SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
การจัดการข้อมูล

   (Data management)
ข้อมูล   (Data)


       ข้อมูล เป็นองค์ประกอบ ทีสาคัญของระบบ
                                   ่
    สารสนเทศคอมพิวเตอร์ การจัดการข้อมูล (data
    management) เป็นกลยุทธ์ที่ใช้ในการบริหาร
    องค์การ ให้มีประสิทธิภาพ และต้องมีการ
    ตัดสินใจที่ถูกต้อง รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ใน
    การทาธุรกิจในยุคปัจจุบัน



                             ไม่อยากใช่ไหม คับ
วัตถุประสงค์ในการจัดการข้อมูล




     1.การเก็บข้อมูล สามารถนากลับมาใช้งานได้อีกใน
         ภายหลัง
     2.การจัดข้อมูล สามารถนากลับมาใช้งานได้อย่างมี
         ประสิทธิภาพ
     3.การปรับปรุงข้อมูล สามารถปรับปรุงข้อมูลให้เป็น
         ข้อมูลปัจจุบันอยู่เสมอ
     4.การปกป้องข้อมูล ป้องกันข้อมูลให้มีความปลอดภัย
         จากการลักลอบใช้งาน หรือแก้ไข
หน่วยข้อมูล (Data Unit)


          หน่วยของข้อมูลคอมพิวเตอร์สามารถจัดเรียงจากขนาดเล็กไปขนาดใหญ่
    ดังนี้
   บิต (bit) เช่น 0 หรือ 1
   ตัวอักษร (character) ตัวอักษร 1 ตัว
      ASCII 1 bytes ( 8 bit)
      Unicode 2 bytes (16 bit)
   เขตข้อมูล (field) ข้อความใด ๆ ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มตัวอักษรที่แทน
    ข้อเท็จจริง

                ID        NAME         Position
                001       John         Engineer                  ตัวอักษร
                002       Anna         Manager                   เขตข้อมูล
หน่วยข้อมูล (Data Unit)




     ระเบียนข้อมูล (record) กลุ่มของเขตข้อมูลต่างๆ
     แฟ้ม (file) กลุ่มของระเบียนข้อมูลทีมีโครงสร้างเดียวกัน
                                         ่


                    แฟ้ม ตาแหน่ง
           ID      NAME      Position
           001     John      Engineer              แฟ้ม
           002     Anna      Manager               ระเบียนข้อมูล

           …       …         …
หน่วยข้อมูล (Data Unit)


      ฐานข้อมูล (database)     กลุ่มของแฟ้มที่มีความสัมพันธ์
       กัน
                            ฐานข้อมูล



                  อาจารย์

                                        นักศึกษา

                    วิชา
เขตข้อมูลคีย์ (Key Field)

     เขตข้อมูลคีย์ (key field) ใช้สาหรับระบุระเบียนข้อมูลอย่าง
      เฉพาะเจาะจง ข้อมูลในกลุ่มนี้จะไม่ซ้ากับระเบียนอืน ๆ
                                                      ่




              เขตข้อมูลคีย์
ชนิดของข้อมูล (Data Types)
    ค่าตรรกะ (booleans) มีค่า จริง กับ เท็จ
    จานวนเต็ม (integers) เลขที่ไม่มีเศษส่วนหรือทศนิยม เช่น 1, -1, 345,
     -543
    จานวนจริง (floating-point values) จานวนตัวเลขใดๆ เช่น 23.456, -
     4755.3333445
    ตัวอักษร (character) ข้อมูลที่แทนด้วยกลุ่มของบิต เป็นตัวอักษรหรือ
     สัญลักษณ์ เช่น A, S, B
    สายอักขระ (strings) กลุ่มของตัวอักษร
    วันที่และเวลา (date/time) ข้อมูลวันที่หรือเวลา
    ไบนารี (binary) ข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ เช่น แฟ้ม รูปภาพ ไฟล์วิดีโอ
ประเภทของแฟ้มข้อมูล


    แฟ้มหลัก (master files) คือแฟ้มที่เก็บข้อมูลที่เกิดการเปลี่ยนแปลงน้อย
     หรือแทบไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลย อาจเรียกได้ว่าเป็นแฟ้มข้อมูลถาวร
     หรือกึ่งถาวร
       แฟ้มลูกค้า แฟ้มสินค้า แฟ้มข้อมูลการขายประจาเดือน

    แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง (transaction files) คือแฟ้มที่เก็บข้อมูล
     รายการที่เกิดการเปลี่ยนแปลงก่อนที่จะนาไปปรับปรุงให้กับแฟ้มรายการ
     หลัก
       แฟ้มรายการขายในแต่ละวัน
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล



    การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
    การประมวลผลทันที (real-time processing)
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)



  การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) เป็นการประมวลผลโดยรวบรวม
  ข้อมูลต่างๆ มาประมวลผลตามช่วงเวลาที่กาหนด โดยข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล
  อาจมาจากเอกสารต่างๆ ข้อมูลที่ป้อนแบบออนไลน์ แต่ข้อมูลจะยังไม่ถูกประมวลผล
  ทันที จนกว่าจะถึงช่วงเวลาที่กาหนดไว้ เพื่อลดค่าใช้จ่าย เช่น ค่าน้าประปา ค่าไฟฟ้า
  ยอดบัญชีบัตรเครดิต
ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing)



  การประมวลผลทันที (real-time processing) เป็นการ
  ประมวลผลที่ได้ผลลัพธ์ทันที่เมื่อทารายการเข้าสูระบบ เช่น การ
                                                ่
  ถอนเงินจากตู้ ATM ที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนยอดเงินในบัญชี ซึ่งถ้า
  การประมวลผลทาแบบออนไลน์ จะเรียกว่า online transaction
  processing (OLTP)
การเข้าถึงข้อมูล (Data Access)


     การเข้าถึงข้อมูลแบบลาดับ (sequential data access) เป็นการเข้าถึง
      ข้อมูลแบบที่ตองอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ตน จนถึงข้อมูลที่ต้องการ
                   ้                           ้
      เหมาะสาหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลาดับ
     การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม (random data access) การเข้าถึงข้อมูล
      ลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตาแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ เหมาะสาหรับ
      การค้นหาข้อมูลจานวนไม่มาก และมีการเพิ่ม ลบ แก้ไขข้อมูลเป็นประจา
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล


   มีปัจจัยทีต้องพิจารณาในการเลือกโครงสร้าง ได้แก่
              ่
        ปริมาณข้อมูล ความถี่ในการดึงข้อมูล ความถี่ในการปรับปรุงข้อมูล
         จานวนครั้งที่อ่านข้อมูลจากหน่วยความจาสากรองต่อการดึงข้อมูล
     การจัดโครงสร้างข้อมูลแบบต่างๆ
        แฟ้มลาดับ (sequential file)
        แฟ้มสุ่ม ( direct file หรือ hash file)
        แฟ้มดรรชนี (indexed file)
        แฟ้มลาดับดรรชนี (indexed sequential file)
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล


     แฟ้มลาดับ (sequential file) เป็นการจัดโครงสร้างแฟ้มที่ง่าย
      ที่สุด คือ ระเบียนถูกเก็บเรียงต่อเนื่องกันไปตามลาดับของเขต
      ข้อมูลคีย์
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล


     แฟ้มสุ่ม (direct file หรือ hash file) ใช้แก้ปัญหา
      ความล่าช้าในการเข้าถึงข้อมูลของแฟ้มลาดับ คือใช้
      ข้อมูลในเขตข้อมูลคีย์เป็นข้อมูลนาเข้า และให้
      ผลลัพธ์เป็นตาแหน่งที่อยู่ของระเบียน
ตัวอย่างแฟ้มดรรชนี
ตัวอย่างการแทรก record
การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล


    แฟ้มลาดับดรรชนี (indexed sequential file) คือตัว
   ระเบียนในแฟ้มข้อมูลไม่เรียงตามลาดับ แต่เรียงเฉพาะคีย์ใน
   ดรรชนี และมีการกาหนดดรรชนีบางส่วน(partial indexed)
   เพิ่มขึ้นมา




                                                Menu
ตัวอย่างแฟ้มลาดับดรรชนี
ตัวอย่างการแทรก record
เปรียบเทียบโครงสร้างแฟ้มข้อมูล
แฟ้มโปรแกรมและแฟ้มข้อมูล

   แฟ้มโปรแกรม คือแฟ้มโปรแกรมประกอบด้วยชุดคาสั่งต่างๆ
    ที่ทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น โปรแกรมประมวลผลคา
    Microsoft Word



        ประเภทแฟ้มโปรแกรม        ส่วนขยาย
        Command                  COM
        Application Program      EXE
        Batch Program            BAT
        Dynamic Link Library     DLL
แฟ้มโปรแกรมและแฟ้มข้อมูล

   แฟ้มข้อมูล คือแฟ้มที่ได้จากการบันทึกข้อมูลด้วยแฟ้ม
    โปรแกรม ซึ่งแฟ้มข้อมูลบางประเภทสร้างและเปิดด้วย
    โปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่งโดยเฉพาะ

 ประเภทแฟ้มข้อมูล          ส่วนขยาย       โปรแกรม       มาตรฐาน

 Adobe Photoshop Drawing PSD          Adobe Photoshop

 Bitmap                    BMP                             

 Conceptual Data Model     CDM        PowerDesigner
                                      DataArchitect
 Microsoft Word Document   DOC        Microsoft Word

 Visio Drawing             VSD        Visio
ระบบแฟ้มข้อมูล (File Systems)

