SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
ประเภทของแฟ้ มข้อมูล
การสร้างแฟ้ มข้อมูลในปัจจุบันนี้จะมีการกาหนดชื่อ
แฟ้ มข้อมูลโดยมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนชื่อ และส่วนนามสกุล
โดยส่วนชื่อจะเป็นคาภาษาอังกฤษ หรือภาษาใดๆ ที่ระบบปฏิบัติการ
เข้าใจได้ ส่วนนามสกุลจะเป็นส่วนที่บอกชนิดของแฟ้ มข้อมูลนั้นๆ
Executable Exe, Com, Bin
Object Obj, O ,
Source Code C, P, Pas, 177, Asm, A Source Code
Batch Bat, Sh
Text Txt, Doc
Word Processor Wp, Tex, Rrf
Library Lib, A Library Routine
Print or View Ps, Dvi, Gif, Jpg ASCII 2
Archive Arc, Zip, Rar
การตั้งชื่อแฟ้ มข้อมูล จะเขียนส่วนของชื่อ และนามสกุลต่อกัน
โดยมีเครื่องหมายจุด (.) เป็น ตัวคั่น เช่น EXAMPLE.DOC
คุณลักษณะของแฟ้ มข้อมูล (File Attributes)
1.ชื่อ (Name)
ชื่อแฟ้ มข้อมูล คือ สัญลักษณ์ (สารสนเทศ) ที่เก็บไว้ในรูปแบบที่
สามารถอ่านได้
2.ชนิด (Type)
ส่วนนี้จาเป็นสาหรับระบบซึ่งสนับสนุนชนิดของข้อมูลหลาย ๆ ชนิด
3.ตาแหน่ง (Location)
เป็นตัวชี้ไปยังอุปกรณ์และตาแหน่งของแฟ้ มข้อมูลบนอุปกรณ์นั้น
4.ขนาด (Size)
ขนาดของแฟ้ มข้อมูลในปัจจุบัน (ไบต์ คา หรือบล็อก)
5.การป้ องกัน (Protection)
การควบคุมให้สามารถอ่าน เขียน หรือประมวลผลไฟล์นั้นๆ
6.เวลา วันที่ (Date, Time)
ข้อมูลเกี่ยวกับวันที่สร้างแฟ้ มข้อมูล วันที่แก้ไขครั้ง หรือปรับปรุง
สุดท้าย
7.สัญลักษณ์ของผู้ใช้ (User)
รายละเอียดของผู้ใช้งาน
การดาเนินการเกี่ยวกับแฟ้ มข้อมูล (File Operation)
การดาเนินการเกี่ยวกับแฟ้ มข้อมูล มีดังนี้
1.การสร้างแฟ้ มข้อมูล (Creating a File)
2.การเขียนแฟ้ มข้อมูล (Writing a File)
3.การอ่านแฟ้ มข้อมูล (Reading a File)
4.การย้ายตาแหน่งภายในแฟ้ มข้อมูล (Repositioning Within a File)
5.การลบแฟ้ มข้อมูล (Deleting a File)
6.การตัดแฟ้ มข้อมูลให้สั้นลง (Truncating a File)
นอกจากการดาเนินการทั้ง 6 ข้อนี้แล้ว ยังมีการทางานอย่างอื่นอีก เช่น การ
นาข้อมูลไปต่อท้าย (Append) การเปลี่ยนชื่อแฟ้ มข้อมูล (Rename) การ
คัดลอก (Copy) แฟ้ มข้อมูล เป็นต้น
การสร้างแฟ้ มข้อมูล (Creating a File)
การสร้างแฟ้ มข้อมูล มีขั้นตอนดังนี้
* หาที่ว่างในระบบแฟ้ มข้อมูลของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
* กาหนดช่องว่างของแฟ้ มข้อมูลใหม่ในไดเร็กทอรี่ ซึ่งไดเร็กทอรี่จะ
บันทึกชื่อแฟ้ มข้อมูล และตาแหน่งในระบบแฟ้ มข้อมูล
การเขียนแฟ้ มข้อมูล (Writing a File)
การเขียนข้อมูลหรือสารสนเทศลงในแฟ้ มข้อมูล ทาได้โดยระบบจะ
ค้นหาในไดเร็กทอรี่ เพื่อหตาแหน่งของแฟ้ มข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งระบบต้องเก็บ
Write Pointer เพื่อระบุตาแหน่งถัดไปที่จะต้องเขียนข้อมูล
การอ่านแฟ้ มข้อมูล (Reading a File)
การอ่านข้อมูลหรือสารสนเทศจากแฟ้ มข้อมูล ทาได้โดยระบบจะ
ค้นหาในไดเร็กทอรี่ เพื่อหา ตาแหน่งของแฟ้ มข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งระบบจะ
เก็บ Read Pointer เพื่อระบุตาแหน่งถัดไปที่ต้องอ่าน โดยทั่วๆ ไป
แฟ้ มข้อมูลที่ถูกอ่านหรือเขียน ระบบจะเก็บตัวชี้หรือพอยน์เตอร์ (Pointer)
ไว้ตัวเดียว ที่ใช้ทั้งอ่านและเขียนเรียกว่า “ตัวชี้ตาแหน่งปัจจุบัน” (Current-
file-position Pointer) เพื่อ ประหยัดพื้นที่ และลดความซ้าซ้อนของระบบ
การย้ายตาแหน่งภายในแฟ้ มข้อมูล (Repositioning Within a File)
เริ่มจากการค้นหาไดเร็กทอรี่ เพื่อหาตาแหน่งของแฟ้ มข้อมูลที่
ต้องการ และกาหนดค่าให้ตัว ชี้ตาแหน่งปัจจุบัน การย้ายตาแหน่งภายใน
แฟ้ มข้อมูลไม่จาเป็นต้องเกี่ยวข้องกับ I/O จริงๆ ซึ่งการ ทางานของ
แฟ้ มข้อมูลลักษณะนี้เรียกว่า การค้นหาข้อมูล
การลบแฟ้ มข้อมูล (Deleting a File)
เริ่มจากการค้นหาไดเร็กทอรี่ เพื่อหาตาแหน่งของแฟ้ มข้อมูลที่
ต้องการ เมื่อพบแล้วทาการ คืนที่ว่างทั้งหมดของแฟ้ มข้อมูลนั้นให้ระบบ
และลบรายละเอียดของแฟ้ มข้อมูลนั้นในไดเร็กทอรี่ด้วย
การตัดแฟ้ มข้อมูลให้สั้นลง (Truncating a File)
เมื่อผู้ใช้ต้องการให้แฟ้ มข้อมูลมีลักษณะเหมือนเดิม แต่ต้องการลบ
เนื้อหาของแฟ้ มข้อมูล แทนที่จะลบแฟ้ มข้อมูลและสร้างใหม่ สามารถใช้
ฟังก์ชั่นนี้เพื่อให้คุณลักษณะต่าง ๆ ของแฟ้ มข้อมูล ยังคงอยู่
โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล
แฟ้ มข้อมูลต้องมีโครงสร้างที่ระบบปฏิบัติการสามารถเข้าใจได้ เช่น
ในระบบแฟ้ มข้อมูลของ ระบบปฏิบัติการ UNIX เป็นการเรียงสาดับกันของ
บิตทีละ 8 บิต วิธีนี้มีความยืดหยุ่นมากที่สุด แต่มีระบบการทางานที่
สนับสนุนน้อย โดยมากแล้วแฟ้ มข้อมูลที่สร้างขึ้นโดยโปรแกรมสาเร็จรูปต่าง
