SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ข้อสอบ O-Net
1.ข้อใดเป็นระบบปฏิบัติการทั้งหมด (O-Net ปี 51 ข้อ 13)
1. Unix , Mac OS , Microsoft Office 2. Linux , Windows , Mac OS , Symbian
3. PDA , WWW , Linux , Windows 4. BIOS , Symbian , IPX , RAM
เฉลย 2 ระบบปฏิบัติการ เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์
ทั่วไป บางครั้งเราอาจะเห็นระบบปฏิบัติการเป็นเฟิร์มแวร์ก็ได้ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรร
ทรัพยากรในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเรื่องการรับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับ
ฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การส่งข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูล
ในระบบเครือข่าย การส่งสัญญานเสียงไปออกลาโพง หรือจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจา ตามที่ซอฟต์แวร์
ประยุกต์ร้องขอ
ข้อ 1. Microsoft office เป็นชุดโปรแกรมสานักงาน พัฒนาโดยไมโครซอฟท์ซึ่งสามารถใช้งานได้ในระบบปฏิบัติการ
ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และแอปเปิล แม็คอินทอช ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศยังมีการส่งเสริมให้ใช้บริการผ่านระบบ
เครื่องแม่ข่าย (Server) และ บริการผ่านหน้าเว็บ (Web Based) ในรุ่นใหม่ๆ ของไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ เราจะเรียก
มันว่า ระบบสานักงาน (Office system) แทนแบบเก่าคือ ชุดโปรแกรมสานักงาน (Office Suite) ซึ่งการเรียกว่า
ระบบสานักงานจะรวมการทางานกับเครื่องแม่ข่ายเอาไว้ด้วย ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2006 ที่ผ่านมา
ไมโครซอฟท์ได้ประกาศเรื่อง "ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ 2007" ที่จะเปลี่ยนแปลงหน้าจอการใช้งาน (User Interface)
และ รูปแบบไฟล์แบบ XML เป็นหลัก รุ่นเสถียรล่าสุด คือไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ 2007 ซึ่งออกจาหน่ายในวันที่ 30
มกราคม พ.ศ. 2550[1]
)
3. PDA (เป็นอุปกรณ์ที่สามารถพกพานาติดตัวได้ เริ่มพัฒนามาจากเครื่องออกาไนเซอร์มาก่อน ซึ่งพีดีเอที่ใช้
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์โมเบิลมักถูกเรียกว่าพ็อคเกตพีซี) WWW (เครือข่ายที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก) ไม่ใช่
ระบบปฏิบัติการ
4.BIOS (ระบบหน่วยรับเข้า/ส่งออกพื้นฐาน ) RAM (เป็นหน่วยความจาหลัก ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์)
2.ความละเอียดของจอภาพสามารถบอกได้ด้วยปัจจัยในข้อใด (O-Net ปี 51 ข้อ 14)
1. CRT 2. Dot pitch 3. Refresh rate 4. Color quality
เฉลย 2 Dot pitch จุดเล็กที่สุดที่สามารถแสดงบนจอภาพได้ วัดขนาดกันเป็นมิลลิเมตร โดย
ปกติ จะมีขนาด .41 มม. .31 ม.ม. และ .28 ม.ม. ยิ่งจุดเล็กมากเท่าใด ภาพที่ปรากฏบนจอภาพก็
จะยิ่งคมชัดและละเอียดขึ้นเท่านั้น นอกจากนั้น ยังใช้วัดระยะห่างระหว่างจุดสองจุดที่เป็นคน
ละสีในสีเดียวกันด้วย (สีบางสีที่เห็นบนจอภาพเกิดจากการผสมกันระหว่างจุดที่มีสีต่างกัน
เช่น สีเทา เกิดจากการผสมกันของสีดา และขาว)
