SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
บทที่ 9 การจัดการ
แฟ้ มข้อมูล
ประเภทของแฟ้ มข้อมูล
การสร้างแฟ้มข้อมูลในปัจจุบันนี้ จะมีการกาหนดชื่อ
แฟ้มข้อมูลโดยมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนชื่อและส่วน
นามสกุลโดยส่วนชื่อจะเป็นคาภาษาอังกฤษหรือภาษาใดๆ ที่ระบุ
ปฏิบัติการเข้าใจได้ส่วนนามสกุลจะเป็นส่วนที่บอกชนิดของ
แฟ้มข้อมูลนั้นๆ
การตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลจะเขียนส่วนของชื่อ และนามสกุลต่อกัน
โดยมีเครื่องหมาย (.) เป็นตัวคั่น เช่น EXAMPLE.DOC
คุณลักษณะของแฟ้ มข้อมูล
1. ชื่อ (Name)
ชื่อแฟ้มข้อมูล คือ สัญลักษณ์ (สารสนเทศ) ที่เก็บไว้ในรูปแบบที่
สามารถอ่านได้
2. ชนิด (Type)
ส่วนนี้จาเป็นสาหรับระบบซึ่งสนับสนุนชนิดของข้อมูลหลายๆ ชนิด
3. ตาแหน่ง (Location)]
เป็นตัวชี้ไปยังอุปกรณ์และตาแหน่งของแฟ้มข้อมูลบนอุปกรณ์นั้น
4.ขนาด (Size)
ขนาดของแฟ้มข้อมูลในปัจจุบัน (ไบต์คา หรือบล็อก)
5. การป้องกัน (Protection)
การควบคุมให้สามารถอ่าน เขียน หรือประมวลผลไฟล์นั้นๆ
6. เวลา วันที่ (Date, Time)
ข้อมูลเกี่ยวกับวันที่สร้างแฟ้มข้อมูล วันที่แก้ไขครั้ง หรือปรับปรุง
สุดท้าย
7. สัญลักษณ์ของผู้ใช้ (User)
รายละเอียดของผู้ใช้งาน
การดาเนินการเกี่ยวกับแฟ้ มข้อมูล (File Operation)
การดาเนินการเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล มีดังนี้
1. การสร้างแฟ้มข้อมูล (Creating a File)
2. การเขียนแฟ้มข้อมูล (Writing a File)
3. การอ่านแฟ้มข้อมูล (Reading a File)
4.การย้ายตาแหน่งภายในแฟ้มข้อมูล (Repositioning Within a
File)
5. การลบแฟ้มข้อมูล (Deleting a File)
6. การตัดแฟ้มข้อมูลให้สั้นลง (Truncating a File)
นอกจากการดาเนินการทั้ง 6 ข้อนี้แล้ว ยังมีการทางาน
อย่างอื่นอีก เช่น การนาข้อมูลไปต่อท้าย (Append) การ
เปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล (Rename) การคัดลอก (Copy)
แฟ้มข้อมูล เป็นต้น
การสร้างแฟ้ มข้อมูล (Creating a File)
การสร้างแฟ้มข้อมูล มีขั้นตอนดังนี้
- หาที่ว่างในระบบแฟ้มข้อมูลของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
- กาหนดช่องว่างของแฟ้มข้อมูลใหม่ในไดเร็กทอรี่ ซึ่ง
ไดเร็กทอรี่จะบันทึกชื่อแฟ้มข้อมูล และตาแหน่งในระบบ
แฟ้มข้อมูล
การเขียนแฟ้ มข้อมูล (Writing a File)
การเขียนข้อมูล หรือสารสนเทศลงในแฟ้มข้อมูล ทาได้โดยระบบ
จะค้นหาในไดเร็กทอรี่ เพื่อหาตาแหน่งของแฟ้มข้อมูลที่ต้องการ
ซึ่งระบบต้องเก็บ Write Pointer เพื่อระบุตาแหน่งถัดไปที่จะต้อง
เขียนข้อมูล
การลบแฟ้ มข้อมูล (Deleting a File)
เริ่มจากการค้นหาไดเร็กทอรี่เพื่อหาตาแหน่งของแฟ้มข้อมูลที่
ต้องการ เมื่อพบแล้วทาการคืนที่ว่างทั้งหมดของแฟ้มข้อมูลนั้นให้
ระบบ และลบรายละเอียดของแฟ้มข้อมูลนั้นในไดเร็กทอรี่ด้วย
โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล
แฟ้มข้อมูลต้องมีโครงสร้างที่ระบบปฏิบัติการสามารถเข้าใจได้
เช่น ในระบบแฟ้มข้อมูลของระบบปฏิบัติการ UNIX เป็นการ
เรียงลาดับกันของบิดทีละ 8 บิต วิธีนี้มีความยืดหยุ่นมากที่สุด แต่มี
ระบบการทางานที่สนับสนุนน้อย โดยมากแล้วแฟ้มข้อมูลที่สร้าง