ๆ จะมีการใส่รหัสของตัวเองลงไปด้วย เพื่อแปลแฟ้ มข้อมูลนาเข้าให้เป็น
โครงสร้างที่ต้องการ แต่อย่างน้อยระบบปฏิบัติการจะต้องรู้จักโครงสร้างของ
แฟ้ มข้อมูลแบบ Executable เพื่อที่จะสามารถประมวลผลได้
ซึ่งแฟ้ มข้อมูลทั่ว ๆ ไปมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือข้อมูลทั่ว ๆ ไปมี
ส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ
1.Resource Fork
เป็นส่วนที่เก็บสารสนเทศที่ผู้ใช้สนใจ เช่น ตัวสลากบนปุ่มที่แสดงโดย
โปรแกรมผู้ใช้ ต่างประเทศ อาจจะต้องการเปลี่ยนแปลงฉลากนั้นเป็นภาษาของ
เขาเอง ซึ่งเครื่องแมคอินทอช สนับสนุนเครื่องมือให้ปรับปรุงข้อมูลใน Resource
Fork ได้
2. Data Fork
เป็นส่วนที่เก็บโปรแกรม รหัสโปรแกรม (Code) หรือเนื้อหาของ
แฟ้ มข้อมูลทั่วไป
วิธีการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูล (Access Method)
การเข้าถึงแฟ้ มข้อมูล สามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้
1.การเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลาดับ (SequentialAccess)
2.การเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลโดยตรง (Direct Access)
3.การเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลแบบอื่น
การเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลาดับ (Sequential Access)
ในการเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลาดับเป็นวิธีการที่ง่ายที่สุด การ
ทางานบนแฟ้ มข้อมูลแบบนี้คือ การอ่านและการเขียน
การอ่านจะทาการอ่านส่วนถัดไปของแฟ้ มข้อมูลพร้อมทั้งเปลี่ยน
ค่า
ตัวชี้แฟ้ มข้อมูลโดย อัตโนมัติตามตาแหน่งของ I/O เหมือนกับการเขียนแบบ
ต่อท้ายข้อมูล แต่ละแฟ้ มข้อมูลสามารถ กลับไปเริ่มตันใหม่ และบางระบบ
โปรแกรมอาจจะสามารถข้ามไปข้างหน้า หรือข้างหลังได้ สาหรับการเข้าถึง
ข้อมูลแบบเรียงลาดับเป็นพื้นฐานการทางานของเทปแม่เหล็ก
รูปแสดงการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลแบบเรียงลาดับ
การเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลโดยตรง (Direct Access)
การเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลโดยตรง หรือการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลแบบสัมพันธ์
(Related Access) แฟ้ ม ข้อมูลถูกสร้างขึ้นเป็น Logical Record ที่มีความ
ยาวคงที่ ซึ่งอนุญาตให้โปรแกรมอ่าน และเขียน ข้อมูลได้อย่างรวดเร็วโดยไม่มี
ลาดับการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลโดยตรงเป็นพื้นฐานของดิสก์ ซึ่งดิสก์อนุญาตให้
เข้าถึงบล็อกของแฟ้ มข้อมูลแบบสุ่ม สาหรับการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลโดยตรง
แฟ้ มข้อมูลจะ ถูกมองเป็นจานวนของบล็อก หรือระเบียน ดังนั้นเราอาจอ่าน
บล็อก 20 แล้วข้ามไปอ่านบล็อก 50 และ ข้ามไปเขียนบล็อก 15 ได้
การเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลแบบอื่น
การเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลแบบอื่นๆ เช่น การสร้างดัชนี (Index) ให้
แฟ้ มข้อมูล ดัชนีนี้บรรจุตัวชี้บล็อกในการหาระเบียนในแฟ้ มข้อมูล ขั้นแรกเรา
ต้องค้นหาดัชนี แล้วใช้ตัวชี้ในการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูล โดยตรงและหาระเบียนที่
ต้องการ เช่น แฟ้ มข้อมูลจัดเก็บราคาสินค้า แต่ละระเบียนประกอบด้วย รหัส
สินค้า 8 หลัก ราคา 8 หลัก รวมเป็น 16 ไบต์ ถ้าดิสก์ของเรามี 1,024 ไบต์/
บล็อก เราจะสามารถ เก็บข้อมูลได้ 64 ระเบียน/บล็อก ซึ่งเราจะมีดัชนี 64 ตัว
สาหรับชี้ระเบียนแต่ละระเบียน เวลาที่ ต้องการค้นหาเราจะมาค้นหาที่ดัชนี โดย
ไม่ต้องไปค้นหาทีละระเบียน ซึ่งการค้นหาดัชนีจะใช้เวลา เร็วกว่า
โครงสร้างของไดเร็กทอรี่ (Directory structure)
ไดเร็กทอรี่เปรียบเสมือนส่วนย่อยในดิสก์ที่ถูกสร้างขึ้นสาหรับเก็บ
ข้อมูล โดยในดิสก์สามารถ มีไดเร็กทอรี่ได้ไม่จากัด และสามารถสร้างไดเร็ก
ทอรี่ย่อยๆ ได้ไม่จากัดด้วย แต่ในพาร์ดิชั่น เดียวกันต้องไม่มีไดเร็กทอรี่ชื่อ
เหมือนกัน การดาเนินงานของไดเร็กทอรี่ มีดังนี้
1.ค้นหาแฟ้ มข้อมูล (Search For a File)
เป็นการค้นหาแฟ้ มข้อมูลตามที่เราต้องการ
2.สร้างแฟ้ มข้อมูล (Create a File)
เป็นการสร้างแฟ้ มข้อมูลใหม่จาเป็นเพิ่มเข้าไปในไดเร็กทอรี่
3.ลบแฟ้ มข้อมูล (Delete a File)
เป็นการลบแฟ้ มข้อมูลไม่มีความจาเป็นใช้งานออกจากไดเร็กทอรี่
4.แสดงไดเร็กทอรี่ (List a Directory)
เป็นการแสดงชื่อและคุณลักษณะของแฟ้ มข้อมูลในไดเร็กทอรี่
5.เปลี่ยนชื่อแฟ้ มข้อมูล (Rename a File)
เป็นการเปลี่ยนชื่อแฟ้ มข้อมูล เพื่อให้สื่อความหมายตามที่ผู้ใช้
ต้องการ
6.การข้ามระบบแฟ้ มข้อมูล (Traverse the File System)