ข้อ 1. CRT (หลอดสูญญากาศพิเศษที่ภาพสามารถสร้าง เมื่อลาแสงอิเลคตรอนชนกับผิว
phosphorescent)
3. Refresh rate (จานวนครั้งรวมของการภาพในการสร้างภาพใหม่ หรือ refresh ต่อวินาที)
4. Color quality คุณภาพของสี
3.ขณะใช้งานอินเทอร์เน็ต ปรากฏหน้าต่างที่ไม่ต้องการ ออกมารบกวนอยู่เสมอและ
ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ช้าลง เหตุการณ์นี้เกิดจากโปรแกรมใด (O-Net ปี 51
ข้อ 32)
1. เวิร์ม (worm) 2. ไวรัส (virus) 3. สปายแวร์ (spyware) 4. ม้าโทรจัน (trojan
horse)
เฉลย 3 สปายแวร์ โปรแกรมเล็ก ๆ ที่ถูกเขียนขึ้นมาสอดส่อง (สปาย) การใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ของ
คุณ อาจจะเพื่อโฆษณาสินค้าต่าง ๆ สปายแวร์บางตัวก็สร้างความราคาญเพราะจะเปิดหน้าต่างโฆษณา
บ่อย ๆ แต่บางตัวร้ายกว่านั้น คือ ทาให้คุณใช้อินเตอร์เน็ทไม่ได้เลย ไม่ว่าจะไปเวบไหน ก็จะโชว์หน้าต่าง
โฆษณา หรืออาจจะเป็นเวบประเภทลามกอนาจาร พร้อมกับป๊อปอัพหน้าต่างเป็นสิบ ๆ หน้าต่าง
ข้อ 1. เวิร์ม มีลักษณะและพฤติกรรมคัดลอกตัวเองและสามารถส่งตัวเองไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ
ได้อย่างอิสระ โดยอาศัยอีเมล์หรือช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ มักจะไม่แพร่เชื้อไปติดไฟล์อื่น สิ่งที่มันทา
คือมักจะสร้างความเสียหายให้กับระบบเครือข่าย และเหมือนจะสร้างความเสียหายให้กับระบบเศรษฐกิจ
มากที่สุด เวิร์มยังแบ่งออกเป็นชนิดต่างๆได้ดังต่อไปนี้
2.ไวรัส เรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคาเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่
มีชุดคาสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยชน์
ทางการทางานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา
4. ม้าโทรจัน เป็นมัลแวร์อีกชนิดที่พบเห็นการแพร่ระบาดได้ทั่วไป มีลักษณะและพฤติกรรมไม่แพร่เชื้อ
ไปติดไฟล์อื่นๆ ไม่สามารถส่งตัวเองไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆได้ ต้องอาศัยการหลอกผู้ใช้ให้ดาวน์
โหลดเอาไปไว้ในเครื่องหรือด้วยวิธีอื่นๆ สิ่งที่มันทาคือเปิดโอกาสให้ผู้ไม่ประสงค์ดีเข้ามาควบคุมเครื่องที่
ติดเชื้อจากระยะไกล ซึ่งจะทาอะไรก็ได้ หรือมีจุดประสงค์เพื่อล้วงเอาความลับต่างๆ
4.ธนาคารที่มีสาขาทั่วประเทศ ต้องจัดเก็บเอกสารแบบใด (O-Net ปี 51 ข้อ 1)
1.ตามตัวเลข 2.ตามตัวอักษร 3.ตามภูมิศาสตร์ 4.ตามชื่อสาขา
เฉลย 3 ตามภูมิศาสตร์ เป็นระบบการจัดเก็บเอกสารที่เรียงแฟ้มตามชื่อหน่วยงาน ซึ่งพิจารณาว่าอยู่ในภูมิภาค
เช่น เขต จังหวัด อาเภอ ตาบล ถนน ฯลฯ ซึ่งลักษณะการจัดเก็บเอกสารจะต้องใช้ร่วมกับวิธีการจัดเก็บแบบอื่น
ด้วย กล่าวคือ เมื่อจัดเก็บเอกสารตามชื่อตาบลที่ตั้งแล้ว ก็จะต้องเรียงตามตัวอักษรอีกด้วย ธุรกิจที่มีสาขาประจา
อยู่ตามภูมิภาคต่างๆใช้วิธีการจัดเก็บเอกสารตามลักษณะภูมิศาสตร์จะเหมาะสมที่สุด กรณีตัวอย่างบริษัทที่มี
ตัวแทนขายอยู่ในจังหวัดต่างๆ แต่ละจังหวัดก็มีตัวแทนขายหลายราย อาจจะเก็บเรื่องของตัวแทนขายหลายๆ ราย
นั้นภายใต้ดัชนีชื่อจังหวัดเดียวกัน แล้วจัดเอกสารของตัวแทนแต่ละรายนั้นไว้ในแฟ้มเดียวกัน
ข้อ 1. ตามตัวเลข เป็นระบบการจัดเก็บเอกสารที่เรียงแฟ้มตามตัวเลข หรือรหัสของหมดหมู่ แฟ้ม เนื่องจาก