ขึ้นโดยโปรแกรมสาเร็จรูปต่างๆ จะมีการใส่รหัสของตัวเองลงไป
ด้วย เพื่อแปลแฟ้มข้อมูลนาเข้าให้เป็นโครงสร้างที่ต้องการ แต่
อย่างน้อยระบบปฏิบัติการจะต้องรู้จักโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล
แบบ Executable เพื่อที่จะสามารถประมวลผลได้ ซึ่งแฟ้มข้อมูล
ทั่วๆ ไปมีส่วนประกอบ 2 ส่วนคือ
1. Resource Fork
เป็นส่วนที่เก็บสารสนเทศที่ผู้ใช้สนใจ เช่น ตัวสลากบนปุ่มที่
แสดงโดยโปรแกรมผู้ใช้ต่างประเทศ อาจจะต้องการเปลี่ยนแปลง
ฉลากนั้นเป็นภาษาของเขาเอง ซึ่งเครื่องแมคอินทอชสนับสนุน
เครื่องมือให้ปรับปรุงข้อมูลใน Resource Fork ได้
2. Data Fork
เป็นส่วนที่เก็บโปรแกรม รหัสโปรแกรม (Code) หรือเนื้อหา
ของแฟ้มข้อมูลทั่วไป
วิธีการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูล (Access Method)
การเข้าถึงแฟ้มข้อมูล สามารถทาได้หลายวิธี
1. การเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลาดับ (Sequential Access)
2. การเข้าถึงแฟ้มข้อมูลโดยตรง (Direct Access)
3. การเข้าถึงแฟ้มข้อมูลแบบอื่น
โครงสร้างของไดเร็กทอรี่ (Directory Structure)
ไดเร็กทอรี่เปรียบเสมือนส่วนย่อยในดิสก์ที่ถูกสร้างขึ้นสาหรับ
เก็บข้อมูล โดยในดิสก์สามารถมีไดเร็กทอรี่ได้ไม่จากัด
การดาเนินงานของไดเร็กทอรี่ มีดังนี้
1. ค้นหาแฟ้มข้อมูล (Search For a File)
เป็นการค้นหาแฟ้มข้อมูลตามที่เราต้องการ
2. สร้างแฟ้มข้อมูล (Create a File)
เป็นการสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่จาเป็นเพิ่มเข้าไปในไดเร็กทอรี่
3. ลบแฟ้มข้อมูล (Delete a File)
เป็นการลบแฟ้มข้อมูลไม่มีความจาเป็นใช้งานออก
4. แสดงไดเร็กทอรี่ (List a Directory)
เป็นการแสดงชื่อและคุณลักษณะของแฟ้มข้อมูลไดเร็กทอรี่
5. เปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล (Rename a File)
เป็นการเปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล เพื่อให้สื่อความหมายตามที่ผู้ใช้
ต้องการ
6. การข้ามระบบแฟ้มข้อมูล (Traverse the File System)
เป็นการย้ายหรือคัดลอกข้อมูลไปไว้ในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
ชนิดอื่น เช่น การบันทึกข้อมูลจากดิสก์ลงไปในเทปแม่เหล็ก เพื่อ
ใช้ในการสารอง (Backup) ข้อมูล
ชนิดของไดเร็กทอรี่
ไดเร็กทอรี่ แบ่งได้เป็น 5 ชนิด ดังนี้
1. ไดเร็กทอรี่ระดับเดียว (Single-Level Directory)
2. ไดเร็กทอรี่ 2 ระดับ (Two-Level Directory)
3. ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree – Structured
Directory)
4. ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบไม่เป็นวงจร (Acyclic Graph
Directory)
5. ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบกราฟทั่วไป (General Graph
Directory)
การป้ องกันแฟ้ มข้อมูล (File Protection)
การป้องกันเป็นกลไกที่จัดเตรียมไว้เพื่อควบคุมการเข้าถึง
แฟ้มข้อมูล โดยจากัดชนิดของการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลที่สามารถทาได้
การเข้าถึงจะทาได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น ชนิด
ของการร้องขอเข้าถึงแฟ้มข้อมูล