เป็นการย้าย หรือคัดลอกข้อมูลไปไว้ในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดอื่น
เช่น การบันทึกข้อมูล จากดิสก์ลงไปในเทปแม่เหล็ก เพื่อใช้ในการ
สารอง (Backup) ข้อมูล
ชนิดของไดเร็กทอรี่
ไดเร็กทอรี่แบ่งได้เป็น 5 ชนิด ดังนี้
1.ไดเร็กทอรี่ระดับเดียว (Single-Level Directory)
2.ไดเร็กทอรี 2 ระดับ (Two-Level Directory)
3.ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree-Structured
Directory)
4.ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างกราฟแบบไม่เป็นวงจร (Acyclic-
Graph Directory)
5.ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบกราฟทั่วไป (General Graph
Directory)
ไดเร็กทอรี่ระดับเดียว (Single-Level Directory)
ข้อมูลทุกอย่างจะถูกเก็บไว้ในไดเร็กทอรี่เดียวกัน ซึ่งจะเกิดปัญหา
เมื่อข้อมูลมากขึ้น ชื่ออาจจะ มีการซ้ากัน หรือหากมีผู้ใช้เข้ามาใช้งานมากกว่า
1 คน อาจทาให้การทางานผิดพลาดได้
รูปแสดงไดเร็กทอรี่ระดับเดียว
ไดเร็กทอรี่ 2 ระดับ (Two-LevelDirectory)
เป็นการสร้างไดเร็กทอรี่ย่อยซ้อนขึ้นมา โดยมีข้อดีกว่าไดเร็กทอรี่
ระดับเดียว คือสามารถมีแฟ้ มข้อมูลชื่อเดียวกันได้หากแฟ้ มข้อมูลนั้นอยู่ต่าง
ไดเร็กทอรี่กัน และหากมีผู้ใช้งานหลายคน ระบบจะจัดแบ่งให้ผู้ใช้งานแต่ละ
คนทางานอยู่เฉพาะในไดเร็กทอรี่ที่กาหนดให้เท่านั้น ทาให้การใช้ข้อมูลไม่
เกิดการชนกัน
รูปแสดงไดเร็กทอรี่ 2 ระดับ
ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree-Structured Directory)
เป็นโครงสร้างที่มีไดเร็กทอรี่หลายระดับ ซึ่งในแต่ละไดเร็กทอรี่
จะสามารถแบ่งเป็นไดเร็กทอรี่ ย่อยๆได้อีกหลายไดเร็กทอรี่ และหลายชั้น
รูปแสดงไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบต้นไม้
ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างกราฟแบบไม่เป็ นวงจร (Acyclic-Graph
Directory)
จากที่กล่าวมา การสร้างไดเร็กทอรี่เป็นการเชื่อมไดเร็กทอรี่ย่อยๆ
ออกมา โดยที่ไม่มีการเชื่อมไปยังไดเร็กทอรี่ที่มีการเชื่อมโยงอยู่แล้ว แต่ใน
บางครั้งมีงานที่ต้องการใช้ข้อมูลร่วมกัน ดังนั้นจึงเกิดการเชื่อมไดเร็กทอรี่เข้า
ด้วยกันเพื่อให้สามารถทางาน หรือใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ทาให้เกิดไดเร็กทอรี่ที่มี
ลักษณะเป็นกราฟ
รูปแสดงไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบไม่เป็นวงจร
ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบกราฟทั่วไป (General Graph Directory)
สาหรับไดเร็กทอรี่กราฟแบบไม่เป็นวงจรนั้น การเชื่อมไดเร็กทอรี่จะ
เป็นการเชื่อมไดเร็กทอรี่ ย่อยของไดเร็กทอรี่เข้าด้วยกัน แต่ไม่มีการเชื่อมไดเร็ก
ทอรี่ย่อยย้อนกลับไปหาไดเร็กทอรี่หลัก ส่วนไดเร็กทอรี่แบบกราฟทั่วไป
สามารถเชื่อมย้อนกลับไปมาระหว่างไดเร็กทอรี่ย่อยกับไดเร็กทอรี่หลัก
รูปแสดงไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบทั่วไป
การป้ องกันแฟ้ มข้อมูล (File Protection)
การป้ องกันเป็นกลไกที่จัดเตรียมไว้เพื่อควบคุมการเข้าถึง
แฟ้ มข้อมูล โดยจากัดชนิดของการ เข้าถึงแฟ้ มข้อมูลที่สามารถทาได้ การ
เข้าถึงจะทาได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น ชนิดของการร้อง
ขอเข้าถึงแฟ้ มข้อมูล
ชนิดของการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูล (Types ofAccess)
1.Read เป็นการอ่านข้อมูล
2.Write เป็นการเขียนหรือแก้ไขข้อมูลในแฟ้ มข้อมูล
3.Execute เป็นการสั่งให้แฟ้ มข้อมูลประมวลผล หรือทางานตามที่
กาหนดไว้
4.Append เป็นการเพิ่มข้อมูลลงในแฟ้ มข้อมูล โดยเป็นการเพิ่ม
ข้อมูลต่อท้ายแฟ้ มข้อมูล
5.Delete เป็นการลบแฟ้ มข้อมูลนั้น
6. List เป็นการแสดงชื่อ และคุณลักษณะของแฟ้ ม
รายการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลและกลุ่ม (Access Lists and Group)
ผู้ใช้งานสามารถแบ่งตามลักษณะการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลได้ 3 ประเภท คือ
1.เจ้าของ (Owner)
เป็นกลุ่มเจ้าของไดเร็กทอรี่นั้น ๆ โดยมากจะกาหนดสิทธิในการ
เข้าถึงข้อมูลได้เต็มที่
2.กลุ่ม (Group)
เป็นกลุ่มผู้ใช้บริการที่มีไดเร็กทอรี่ของตัวเองใน Server
เช่นเดียวกัน แต่ไม่ใช่เจ้าของไดเร็กทอรี่ บางครั้งจะให้สิทธิในการเข้าถึงข้อมูล
ในไดเร็กทอรี่ต่างๆ ด้วย เช่น สามารถเข้าไปดู ข้อมูลในไดเร็กทอรี่ของคนอื่น
ได้ (ยกเว้นเจ้าของจะไม่อนุญาต) แต่จะไม่มีสิทธิในการแก้ไขข้อมูลของคน
อื่น
3.คนอื่น (Universe หรือ Other)
เป็นผู้ใช้บริการที่เป็นคนนอกที่ไม่มีไดเร็กทอรี่เป็นของตนเอง
ผู้ใช้บริการเหล่านี้มักจะถูก กาหนดสิทธิไว้ต่าสุด คืออาจจะอ่านข้อมูลได้อย่าง
เดียว หรืออาจอ่านและประมวลผลได้ แต่ไม่อนุญาตให้แก้ไขข้อมูลได้