เอกสารบางอย่างไม่เหมาะสมที่จะจัดเก็บตาม 2 วิธี
ข้างต้น การใช้รหัสตัวเลขกากับนั้น พนักงานจัดเก็บเอกสารต้องคิดรหัสตัวเลขกากับที่เป็นที่เข้าใจ
กันทุกฝ่าย ธุรกิจบางอย่างบางประเภท ควรใช้การเก็บเอกสารตามตัวเลข เนื่องจากต้องการรักษา
ความปลอดภัย และเสถียรภาพของธุรกิจ เช่น สานักงานทนายความ บริษัทประกันภัย
บริษัทโฆษณา สานักงานวิศวกร ฯลฯ การจัดเก็บเอกสารตามตัวเลข จะต้องมีการจัดเรียงตามลาดับก่อนหลัง
เช่นเดียวกัน
2. ตามตัวอักษร เป็นการจัดเรียงแฟ้มเอกสารและนาเอกสารเข้าแฟ้ม เรียงตามตัวอักษรโดยใช้อักษรตัวหน้า
เป็นหลักนา แล้วถือเอาอักษร 2ตัวหลังเป็นหลักรองลงมา การเรียงลาดับตัวอักษรนี้ เป็นวิธีที่จัดและเข้าใจได้ง่าย
กว่าวิธีอื่นๆ ดังเช่น สมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ มีการจัดเรียงรายชื่อตามลาดับตัวอักษร ในพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถานก็ได้ใช้การเรียงตามตัวอักษรเช่นเดียวกันวิธีการจัดเก็บเอกสารตามตัวอักษรนี้หมายถึงระบบ
การจัดเก็บเอกสารที่เรียงแฟ้มตามลาดับตัวอักษรไทยหรืออังกฤษของชื่อคนหรือชื่อหน่วยงาน แต่ทั้งนี้ต้อง
คานึงถึงหลักพจนานุกรม และการแบ่งหน่วยดัชนี หมวดการจัดเก็บเอกสารวิธีรที่พยัญชนะต้นของหน่วยดัชนี
หน่วยที่ 1 ในแฟ้มหนึ่งๆ จะมีเอกสารของคนๆ เดียวหรือหน่วยงานเดียว แต่มีหลายเรื่อง ถ้าเลือกใช้วิธีการจัดเก็บ
เอกสารตามตัวอักษร ชื่อแฟ้ม บัตรนา บัตรดัชนี บัตรอ้างอิง ก็จะต้องใช้ระบบเรียงตามตัวอักษรเหมือนกันหมด
และหน้าตู้เก็บเอกสารของแต่ละลิ้นชักจะต้องมีช่องใส่บัตรแนะนา ซึ่งจะต้องใช้ตัวอักษรอย่างเดียวกัน
5.กระบวนงานในข้อใดเกิดขึ้นเป็นสิ่งแรกเมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ (O-Net ปี 51
ข้อ 9)
1. เช็คสถานะของฮาร์ดแวร์
2. โหลดระบบปฏิบัติการเข้าสู่หน่วยความจาหลัก
3. หน่วยประมวลผลกลางประมวลชุดคาสั่งในหน่วยความจาหลักแบบแก้ไขได้ (RAM)
4. หน่วยประมวลผลกลางประมวลชุดคาสั่งในหน่วยความจาหลักแบบอ่านได้อย่าง
เดียว (ROM)
เฉลย 1
1. พาวเวอร์ซัพพลายส่งสัญญาณไปให้ซีพียูเริ่มทางาน ในคอมพิวเตอร์จะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า พาวเวอร์
ซัพพลาย ( power supply ) ทาหน้าที่จ่ายพลังงานไฟฟ้าไปให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดย
จะเริ่มต้นทางานทันทีเมื่อเรากดปุ่มเปิด ( Power ON ) และเมื่อเริ่มทางานก็จะมีสัญญาณส่งไปบอกซีพียู
ด้วย (เรียกว่าสัญญาณ Power Good )
2. ซีพียูจะสั่งให้ไบออสทางาน ทันทีที่มีกระแสไฟฟ้าจ่ายมายังคอมพิวเตอร์และมีสัญญาณให้เริ่มทางาน
หน่วยประมวลกลางหรือซีพียูจะพยายามเข้าถึงข้อมูลที่อยู่ในไบออสเพื่อทางานตามชุดคาสั่งที่เก็บไว้โดย
ทันที
3. เริ่มทางานตามกระบวนการที่เรียกว่า POST เพื่อเช็คอุปกรณ์ต่าง ๆ กระบวนการ POST (power on self
test) เป็นโปรแกรมส่วนหนึ่งในไบออสซึ่งทาหน้าที่ตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ที่ติดตั้งอยู่ใน
เครื่อง ไม่ว่าจะเป็นเมนบอร์ด , RAM , ซีพียู รวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ เช่น คีย์บอร์ดหรือเมาส์ ซึ่งเรา
สามารถสังเกตผลการตรวจสอบนี้ได้ทั้งจากข้อความที่ปรากฏบนจอภาพในระหว่างบู๊ต และจากเสียง
