองข้อความที่อ่านนั้นด้วยว่าควรจะ เชื่อถือได้หรือไม่  อินเทอร ์เน็ตมีโปรแกรมและเครื่องมือในการ ทางานมากมายหลายอย่าง เช่นการใช้ เทล ่
  • 56. ข้อจากัดของ อินเทอร ์เน็ต  นักเรียนและเยาวชนอาจติดต่อเข้าโปรแกรมใน เว็บไซต์ที่ไม่เป็ นประโยชน์ หรืออาจ ยั่วยุ อารมณ์ทาให้เป็ นอันตรายต่อตัวเองและสังคม  มีการเล่นเกมบนอินเทอร ์เน็ตกันอย่าง แพร่หลาย อันอาจทาให้เด็กหมกมุ่นในการเล่น จนเสียเวลาในการเรียนได้