More Related Content

What's hot

Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
Opas Kaewtai
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
Opas Kaewtai
 
การเพ มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
การเพ  มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sqlการเพ  มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
การเพ มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
Bongza Naruk
 
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
Khun Nuttie
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
พัน พัน
 
Basic Windows 7 Application for KKU. Staff
Basic Windows 7 Application for KKU. StaffBasic Windows 7 Application for KKU. Staff
Basic Windows 7 Application for KKU. Staff
Krit Kamtuo
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
kitkit1974
 

What's hot (15)

Word6
Word6Word6
Word6
 
work 3 -6
work 3 -6work 3 -6
work 3 -6
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
การเพ มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
การเพ  มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sqlการเพ  มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
การเพ มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
 
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Basic Windows 7 Application for KKU. Staff
Basic Windows 7 Application for KKU. StaffBasic Windows 7 Application for KKU. Staff
Basic Windows 7 Application for KKU. Staff
 
Table
TableTable
Table
 
Onet-work4-44
Onet-work4-44Onet-work4-44
Onet-work4-44
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 

Similar to 9.1 9.10

บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
Srion Janeprapapong
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
Nuanlaor Nuan
 
Database
DatabaseDatabase
Database
paween
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Isareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
niwat50
 
นางสาวศศิพร สิทธิมงคล ม.5
นางสาวศศิพร   สิทธิมงคล ม.5นางสาวศศิพร   สิทธิมงคล ม.5
นางสาวศศิพร สิทธิมงคล ม.5
lookpair
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 ppนางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
hattayachuesomkiet
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 ppนางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
hattayachuesomkiet
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
miwmilk
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
miwmilk
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
miwmilk
 

Similar to 9.1 9.10 (20)

บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
งานทำ Blog บทที่ 12
งานทำ Blog บทที่ 12งานทำ Blog บทที่ 12
งานทำ Blog บทที่ 12
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
นางสาวศศิพร สิทธิมงคล ม.5
นางสาวศศิพร   สิทธิมงคล ม.5นางสาวศศิพร   สิทธิมงคล ม.5
นางสาวศศิพร สิทธิมงคล ม.5
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 ppนางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 ppนางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
 
Endnote X4
Endnote X4Endnote X4
Endnote X4
 
End notex4
End notex4End notex4
End notex4
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
 

More from Thanaporn Singsuk

More from Thanaporn Singsuk (14)

การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุตการจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซส
 
สถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซสสถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซส
 
บทท 1 บทนำ 1
บทท   1 บทนำ 1บทท   1 บทนำ 1
บทท 1 บทนำ 1
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 