สัญญาณที่คอมพิวเตอร์ส่งออกมา (ซึ่งเป็นประโยชน์ในการที่แสดงผลทางจอภาพไม่ขึ้น) โดยปกติถ้าการ
ตรวจสอบเรียบร้อยและไม่มีปัญหาใด ๆ ก็จะส่งสัญญาณปี๊บสั้น ๆ 1 ครั้ง แต่หากมีอาการผิดปกติจะส่ง
สัญญาณที่มีรหัสเสียงสั้นและยาวต่างกันแล้วแต่ข้อผิดพลาด (error ) ที่พบ เช่น ถ้าเป็นข้อผิดพลาด
เกี่ยวกับการ์ดแสดงผลจะส่งสัญญาณเป็นเสียงยาว 1 ครั้ง สั้น 3 ครั้ง ทั้งนี้ไบออสแต่ละรุ่นแต่ละยี่ห้อก็จะมี
รหัสสัญญาณที่แตกต่างกัน
4. ผลลัพธ์จากกระบวนการ POST จะถูกนาไปเปรียบเทียบกับข้อมูลที่อยู่ในซีมอส ข้อมูลของอุปกรณ์ต่าง
ๆ ที่ติดตั้งแล้วในเครื่องหรือค่า configuration จะถูกเก็บอยู่ในหน่วยความจาที่เรียกว่า ซีมอส (CMOS –
complementary metal oxide semiconductor ) ซึ่งใช้กระแสไฟฟ้าปริมาณเล็กน้อยในการหล่อเลี้ยง โดยใช้
แบตเตอรี่ตัวเล็ก ๆ บนเมนบอร์ด เพื่อให้เครื่องสามารถจาค่าต่าง ๆ ไว้ได้ ผลลัพธ์จากกระบวนการ POST
5. ไบออสจะอ่านโปรแกรมสาหรับบู๊ตจากฟล็อปปี้ดิสก์ ซีดีหรือฮาร์ดดิสก์ ขั้นถัดไปไบออสจะเข้าไปอ่าน
โปรแกรมสาหรับการบู๊ตระบบปฏิบัติการจากเซกเตอร์แรกของฮาร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ดิสก์ หรือซีดีรอม โดย
ที่ไบออสจะมีความสามารถในการติดต่อกับอุปกรณ์เหล่านั้นได้
6. โปรแกรมส่วนสาคัญจะถูกถ่ายค่าลงหน่วยความจา RAM เมื่อไบออสรู้จักระบบไฟล์ของไดรว์ที่บู๊ตได้
แล้วก็จะไปอ่านโปรแกรมส่วนสาคัญของระบบปฏิบัติการที่เรียกว่าเคอร์เนล ( kernel ) เข้ามาเก็บใน
หน่วยความจาหลักหรือ RAM ของคอมพิวเตอร์เสียก่อน
7. ระบบปฏิบัติการในหน่วยความจาเข้าควบคุมเครื่องและแสดงผลลัพธ์ เคอร์เนลที่ถูกถ่ายโอนลง
หน่วยความจานั้นจะเข้าไปควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์โดยรวมและโหลดค่า configuration ต่าง ๆ
พร้อมทั้งแสดงผลออกมาที่เดสก์ท็อปของผู้ใช้เพื่อรอรับคาสั่งการทางานต่อไป ซึ่งปัจจุบันใน
ระบบปฏิบัติการใหม่ ๆ จะมีส่วนประสานงานกับผู้ใช้แบบกราฟิกหรือ GUI เพื่อสนับสนุนให้การใช้งานกับ
คอมพิวเตอร์ง่ายขึ้นกว่าเดิมอีก ประเภทของการบู๊ตเครื่อง ดังที่อธิบายแล้วว่าการบู๊ตเครื่อง คือ ขั้นตอนที่
คอมพิวเตอร์เริ่มทาการโหลดระบบปฏิบัติการเข้าไปไว้ในหน่วยความจา RAM ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น2
ลักษณะด้วยกันคือ
โคลด์บู๊ต ( Cold boot ) เป็นการบู๊ตเครื่องที่อาศัยการทางานของฮาร์ดแวร์ โดยการกดปุ่มเปิดเครื่อง ( Power
On ) แล้วเข้าสู่กระบวนการทางานโดยทันที ปุ่มเปิดเครื่องนี้จะอยู่บนตัวเคสของคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่
ปิดเปิดการทางานโดยรวมของคอมพิวเตอร์ทั้งหมดเหมือนกับสวิทช์ของอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป
วอร์มบู๊ต ( Warm boot ) เป็นการบู๊ตเครื่องโดยทาให้เกิดกระบวนการบู๊ตใหม่หรือที่เรียกว่า การรีสตาร์ท
เครื่อง ( restart ) โดยมากจะใช้ในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานต่อไปได้ (เครื่องแฮงค์) ซึ่ง
จาเป็นต้องมีการบู๊ตเครื่องกันใหม่ สามารถทาได้สามวิธีคือ
กดปุ่ม Reset บนตัวเครื่อง (ถ้ามี)
กดปุ่ม Ctrl + Alt + Delete จากแป้นพิมพ์ แล้วเลือกคาสั่ง restart จากระบบปฏิบัติการที่ใช้
สั่งรีสตาร์ทเครื่องจากเมนูบนระบบปฏิบัติการ