More Related Content

What's hot

คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4tulibslideshare
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
Basic Windows 7 Application for KKU. Staff
Basic Windows 7 Application for KKU. StaffBasic Windows 7 Application for KKU. Staff
Basic Windows 7 Application for KKU. StaffKrit Kamtuo
 
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote Khun Nuttie
 
การเพ มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
การเพ  มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sqlการเพ  มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
การเพ มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sqlBongza Naruk
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลwarathip-por
 

What's hot (14)

คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
 
work 3 -6
work 3 -6work 3 -6
work 3 -6
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Basic Windows 7 Application for KKU. Staff
Basic Windows 7 Application for KKU. StaffBasic Windows 7 Application for KKU. Staff
Basic Windows 7 Application for KKU. Staff
 
Table
TableTable
Table
 
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
 
การเพ มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
การเพ  มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sqlการเพ  มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
การเพ มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Onet-work4-44
Onet-work4-44Onet-work4-44
Onet-work4-44
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 

Similar to บทที่ 9

เอกสารประกอบการบรรยาย : File and Folder Management
เอกสารประกอบการบรรยาย : File and Folder Managementเอกสารประกอบการบรรยาย : File and Folder Management
เอกสารประกอบการบรรยาย : File and Folder ManagementPhicha Pintharong
 
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtmlใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtmlSmo Tara
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุลmiwmilk
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศBeauso English
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมบทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมNookky Anapat
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
เรื่อง การจัดการไฟส์
เรื่อง การจัดการไฟส์เรื่อง การจัดการไฟส์
เรื่อง การจัดการไฟส์sarankorn
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
เทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูล
เทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูลเทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูล
เทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูลMrpopovic Popovic
 
คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007chanoncm2555
 

Similar to บทที่ 9 (20)

งานทำ Blog บทที่ 12
งานทำ Blog บทที่ 12งานทำ Blog บทที่ 12
งานทำ Blog บทที่ 12
 
Ch11th
Ch11thCh11th
Ch11th
 
เอกสารประกอบการบรรยาย : File and Folder Management
เอกสารประกอบการบรรยาย : File and Folder Managementเอกสารประกอบการบรรยาย : File and Folder Management
เอกสารประกอบการบรรยาย : File and Folder Management
 
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtmlใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010
 
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมบทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
e-Office with digital document
e-Office with digital documente-Office with digital document
e-Office with digital document
 
เรื่อง การจัดการไฟส์
เรื่อง การจัดการไฟส์เรื่อง การจัดการไฟส์
เรื่อง การจัดการไฟส์
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
 
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
 
เทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูล
เทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูลเทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูล
เทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูล
 
การจัดการแฟ้มข้อมูล
การจัดการแฟ้มข้อมูลการจัดการแฟ้มข้อมูล
การจัดการแฟ้มข้อมูล
 
คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007
 

More from maysasithon

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10maysasithon
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8maysasithon
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8maysasithon
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8maysasithon
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7maysasithon
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6maysasithon
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6maysasithon
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5maysasithon
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4maysasithon
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3maysasithon
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2maysasithon
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1maysasithon
 

More from maysasithon (12)