9.1 9.10

  • 1.
  • 2. ประเภทของแฟ้ มข้อมูล การสร้างแฟ้ มข้อมูลในปัจจุบันนี้จะมีการกาหนดชื่อ แฟ้ มข้อมูลโดยมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนชื่อ และส่วนนามสกุล โดยส่วนชื่อจะเป็นคาภาษาอังกฤษ หรือภาษาใดๆ ที่ระบบปฏิบัติการ เข้าใจได้ ส่วนนามสกุลจะเป็นส่วนที่บอกชนิดของแฟ้ มข้อมูลนั้นๆ
  • 3. Executable Exe, Com, Bin Object Obj, O , Source Code C, P, Pas, 177, Asm, A Source Code Batch Bat, Sh Text Txt, Doc Word Processor Wp, Tex, Rrf Library Lib, A Library Routine Print or View Ps, Dvi, Gif, Jpg ASCII 2 Archive Arc, Zip, Rar การตั้งชื่อแฟ้ มข้อมูล จะเขียนส่วนของชื่อ และนามสกุลต่อกัน โดยมีเครื่องหมายจุด (.) เป็น ตัวคั่น เช่น EXAMPLE.DOC
  • 4.
  • 5. คุณลักษณะของแฟ้ มข้อมูล (File Attributes) 1.ชื่อ (Name) ชื่อแฟ้ มข้อมูล คือ สัญลักษณ์ (สารสนเทศ) ที่เก็บไว้ในรูปแบบที่ สามารถอ่านได้ 2.ชนิด (Type) ส่วนนี้จาเป็นสาหรับระบบซึ่งสนับสนุนชนิดของข้อมูลหลาย ๆ ชนิด 3.ตาแหน่ง (Location) เป็นตัวชี้ไปยังอุปกรณ์และตาแหน่งของแฟ้ มข้อมูลบนอุปกรณ์นั้น 4.ขนาด (Size) ขนาดของแฟ้ มข้อมูลในปัจจุบัน (ไบต์ คา หรือบล็อก)
  • 6. 5.การป้ องกัน (Protection) การควบคุมให้สามารถอ่าน เขียน หรือประมวลผลไฟล์นั้นๆ 6.เวลา วันที่ (Date, Time) ข้อมูลเกี่ยวกับวันที่สร้างแฟ้ มข้อมูล วันที่แก้ไขครั้ง หรือปรับปรุง สุดท้าย 7.สัญลักษณ์ของผู้ใช้ (User) รายละเอียดของผู้ใช้งาน
  • 7.
  • 8. การดาเนินการเกี่ยวกับแฟ้ มข้อมูล (File Operation) การดาเนินการเกี่ยวกับแฟ้ มข้อมูล มีดังนี้ 1.การสร้างแฟ้ มข้อมูล (Creating a File) 2.การเขียนแฟ้ มข้อมูล (Writing a File) 3.การอ่านแฟ้ มข้อมูล (Reading a File) 4.การย้ายตาแหน่งภายในแฟ้ มข้อมูล (Repositioning Within a File) 5.การลบแฟ้ มข้อมูล (Deleting a File) 6.การตัดแฟ้ มข้อมูลให้สั้นลง (Truncating a File) นอกจากการดาเนินการทั้ง 6 ข้อนี้แล้ว ยังมีการทางานอย่างอื่นอีก เช่น การ นาข้อมูลไปต่อท้าย (Append) การเปลี่ยนชื่อแฟ้ มข้อมูล (Rename) การ คัดลอก (Copy) แฟ้ มข้อมูล เป็นต้น
  • 9. การสร้างแฟ้ มข้อมูล (Creating a File) การสร้างแฟ้ มข้อมูล มีขั้นตอนดังนี้ * หาที่ว่างในระบบแฟ้ มข้อมูลของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล * กาหนดช่องว่างของแฟ้ มข้อมูลใหม่ในไดเร็กทอรี่ ซึ่งไดเร็กทอรี่จะ บันทึกชื่อแฟ้ มข้อมูล และตาแหน่งในระบบแฟ้ มข้อมูล การเขียนแฟ้ มข้อมูล (Writing a File) การเขียนข้อมูลหรือสารสนเทศลงในแฟ้ มข้อมูล ทาได้โดยระบบจะ ค้นหาในไดเร็กทอรี่ เพื่อหตาแหน่งของแฟ้ มข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งระบบต้องเก็บ Write Pointer เพื่อระบุตาแหน่งถัดไปที่จะต้องเขียนข้อมูล
  • 10. การอ่านแฟ้ มข้อมูล (Reading a File) การอ่านข้อมูลหรือสารสนเทศจากแฟ้ มข้อมูล ทาได้โดยระบบจะ ค้นหาในไดเร็กทอรี่ เพื่อหา ตาแหน่งของแฟ้ มข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งระบบจะ เก็บ Read Pointer เพื่อระบุตาแหน่งถัดไปที่ต้องอ่าน โดยทั่วๆ ไป แฟ้ มข้อมูลที่ถูกอ่านหรือเขียน ระบบจะเก็บตัวชี้หรือพอยน์เตอร์ (Pointer) ไว้ตัวเดียว ที่ใช้ทั้งอ่านและเขียนเรียกว่า “ตัวชี้ตาแหน่งปัจจุบัน” (Current- file-position Pointer) เพื่อ ประหยัดพื้นที่ และลดความซ้าซ้อนของระบบ