More Related Content

What's hot

เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลchanoot29
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
คำศัพท์ประกอบหน่วยที่ 4
คำศัพท์ประกอบหน่วยที่ 4คำศัพท์ประกอบหน่วยที่ 4
คำศัพท์ประกอบหน่วยที่ 4ronaldonnn
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลABELE Snvip
 

What's hot (16)

เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
งานทำ Blog บทที่ 12
งานทำ Blog บทที่ 12งานทำ Blog บทที่ 12
งานทำ Blog บทที่ 12
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
คำศัพท์ประกอบหน่วยที่ 4
คำศัพท์ประกอบหน่วยที่ 4คำศัพท์ประกอบหน่วยที่ 4
คำศัพท์ประกอบหน่วยที่ 4
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 

Viewers also liked

รู้เท่าทันไอที
รู้เท่าทันไอทีรู้เท่าทันไอที
รู้เท่าทันไอทีPrachyanun Nilsook
 
ไอที
ไอทีไอที
ไอทีpatcha01
 
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศChapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศAkkadate.Com
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงานMeaw Sukee
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelthanakornmaimai
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKat Nattawan
 

Viewers also liked (13)

รู้เท่าทันไอที
รู้เท่าทันไอทีรู้เท่าทันไอที
รู้เท่าทันไอที
 
Data information1
Data information1Data information1
Data information1
 
ไอที
ไอทีไอที
ไอที
 
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศChapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 

Similar to Onet-work4-44

Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6doublenutt
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comlovelovejung
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comLuckfon Fonew
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comlovelovejung
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6ratiporn555
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศNpatsa Pany
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7paween
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุลmiwmilk
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการvgame_emagv
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการokbeer
 
Random 110909052835-phpapp01
Random 110909052835-phpapp01Random 110909052835-phpapp01
Random 110909052835-phpapp01nantakit
 

Similar to Onet-work4-44 (20)

Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
Work3 14
Work3 14Work3 14
Work3 14
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
Random 110909052835-phpapp01
Random 110909052835-phpapp01Random 110909052835-phpapp01
Random 110909052835-phpapp01
 