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

บทที่ 9

  • 2. ประเภทของแฟ้ มข้อมูล การสร้างแฟ้มข้อมูลในปัจจุบันนี้ จะมีการกาหนดชื่อ แฟ้มข้อมูลโดยมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนชื่อและส่วน นามสกุลโดยส่วนชื่อจะเป็นคาภาษาอังกฤษหรือภาษาใดๆ ที่ระบุ ปฏิบัติการเข้าใจได้ส่วนนามสกุลจะเป็นส่วนที่บอกชนิดของ แฟ้มข้อมูลนั้นๆ การตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลจะเขียนส่วนของชื่อ และนามสกุลต่อกัน โดยมีเครื่องหมาย (.) เป็นตัวคั่น เช่น EXAMPLE.DOC
  • 3. คุณลักษณะของแฟ้ มข้อมูล 1. ชื่อ (Name) ชื่อแฟ้มข้อมูล คือ สัญลักษณ์ (สารสนเทศ) ที่เก็บไว้ในรูปแบบที่ สามารถอ่านได้ 2. ชนิด (Type) ส่วนนี้จาเป็นสาหรับระบบซึ่งสนับสนุนชนิดของข้อมูลหลายๆ ชนิด 3. ตาแหน่ง (Location)] เป็นตัวชี้ไปยังอุปกรณ์และตาแหน่งของแฟ้มข้อมูลบนอุปกรณ์นั้น
  • 4. 4.ขนาด (Size) ขนาดของแฟ้มข้อมูลในปัจจุบัน (ไบต์คา หรือบล็อก) 5. การป้องกัน (Protection) การควบคุมให้สามารถอ่าน เขียน หรือประมวลผลไฟล์นั้นๆ 6. เวลา วันที่ (Date, Time) ข้อมูลเกี่ยวกับวันที่สร้างแฟ้มข้อมูล วันที่แก้ไขครั้ง หรือปรับปรุง สุดท้าย 7. สัญลักษณ์ของผู้ใช้ (User) รายละเอียดของผู้ใช้งาน
  • 5. การดาเนินการเกี่ยวกับแฟ้ มข้อมูล (File Operation) การดาเนินการเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล มีดังนี้ 1. การสร้างแฟ้มข้อมูล (Creating a File) 2. การเขียนแฟ้มข้อมูล (Writing a File) 3. การอ่านแฟ้มข้อมูล (Reading a File) 4.การย้ายตาแหน่งภายในแฟ้มข้อมูล (Repositioning Within a File)
  • 6. 5. การลบแฟ้มข้อมูล (Deleting a File) 6. การตัดแฟ้มข้อมูลให้สั้นลง (Truncating a File) นอกจากการดาเนินการทั้ง 6 ข้อนี้แล้ว ยังมีการทางาน อย่างอื่นอีก เช่น การนาข้อมูลไปต่อท้าย (Append) การ เปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล (Rename) การคัดลอก (Copy) แฟ้มข้อมูล เป็นต้น
  • 7. การสร้างแฟ้ มข้อมูล (Creating a File) การสร้างแฟ้มข้อมูล มีขั้นตอนดังนี้ - หาที่ว่างในระบบแฟ้มข้อมูลของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล - กาหนดช่องว่างของแฟ้มข้อมูลใหม่ในไดเร็กทอรี่ ซึ่ง ไดเร็กทอรี่จะบันทึกชื่อแฟ้มข้อมูล และตาแหน่งในระบบ แฟ้มข้อมูล
  • 8. การเขียนแฟ้ มข้อมูล (Writing a File) การเขียนข้อมูล หรือสารสนเทศลงในแฟ้มข้อมูล ทาได้โดยระบบ จะค้นหาในไดเร็กทอรี่ เพื่อหาตาแหน่งของแฟ้มข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งระบบต้องเก็บ Write Pointer เพื่อระบุตาแหน่งถัดไปที่จะต้อง เขียนข้อมูล การลบแฟ้ มข้อมูล (Deleting a File) เริ่มจากการค้นหาไดเร็กทอรี่เพื่อหาตาแหน่งของแฟ้มข้อมูลที่ ต้องการ เมื่อพบแล้วทาการคืนที่ว่างทั้งหมดของแฟ้มข้อมูลนั้นให้ ระบบ และลบรายละเอียดของแฟ้มข้อมูลนั้นในไดเร็กทอรี่ด้วย