  • 11. การย้ายตาแหน่งภายในแฟ้ มข้อมูล (Repositioning Within a File) เริ่มจากการค้นหาไดเร็กทอรี่ เพื่อหาตาแหน่งของแฟ้ มข้อมูลที่ ต้องการ และกาหนดค่าให้ตัว ชี้ตาแหน่งปัจจุบัน การย้ายตาแหน่งภายใน แฟ้ มข้อมูลไม่จาเป็นต้องเกี่ยวข้องกับ I/O จริงๆ ซึ่งการ ทางานของ แฟ้ มข้อมูลลักษณะนี้เรียกว่า การค้นหาข้อมูล การลบแฟ้ มข้อมูล (Deleting a File) เริ่มจากการค้นหาไดเร็กทอรี่ เพื่อหาตาแหน่งของแฟ้ มข้อมูลที่ ต้องการ เมื่อพบแล้วทาการ คืนที่ว่างทั้งหมดของแฟ้ มข้อมูลนั้นให้ระบบ และลบรายละเอียดของแฟ้ มข้อมูลนั้นในไดเร็กทอรี่ด้วย
  • 12. การตัดแฟ้ มข้อมูลให้สั้นลง (Truncating a File) เมื่อผู้ใช้ต้องการให้แฟ้ มข้อมูลมีลักษณะเหมือนเดิม แต่ต้องการลบ เนื้อหาของแฟ้ มข้อมูล แทนที่จะลบแฟ้ มข้อมูลและสร้างใหม่ สามารถใช้ ฟังก์ชั่นนี้เพื่อให้คุณลักษณะต่าง ๆ ของแฟ้ มข้อมูล ยังคงอยู่
  • 13.
  • 14. โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล แฟ้ มข้อมูลต้องมีโครงสร้างที่ระบบปฏิบัติการสามารถเข้าใจได้ เช่น ในระบบแฟ้ มข้อมูลของ ระบบปฏิบัติการ UNIX เป็นการเรียงสาดับกันของ บิตทีละ 8 บิต วิธีนี้มีความยืดหยุ่นมากที่สุด แต่มีระบบการทางานที่ สนับสนุนน้อย โดยมากแล้วแฟ้ มข้อมูลที่สร้างขึ้นโดยโปรแกรมสาเร็จรูปต่าง ๆ จะมีการใส่รหัสของตัวเองลงไปด้วย เพื่อแปลแฟ้ มข้อมูลนาเข้าให้เป็น โครงสร้างที่ต้องการ แต่อย่างน้อยระบบปฏิบัติการจะต้องรู้จักโครงสร้างของ แฟ้ มข้อมูลแบบ Executable เพื่อที่จะสามารถประมวลผลได้
  • 15. ซึ่งแฟ้ มข้อมูลทั่ว ๆ ไปมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือข้อมูลทั่ว ๆ ไปมี ส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ 1.Resource Fork เป็นส่วนที่เก็บสารสนเทศที่ผู้ใช้สนใจ เช่น ตัวสลากบนปุ่มที่แสดงโดย โปรแกรมผู้ใช้ ต่างประเทศ อาจจะต้องการเปลี่ยนแปลงฉลากนั้นเป็นภาษาของ เขาเอง ซึ่งเครื่องแมคอินทอช สนับสนุนเครื่องมือให้ปรับปรุงข้อมูลใน Resource Fork ได้ 2. Data Fork เป็นส่วนที่เก็บโปรแกรม รหัสโปรแกรม (Code) หรือเนื้อหาของ แฟ้ มข้อมูลทั่วไป
  • 16.
  • 17. วิธีการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูล (Access Method) การเข้าถึงแฟ้ มข้อมูล สามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้ 1.การเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลาดับ (SequentialAccess) 2.การเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลโดยตรง (Direct Access) 3.การเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลแบบอื่น
  • 18. การเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลาดับ (Sequential Access) ในการเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลาดับเป็นวิธีการที่ง่ายที่สุด การ ทางานบนแฟ้ มข้อมูลแบบนี้คือ การอ่านและการเขียน การอ่านจะทาการอ่านส่วนถัดไปของแฟ้ มข้อมูลพร้อมทั้งเปลี่ยน ค่า ตัวชี้แฟ้ มข้อมูลโดย อัตโนมัติตามตาแหน่งของ I/O เหมือนกับการเขียนแบบ ต่อท้ายข้อมูล แต่ละแฟ้ มข้อมูลสามารถ กลับไปเริ่มตันใหม่ และบางระบบ โปรแกรมอาจจะสามารถข้ามไปข้างหน้า หรือข้างหลังได้ สาหรับการเข้าถึง ข้อมูลแบบเรียงลาดับเป็นพื้นฐานการทางานของเทปแม่เหล็ก
  • 20. การเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลโดยตรง (Direct Access) การเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลโดยตรง หรือการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลแบบสัมพันธ์ (Related Access) แฟ้ ม ข้อมูลถูกสร้างขึ้นเป็น Logical Record ที่มีความ ยาวคงที่ ซึ่งอนุญาตให้โปรแกรมอ่าน และเขียน ข้อมูลได้อย่างรวดเร็วโดยไม่มี ลาดับการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลโดยตรงเป็นพื้นฐานของดิสก์ ซึ่งดิสก์อนุญาตให้ เข้าถึงบล็อกของแฟ้ มข้อมูลแบบสุ่ม สาหรับการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลโดยตรง แฟ้ มข้อมูลจะ ถูกมองเป็นจานวนของบล็อก หรือระเบียน ดังนั้นเราอาจอ่าน บล็อก 20 แล้วข้ามไปอ่านบล็อก 50 และ ข้ามไปเขียนบล็อก 15 ได้