Onet-work4-44

  • 2. 1.ข้อใดเป็นระบบปฏิบัติการทั้งหมด (O-Net ปี 51 ข้อ 13) 1. Unix , Mac OS , Microsoft Office 2. Linux , Windows , Mac OS , Symbian 3. PDA , WWW , Linux , Windows 4. BIOS , Symbian , IPX , RAM เฉลย 2 ระบบปฏิบัติการ เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์ ทั่วไป บางครั้งเราอาจะเห็นระบบปฏิบัติการเป็นเฟิร์มแวร์ก็ได้ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรร ทรัพยากรในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเรื่องการรับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับ ฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การส่งข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูล ในระบบเครือข่าย การส่งสัญญานเสียงไปออกลาโพง หรือจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจา ตามที่ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ร้องขอ ข้อ 1. Microsoft office เป็นชุดโปรแกรมสานักงาน พัฒนาโดยไมโครซอฟท์ซึ่งสามารถใช้งานได้ในระบบปฏิบัติการ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และแอปเปิล แม็คอินทอช ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศยังมีการส่งเสริมให้ใช้บริการผ่านระบบ เครื่องแม่ข่าย (Server) และ บริการผ่านหน้าเว็บ (Web Based) ในรุ่นใหม่ๆ ของไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ เราจะเรียก มันว่า ระบบสานักงาน (Office system) แทนแบบเก่าคือ ชุดโปรแกรมสานักงาน (Office Suite) ซึ่งการเรียกว่า ระบบสานักงานจะรวมการทางานกับเครื่องแม่ข่ายเอาไว้ด้วย ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2006 ที่ผ่านมา ไมโครซอฟท์ได้ประกาศเรื่อง "ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ 2007" ที่จะเปลี่ยนแปลงหน้าจอการใช้งาน (User Interface) และ รูปแบบไฟล์แบบ XML เป็นหลัก รุ่นเสถียรล่าสุด คือไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ 2007 ซึ่งออกจาหน่ายในวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2550[1] ) 3. PDA (เป็นอุปกรณ์ที่สามารถพกพานาติดตัวได้ เริ่มพัฒนามาจากเครื่องออกาไนเซอร์มาก่อน ซึ่งพีดีเอที่ใช้ ระบบปฏิบัติการวินโดวส์โมเบิลมักถูกเรียกว่าพ็อคเกตพีซี) WWW (เครือข่ายที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก) ไม่ใช่ ระบบปฏิบัติการ 4.BIOS (ระบบหน่วยรับเข้า/ส่งออกพื้นฐาน ) RAM (เป็นหน่วยความจาหลัก ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์)
  • 3. 2.ความละเอียดของจอภาพสามารถบอกได้ด้วยปัจจัยในข้อใด (O-Net ปี 51 ข้อ 14) 1. CRT 2. Dot pitch 3. Refresh rate 4. Color quality เฉลย 2 Dot pitch จุดเล็กที่สุดที่สามารถแสดงบนจอภาพได้ วัดขนาดกันเป็นมิลลิเมตร โดย ปกติ จะมีขนาด .41 มม. .31 ม.ม. และ .28 ม.ม. ยิ่งจุดเล็กมากเท่าใด ภาพที่ปรากฏบนจอภาพก็ จะยิ่งคมชัดและละเอียดขึ้นเท่านั้น นอกจากนั้น ยังใช้วัดระยะห่างระหว่างจุดสองจุดที่เป็นคน ละสีในสีเดียวกันด้วย (สีบางสีที่เห็นบนจอภาพเกิดจากการผสมกันระหว่างจุดที่มีสีต่างกัน เช่น สีเทา เกิดจากการผสมกันของสีดา และขาว) ข้อ 1. CRT (หลอดสูญญากาศพิเศษที่ภาพสามารถสร้าง เมื่อลาแสงอิเลคตรอนชนกับผิว phosphorescent) 3. Refresh rate (จานวนครั้งรวมของการภาพในการสร้างภาพใหม่ หรือ refresh ต่อวินาที) 4. Color quality คุณภาพของสี
  • 4. 3.ขณะใช้งานอินเทอร์เน็ต ปรากฏหน้าต่างที่ไม่ต้องการ ออกมารบกวนอยู่เสมอและ ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ช้าลง เหตุการณ์นี้เกิดจากโปรแกรมใด (O-Net ปี 51 ข้อ 32) 1. เวิร์ม (worm) 2. ไวรัส (virus) 3. สปายแวร์ (spyware) 4. ม้าโทรจัน (trojan horse) เฉลย 3 สปายแวร์ โปรแกรมเล็ก ๆ ที่ถูกเขียนขึ้นมาสอดส่อง (สปาย) การใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ของ คุณ อาจจะเพื่อโฆษณาสินค้าต่าง ๆ สปายแวร์บางตัวก็สร้างความราคาญเพราะจะเปิดหน้าต่างโฆษณา บ่อย ๆ แต่บางตัวร้ายกว่านั้น คือ ทาให้คุณใช้อินเตอร์เน็ทไม่ได้เลย ไม่ว่าจะไปเวบไหน ก็จะโชว์หน้าต่าง โฆษณา หรืออาจจะเป็นเวบประเภทลามกอนาจาร พร้อมกับป๊อปอัพหน้าต่างเป็นสิบ ๆ หน้าต่าง ข้อ 1. เวิร์ม มีลักษณะและพฤติกรรมคัดลอกตัวเองและสามารถส่งตัวเองไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ได้อย่างอิสระ โดยอาศัยอีเมล์หรือช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ มักจะไม่แพร่เชื้อไปติดไฟล์อื่น สิ่งที่มันทา คือมักจะสร้างความเสียหายให้กับระบบเครือข่าย และเหมือนจะสร้างความเสียหายให้กับระบบเศรษฐกิจ มากที่สุด เวิร์มยังแบ่งออกเป็นชนิดต่างๆได้ดังต่อไปนี้ 2.