  • 9. โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล แฟ้มข้อมูลต้องมีโครงสร้างที่ระบบปฏิบัติการสามารถเข้าใจได้ เช่น ในระบบแฟ้มข้อมูลของระบบปฏิบัติการ UNIX เป็นการ เรียงลาดับกันของบิดทีละ 8 บิต วิธีนี้มีความยืดหยุ่นมากที่สุด แต่มี ระบบการทางานที่สนับสนุนน้อย โดยมากแล้วแฟ้มข้อมูลที่สร้าง ขึ้นโดยโปรแกรมสาเร็จรูปต่างๆ จะมีการใส่รหัสของตัวเองลงไป ด้วย เพื่อแปลแฟ้มข้อมูลนาเข้าให้เป็นโครงสร้างที่ต้องการ แต่ อย่างน้อยระบบปฏิบัติการจะต้องรู้จักโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล แบบ Executable เพื่อที่จะสามารถประมวลผลได้ ซึ่งแฟ้มข้อมูล ทั่วๆ ไปมีส่วนประกอบ 2 ส่วนคือ
  • 10. 1. Resource Fork เป็นส่วนที่เก็บสารสนเทศที่ผู้ใช้สนใจ เช่น ตัวสลากบนปุ่มที่ แสดงโดยโปรแกรมผู้ใช้ต่างประเทศ อาจจะต้องการเปลี่ยนแปลง ฉลากนั้นเป็นภาษาของเขาเอง ซึ่งเครื่องแมคอินทอชสนับสนุน เครื่องมือให้ปรับปรุงข้อมูลใน Resource Fork ได้ 2. Data Fork เป็นส่วนที่เก็บโปรแกรม รหัสโปรแกรม (Code) หรือเนื้อหา ของแฟ้มข้อมูลทั่วไป
  • 11. วิธีการเข้าถึงแฟ้ มข้อมูล (Access Method) การเข้าถึงแฟ้มข้อมูล สามารถทาได้หลายวิธี 1. การเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลาดับ (Sequential Access) 2. การเข้าถึงแฟ้มข้อมูลโดยตรง (Direct Access) 3. การเข้าถึงแฟ้มข้อมูลแบบอื่น
  • 12. โครงสร้างของไดเร็กทอรี่ (Directory Structure) ไดเร็กทอรี่เปรียบเสมือนส่วนย่อยในดิสก์ที่ถูกสร้างขึ้นสาหรับ เก็บข้อมูล โดยในดิสก์สามารถมีไดเร็กทอรี่ได้ไม่จากัด การดาเนินงานของไดเร็กทอรี่ มีดังนี้ 1. ค้นหาแฟ้มข้อมูล (Search For a File) เป็นการค้นหาแฟ้มข้อมูลตามที่เราต้องการ 2. สร้างแฟ้มข้อมูล (Create a File) เป็นการสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่จาเป็นเพิ่มเข้าไปในไดเร็กทอรี่ 3. ลบแฟ้มข้อมูล (Delete a File) เป็นการลบแฟ้มข้อมูลไม่มีความจาเป็นใช้งานออก
  • 13. 4. แสดงไดเร็กทอรี่ (List a Directory) เป็นการแสดงชื่อและคุณลักษณะของแฟ้มข้อมูลไดเร็กทอรี่ 5. เปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล (Rename a File) เป็นการเปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล เพื่อให้สื่อความหมายตามที่ผู้ใช้ ต้องการ 6. การข้ามระบบแฟ้มข้อมูล (Traverse the File System) เป็นการย้ายหรือคัดลอกข้อมูลไปไว้ในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล ชนิดอื่น เช่น การบันทึกข้อมูลจากดิสก์ลงไปในเทปแม่เหล็ก เพื่อ ใช้ในการสารอง (Backup) ข้อมูล
  • 14. ชนิดของไดเร็กทอรี่ ไดเร็กทอรี่ แบ่งได้เป็น 5 ชนิด ดังนี้ 1. ไดเร็กทอรี่ระดับเดียว (Single-Level Directory) 2. ไดเร็กทอรี่ 2 ระดับ (Two-Level Directory) 3. ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree – Structured Directory) 4. ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบไม่เป็นวงจร (Acyclic Graph Directory) 5. ไดเร็กทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบกราฟทั่วไป (General Graph Directory)
  • 15. การป้ องกันแฟ้ มข้อมูล (File Protection) การป้องกันเป็นกลไกที่จัดเตรียมไว้เพื่อควบคุมการเข้าถึง แฟ้มข้อมูล โดยจากัดชนิดของการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลที่สามารถทาได้ การเข้าถึงจะทาได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น ชนิด ของการร้องขอเข้าถึงแฟ้มข้อมูล