  • 21. การเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลแบบอื่น การเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลแบบอื่นๆ เช่น การสร้างดัชนี (Index) ให้ แฟ้ มข้อมูล ดัชนีนี้บรรจุตัวชี้บล็อกในการหาระเบียนในแฟ้ มข้อมูล ขั้นแรกเรา ต้องค้นหาดัชนี แล้วใช้ตัวชี้ในการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูล โดยตรงและหาระเบียนที่ ต้องการ เช่น แฟ้ มข้อมูลจัดเก็บราคาสินค้า แต่ละระเบียนประกอบด้วย รหัส สินค้า 8 หลัก ราคา 8 หลัก รวมเป็น 16 ไบต์ ถ้าดิสก์ของเรามี 1,024 ไบต์/ บล็อก เราจะสามารถ เก็บข้อมูลได้ 64 ระเบียน/บล็อก ซึ่งเราจะมีดัชนี 64 ตัว สาหรับชี้ระเบียนแต่ละระเบียน เวลาที่ ต้องการค้นหาเราจะมาค้นหาที่ดัชนี โดย ไม่ต้องไปค้นหาทีละระเบียน ซึ่งการค้นหาดัชนีจะใช้เวลา เร็วกว่า
  • 22.
  • 23. โครงสร้างของไดเร็กทอรี่ (Directory structure) ไดเร็กทอรี่เปรียบเสมือนส่วนย่อยในดิสก์ที่ถูกสร้างขึ้นสาหรับเก็บ ข้อมูล โดยในดิสก์สามารถ มีไดเร็กทอรี่ได้ไม่จากัด และสามารถสร้างไดเร็ก ทอรี่ย่อยๆ ได้ไม่จากัดด้วย แต่ในพาร์ดิชั่น เดียวกันต้องไม่มีไดเร็กทอรี่ชื่อ เหมือนกัน การดาเนินงานของไดเร็กทอรี่ มีดังนี้ 1.ค้นหาแฟ้ มข้อมูล (Search For a File) เป็นการค้นหาแฟ้ มข้อมูลตามที่เราต้องการ 2.สร้างแฟ้ มข้อมูล (Create a File) เป็นการสร้างแฟ้ มข้อมูลใหม่จาเป็นเพิ่มเข้าไปในไดเร็กทอรี่ 3.ลบแฟ้ มข้อมูล (Delete a File) เป็นการลบแฟ้ มข้อมูลไม่มีความจาเป็นใช้งานออกจากไดเร็กทอรี่
  • 24. 4.แสดงไดเร็กทอรี่ (List a Directory) เป็นการแสดงชื่อและคุณลักษณะของแฟ้ มข้อมูลในไดเร็กทอรี่ 5.เปลี่ยนชื่อแฟ้ มข้อมูล (Rename a File) เป็นการเปลี่ยนชื่อแฟ้ มข้อมูล เพื่อให้สื่อความหมายตามที่ผู้ใช้ ต้องการ 6.การข้ามระบบแฟ้ มข้อมูล (Traverse the File System) เป็นการย้าย หรือคัดลอกข้อมูลไปไว้ในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดอื่น เช่น การบันทึกข้อมูล จากดิสก์ลงไปในเทปแม่เหล็ก เพื่อใช้ในการ สารอง (Backup) ข้อมูล
  • 25.
  • 26. ชนิดของไดเร็กทอรี่ ไดเร็กทอรี่แบ่งได้เป็น 5 ชนิด ดังนี้ 1.ไดเร็กทอรี่ระดับเดียว (Single-Level Directory) 2.ไดเร็กทอรี 2 ระดับ (Two-Level Directory) 3.ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree-Structured Directory) 4.ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างกราฟแบบไม่เป็นวงจร (Acyclic- Graph Directory) 5.ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบกราฟทั่วไป (General Graph Directory)
  • 27. ไดเร็กทอรี่ระดับเดียว (Single-Level Directory) ข้อมูลทุกอย่างจะถูกเก็บไว้ในไดเร็กทอรี่เดียวกัน ซึ่งจะเกิดปัญหา เมื่อข้อมูลมากขึ้น ชื่ออาจจะ มีการซ้ากัน หรือหากมีผู้ใช้เข้ามาใช้งานมากกว่า 1 คน อาจทาให้การทางานผิดพลาดได้ รูปแสดงไดเร็กทอรี่ระดับเดียว