ไวรัส เรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคาเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ มีชุดคาสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยชน์ ทางการทางานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา 4. ม้าโทรจัน เป็นมัลแวร์อีกชนิดที่พบเห็นการแพร่ระบาดได้ทั่วไป มีลักษณะและพฤติกรรมไม่แพร่เชื้อ ไปติดไฟล์อื่นๆ ไม่สามารถส่งตัวเองไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆได้ ต้องอาศัยการหลอกผู้ใช้ให้ดาวน์ โหลดเอาไปไว้ในเครื่องหรือด้วยวิธีอื่นๆ สิ่งที่มันทาคือเปิดโอกาสให้ผู้ไม่ประสงค์ดีเข้ามาควบคุมเครื่องที่ ติดเชื้อจากระยะไกล ซึ่งจะทาอะไรก็ได้ หรือมีจุดประสงค์เพื่อล้วงเอาความลับต่างๆ
  • 5. 4.ธนาคารที่มีสาขาทั่วประเทศ ต้องจัดเก็บเอกสารแบบใด (O-Net ปี 51 ข้อ 1) 1.ตามตัวเลข 2.ตามตัวอักษร 3.ตามภูมิศาสตร์ 4.ตามชื่อสาขา เฉลย 3 ตามภูมิศาสตร์ เป็นระบบการจัดเก็บเอกสารที่เรียงแฟ้มตามชื่อหน่วยงาน ซึ่งพิจารณาว่าอยู่ในภูมิภาค เช่น เขต จังหวัด อาเภอ ตาบล ถนน ฯลฯ ซึ่งลักษณะการจัดเก็บเอกสารจะต้องใช้ร่วมกับวิธีการจัดเก็บแบบอื่น ด้วย กล่าวคือ เมื่อจัดเก็บเอกสารตามชื่อตาบลที่ตั้งแล้ว ก็จะต้องเรียงตามตัวอักษรอีกด้วย ธุรกิจที่มีสาขาประจา อยู่ตามภูมิภาคต่างๆใช้วิธีการจัดเก็บเอกสารตามลักษณะภูมิศาสตร์จะเหมาะสมที่สุด กรณีตัวอย่างบริษัทที่มี ตัวแทนขายอยู่ในจังหวัดต่างๆ แต่ละจังหวัดก็มีตัวแทนขายหลายราย อาจจะเก็บเรื่องของตัวแทนขายหลายๆ ราย นั้นภายใต้ดัชนีชื่อจังหวัดเดียวกัน แล้วจัดเอกสารของตัวแทนแต่ละรายนั้นไว้ในแฟ้มเดียวกัน ข้อ 1. ตามตัวเลข เป็นระบบการจัดเก็บเอกสารที่เรียงแฟ้มตามตัวเลข หรือรหัสของหมดหมู่ แฟ้ม เนื่องจาก เอกสารบางอย่างไม่เหมาะสมที่จะจัดเก็บตาม 2 วิธี ข้างต้น การใช้รหัสตัวเลขกากับนั้น พนักงานจัดเก็บเอกสารต้องคิดรหัสตัวเลขกากับที่เป็นที่เข้าใจ กันทุกฝ่าย ธุรกิจบางอย่างบางประเภท ควรใช้การเก็บเอกสารตามตัวเลข เนื่องจากต้องการรักษา ความปลอดภัย และเสถียรภาพของธุรกิจ เช่น สานักงานทนายความ บริษัทประกันภัย บริษัทโฆษณา สานักงานวิศวกร ฯลฯ การจัดเก็บเอกสารตามตัวเลข จะต้องมีการจัดเรียงตามลาดับก่อนหลัง เช่นเดียวกัน 2. ตามตัวอักษร เป็นการจัดเรียงแฟ้มเอกสารและนาเอกสารเข้าแฟ้ม เรียงตามตัวอักษรโดยใช้อักษรตัวหน้า เป็นหลักนา แล้วถือเอาอักษร 2ตัวหลังเป็นหลักรองลงมา การเรียงลาดับตัวอักษรนี้ เป็นวิธีที่จัดและเข้าใจได้ง่าย กว่าวิธีอื่นๆ ดังเช่น สมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ มีการจัดเรียงรายชื่อตามลาดับตัวอักษร ในพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถานก็ได้ใช้การเรียงตามตัวอักษรเช่นเดียวกันวิธีการจัดเก็บเอกสารตามตัวอักษรนี้หมายถึงระบบ การจัดเก็บเอกสารที่เรียงแฟ้มตามลาดับตัวอักษรไทยหรืออังกฤษของชื่อคนหรือชื่อหน่วยงาน แต่ทั้งนี้ต้อง คานึงถึงหลักพจนานุกรม และการแบ่งหน่วยดัชนี หมวดการจัดเก็บเอกสารวิธีรที่พยัญชนะต้นของหน่วยดัชนี หน่วยที่ 1 ในแฟ้มหนึ่งๆ จะมีเอกสารของคนๆ เดียวหรือหน่วยงานเดียว แต่มีหลายเรื่อง ถ้าเลือกใช้วิธีการจัดเก็บ เอกสารตามตัวอักษร ชื่อแฟ้ม บัตรนา บัตรดัชนี บัตรอ้างอิง ก็จะต้องใช้ระบบเรียงตามตัวอักษรเหมือนกันหมด และหน้าตู้เก็บเอกสารของแต่ละลิ้นชักจะต้องมีช่องใส่บัตรแนะนา ซึ่งจะต้องใช้ตัวอักษรอย่างเดียวกัน