  • 28. ไดเร็กทอรี่ 2 ระดับ (Two-LevelDirectory) เป็นการสร้างไดเร็กทอรี่ย่อยซ้อนขึ้นมา โดยมีข้อดีกว่าไดเร็กทอรี่ ระดับเดียว คือสามารถมีแฟ้ มข้อมูลชื่อเดียวกันได้หากแฟ้ มข้อมูลนั้นอยู่ต่าง ไดเร็กทอรี่กัน และหากมีผู้ใช้งานหลายคน ระบบจะจัดแบ่งให้ผู้ใช้งานแต่ละ คนทางานอยู่เฉพาะในไดเร็กทอรี่ที่กาหนดให้เท่านั้น ทาให้การใช้ข้อมูลไม่ เกิดการชนกัน รูปแสดงไดเร็กทอรี่ 2 ระดับ
  • 29. ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree-Structured Directory) เป็นโครงสร้างที่มีไดเร็กทอรี่หลายระดับ ซึ่งในแต่ละไดเร็กทอรี่ จะสามารถแบ่งเป็นไดเร็กทอรี่ ย่อยๆได้อีกหลายไดเร็กทอรี่ และหลายชั้น รูปแสดงไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบต้นไม้
  • 30. ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างกราฟแบบไม่เป็ นวงจร (Acyclic-Graph Directory) จากที่กล่าวมา การสร้างไดเร็กทอรี่เป็นการเชื่อมไดเร็กทอรี่ย่อยๆ ออกมา โดยที่ไม่มีการเชื่อมไปยังไดเร็กทอรี่ที่มีการเชื่อมโยงอยู่แล้ว แต่ใน บางครั้งมีงานที่ต้องการใช้ข้อมูลร่วมกัน ดังนั้นจึงเกิดการเชื่อมไดเร็กทอรี่เข้า ด้วยกันเพื่อให้สามารถทางาน หรือใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ทาให้เกิดไดเร็กทอรี่ที่มี ลักษณะเป็นกราฟ รูปแสดงไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบไม่เป็นวงจร
  • 31. ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบกราฟทั่วไป (General Graph Directory) สาหรับไดเร็กทอรี่กราฟแบบไม่เป็นวงจรนั้น การเชื่อมไดเร็กทอรี่จะ เป็นการเชื่อมไดเร็กทอรี่ ย่อยของไดเร็กทอรี่เข้าด้วยกัน แต่ไม่มีการเชื่อมไดเร็ก ทอรี่ย่อยย้อนกลับไปหาไดเร็กทอรี่หลัก ส่วนไดเร็กทอรี่แบบกราฟทั่วไป สามารถเชื่อมย้อนกลับไปมาระหว่างไดเร็กทอรี่ย่อยกับไดเร็กทอรี่หลัก รูปแสดงไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบทั่วไป
  • 32.
  • 33. การป้ องกันแฟ้ มข้อมูล (File Protection) การป้ องกันเป็นกลไกที่จัดเตรียมไว้เพื่อควบคุมการเข้าถึง แฟ้ มข้อมูล โดยจากัดชนิดของการ เข้าถึงแฟ้ มข้อมูลที่สามารถทาได้ การ เข้าถึงจะทาได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น ชนิดของการร้อง ขอเข้าถึงแฟ้ มข้อมูล
  • 34. ชนิดของการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูล (Types ofAccess) 1.Read เป็นการอ่านข้อมูล 2.Write เป็นการเขียนหรือแก้ไขข้อมูลในแฟ้ มข้อมูล 3.Execute เป็นการสั่งให้แฟ้ มข้อมูลประมวลผล หรือทางานตามที่ กาหนดไว้ 4.Append เป็นการเพิ่มข้อมูลลงในแฟ้ มข้อมูล โดยเป็นการเพิ่ม ข้อมูลต่อท้ายแฟ้ มข้อมูล 5.Delete เป็นการลบแฟ้ มข้อมูลนั้น 6. List เป็นการแสดงชื่อ และคุณลักษณะของแฟ้ ม
  • 35. รายการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลและกลุ่ม (Access Lists and Group) ผู้ใช้งานสามารถแบ่งตามลักษณะการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูลได้ 3 ประเภท คือ 1.เจ้าของ (Owner) เป็นกลุ่มเจ้าของไดเร็กทอรี่นั้น ๆ โดยมากจะกาหนดสิทธิในการ เข้าถึงข้อมูลได้เต็มที่ 2.กลุ่ม (Group) เป็นกลุ่มผู้ใช้บริการที่มีไดเร็กทอรี่ของตัวเองใน Server เช่นเดียวกัน แต่ไม่ใช่เจ้าของไดเร็กทอรี่ บางครั้งจะให้สิทธิในการเข้าถึงข้อมูล ในไดเร็กทอรี่ต่างๆ ด้วย เช่น สามารถเข้าไปดู ข้อมูลในไดเร็กทอรี่ของคนอื่น ได้ (ยกเว้นเจ้าของจะไม่อนุญาต) แต่จะไม่มีสิทธิในการแก้ไขข้อมูลของคน อื่น
  • 36. 3.คนอื่น (Universe หรือ Other) เป็นผู้ใช้บริการที่เป็นคนนอกที่ไม่มีไดเร็กทอรี่เป็นของตนเอง ผู้ใช้บริการเหล่านี้มักจะถูก กาหนดสิทธิไว้ต่าสุด คืออาจจะอ่านข้อมูลได้อย่าง เดียว หรืออาจอ่านและประมวลผลได้ แต่ไม่อนุญาตให้แก้ไขข้อมูลได้