  • 6. 5.กระบวนงานในข้อใดเกิดขึ้นเป็นสิ่งแรกเมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ (O-Net ปี 51 ข้อ 9) 1. เช็คสถานะของฮาร์ดแวร์ 2. โหลดระบบปฏิบัติการเข้าสู่หน่วยความจาหลัก 3. หน่วยประมวลผลกลางประมวลชุดคาสั่งในหน่วยความจาหลักแบบแก้ไขได้ (RAM) 4. หน่วยประมวลผลกลางประมวลชุดคาสั่งในหน่วยความจาหลักแบบอ่านได้อย่าง เดียว (ROM) เฉลย 1 1. พาวเวอร์ซัพพลายส่งสัญญาณไปให้ซีพียูเริ่มทางาน ในคอมพิวเตอร์จะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า พาวเวอร์ ซัพพลาย ( power supply ) ทาหน้าที่จ่ายพลังงานไฟฟ้าไปให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดย จะเริ่มต้นทางานทันทีเมื่อเรากดปุ่มเปิด ( Power ON ) และเมื่อเริ่มทางานก็จะมีสัญญาณส่งไปบอกซีพียู ด้วย (เรียกว่าสัญญาณ Power Good ) 2. ซีพียูจะสั่งให้ไบออสทางาน ทันทีที่มีกระแสไฟฟ้าจ่ายมายังคอมพิวเตอร์และมีสัญญาณให้เริ่มทางาน หน่วยประมวลกลางหรือซีพียูจะพยายามเข้าถึงข้อมูลที่อยู่ในไบออสเพื่อทางานตามชุดคาสั่งที่เก็บไว้โดย ทันที 3. เริ่มทางานตามกระบวนการที่เรียกว่า POST เพื่อเช็คอุปกรณ์ต่าง ๆ กระบวนการ POST (power on self test) เป็นโปรแกรมส่วนหนึ่งในไบออสซึ่งทาหน้าที่ตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ที่ติดตั้งอยู่ใน เครื่อง ไม่ว่าจะเป็นเมนบอร์ด , RAM , ซีพียู รวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ เช่น คีย์บอร์ดหรือเมาส์ ซึ่งเรา สามารถสังเกตผลการตรวจสอบนี้ได้ทั้งจากข้อความที่ปรากฏบนจอภาพในระหว่างบู๊ต และจากเสียง สัญญาณที่คอมพิวเตอร์ส่งออกมา (ซึ่งเป็นประโยชน์ในการที่แสดงผลทางจอภาพไม่ขึ้น) โดยปกติถ้าการ ตรวจสอบเรียบร้อยและไม่มีปัญหาใด ๆ ก็จะส่งสัญญาณปี๊บสั้น ๆ 1 ครั้ง แต่หากมีอาการผิดปกติจะส่ง สัญญาณที่มีรหัสเสียงสั้นและยาวต่างกันแล้วแต่ข้อผิดพลาด (error ) ที่พบ เช่น ถ้าเป็นข้อผิดพลาด เกี่ยวกับการ์ดแสดงผลจะส่งสัญญาณเป็นเสียงยาว 1 ครั้ง สั้น 3 ครั้ง ทั้งนี้ไบออสแต่ละรุ่นแต่ละยี่ห้อก็จะมี รหัสสัญญาณที่แตกต่างกัน
  • 7. 4. ผลลัพธ์จากกระบวนการ POST จะถูกนาไปเปรียบเทียบกับข้อมูลที่อยู่ในซีมอส ข้อมูลของอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ติดตั้งแล้วในเครื่องหรือค่า configuration จะถูกเก็บอยู่ในหน่วยความจาที่เรียกว่า ซีมอส (CMOS – complementary metal oxide semiconductor ) ซึ่งใช้กระแสไฟฟ้าปริมาณเล็กน้อยในการหล่อเลี้ยง โดยใช้ แบตเตอรี่ตัวเล็ก ๆ บนเมนบอร์ด เพื่อให้เครื่องสามารถจาค่าต่าง ๆ ไว้ได้ ผลลัพธ์จากกระบวนการ POST 5. ไบออสจะอ่านโปรแกรมสาหรับบู๊ตจากฟล็อปปี้ดิสก์ ซีดีหรือฮาร์ดดิสก์ ขั้นถัดไปไบออสจะเข้าไปอ่าน โปรแกรมสาหรับการบู๊ตระบบปฏิบัติการจากเซกเตอร์แรกของฮาร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ดิสก์ หรือซีดีรอม โดย ที่ไบออสจะมีความสามารถในการติดต่อกับอุปกรณ์เหล่านั้นได้ 6. โปรแกรมส่วนสาคัญจะถูกถ่ายค่าลงหน่วยความจา RAM เมื่อไบออสรู้จักระบบไฟล์ของไดรว์ที่บู๊ตได้ แล้วก็จะไปอ่านโปรแกรมส่วนสาคัญของระบบปฏิบัติการที่เรียกว่าเคอร์เนล ( kernel ) เข้ามาเก็บใน หน่วยความจาหลักหรือ RAM ของคอมพิวเตอร์เสียก่อน 7. ระบบปฏิบัติการในหน่วยความจาเข้าควบคุมเครื่องและแสดงผลลัพธ์ เคอร์เนลที่ถูกถ่ายโอนลง หน่วยความจานั้นจะเข้าไปควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์โดยรวมและโหลดค่า configuration ต่าง ๆ พร้อมทั้งแสดงผลออกมาที่เดสก์ท็อปของผู้ใช้เพื่อรอรับคาสั่งการทางานต่อไป ซึ่งปัจจุบันใน ระบบปฏิบัติการใหม่ ๆ จะมีส่วนประสานงานกับผู้ใช้แบบกราฟิกหรือ GUI เพื่อสนับสนุนให้การใช้งานกับ คอมพิวเตอร์ง่ายขึ้นกว่าเดิมอีก ประเภทของการบู๊ตเครื่อง ดังที่อธิบายแล้วว่าการบู๊ตเครื่อง คือ ขั้นตอนที่ คอมพิวเตอร์เริ่มทาการโหลดระบบปฏิบัติการเข้าไปไว้ในหน่วยความจา RAM ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น2 ลักษณะด้วยกันคือ โคลด์บู๊ต ( Cold boot ) เป็นการบู๊ตเครื่องที่อาศัยการทางานของฮาร์ดแวร์ โดยการกดปุ่มเปิดเครื่อง ( Power On ) แล้วเข้าสู่กระบวนการทางานโดยทันที ปุ่มเปิดเครื่องนี้จะอยู่บนตัวเคสของคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่ ปิดเปิดการทางานโดยรวมของคอมพิวเตอร์ทั้งหมดเหมือนกับสวิทช์ของอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป วอร์มบู๊ต ( Warm boot ) เป็นการบู๊ตเครื่องโดยทาให้เกิดกระบวนการบู๊ตใหม่หรือที่เรียกว่า การรีสตาร์ท เครื่อง ( restart ) โดยมากจะใช้ในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานต่อไปได้ (เครื่องแฮงค์) ซึ่ง จาเป็นต้องมีการบู๊ตเครื่องกันใหม่ สามารถทาได้สามวิธีคือ กดปุ่ม Reset บนตัวเครื่อง (ถ้ามี) กดปุ่ม Ctrl + Alt + Delete จากแป้นพิมพ์ แล้วเลือกคาสั่ง restart จากระบบปฏิบัติการที่ใช้ สั่งรีสตาร์ทเครื่องจากเมนูบนระบบปฏิบัติการ