         ในอดีตการจัดเก็บข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็น
  แฟ้มข้อมูล เมื่อมีการขยายระบบก็เริ่มมีการเก็บข้อมูลที่อิสระต่อ
  กัน ทาให้มีการเก็บข้อมูลอยู่หลายที่ ข้อมูลเหล่านั้นอาจไม่ใช่
  ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน การขยายระบบจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง
  คานึงถึงการจัดเก็บข้อมูลด้วย ซึ่งการเก็บข้อมูลแบบเดิมทาให้
  เกิดปัญหาต่างๆ ดังนี้
ปัญหาของแฟ้มข้อมูล

   ความซ้าซ้อนของข้อมูล (data redundancy)
       เก็บข้อมูลเดียวกันไว้มากกว่า 1 แห่ง เนื่องจากแต่ละหน่วยงาน ต่างคนต่างเก็บ
   สอดคล้องกันของข้อมูล (data inconsistency)
       เก็บแฟ้มข้อมูลไว้หลายที่ เปลี่ยนแปลงในหน่วยงานหนึ่งอาจไม่ได้ตามไปเปลียนแปลงใน
                                                                             ่
        อีกหน่วยงานหนึ่ง
   ข้อมูลแยกอิสระต่อกัน (data isolation)
       แฟ้มข้อมูลไม่มีการเชื่อมโยงกัน ต่างคนต่างเก็บ รูปแบบก็อาจแตกต่างกัน เช่น หน่วยเป็น
        นิ้วและหน่วยเป็นเซ็นติเมตร ทาให้การเข้าถึงทาได้ยาก
ปัญหาของแฟ้มข้อมูล
     ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล (poor security)
         กาหนดสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลทาได้ยากเนื่องจากแต่ละหน่วยงานมีอิสระใน
          การจัดการข้อมูล
     ขาดบูรณภาพของข้อมูล (lack of data integrity)
         การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเป็นไปได้ยาก เช่น ค่าเกรดเฉลี่ยต้อง
          ไม่ติดลบ เนื่องจากข้อมูลเก็บอยู่หลายที่
     ความขึ้นต่อกันระหว่างโปรแกรมประยุกต์กับโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล
      (application / data dependence)
         โครงสร้างแฟ้มขึ้นอยู่กับโปรแกรมประยุกต์ที่แต่ละหน่วยงานใช้ ซึ่งถ้ามีการ
          ปรับเปลี่ยนโปรแกรมประยุกต์ก็ต้องปรับเปลี่ยนโครงสร้างแฟ้มด้วย
ระบบฐานข้อมูล (DATABASE SYSTEMS)


       ระบบฐานข้อมูล (database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและถูก
นามาจัดเก็บในที่เดียวกัน โดยข้อมูลอาจเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลาย
ๆ แฟ้มข้อมูล แต่ต้องมีการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเพื่อประสิทธิภาพในการ
จัดการข้อมูล
      ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System:DBMS) เป็น
ซอฟต์แวร์ระบบที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล เปรียบเหมือนสื่อกลางระหว่างผู้ใช้และ
โปรแกรมประยุกต์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล (DATABASE SYSTEMS)

                     โปรแกรม
                      ทะเบียน
   ฝ่ายทะเบียน
                                                  โครงสร้าง
                                                  ฐานข้อมูล
                      โปรแกรม
                        บัญชี
                                   ระบบจัดการ   ข้อมูลนักศึกษา
   ฝ่ายการเงิน                    ฐานข้อมูล     ข้อมูลการ
                                     (DBMS)     ลงทะเบียน
                                                ข้อมูลผลการเรียน
                      โปรแกรม                   ข้อมูลการเงิน
                       กองทุน                   ข้อมูลกกองทุน
                                                ข้อมูลการยืม-คืน
  ฝ่ายกองทุนกู้ยม
                ื


                    โปรแกรมยืม-
                        คืน
   ฝ่ายห้องสมุด
ข้อดีของระบบฐานข้อมูล


    การใช้ข้อมูลร่วมกัน (data sharing) คือข้อมูลและ
     สารสนเทศจากหน่วยงานหนึ่งสามารถใช้งานร่วมกับหน่วยงาน
     อื่น ๆ ได้
    ลดความซ้าซ้อนของข้อมูล (reduce data
     redundancy) คือ การจัดเก็บข้อมูลจะรวบรวมไว้ในที่เดียวกัน
     หน่วยงานต่าง ๆ สามารถที่จะเรียกใช้แฟ้มข้อมูลเดียวกันได้
     ทาให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูลและลดความซ้าซ้อน
     ลงได้
ข้อดีของระบบฐานข้อมูล


    ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น (improved data integrity)
     คือ การจัดเก็บข้อมูลจะเก็บไว้ในที่แห่งเดียวกัน หากมีการ
     แก้ไขข้อมูลใด ๆ ก็จะปรับปรุง ณ แห่งเดียว ทาให้ข้อมูลมี
     ความถูกต้องมากยิ่งขึ้น
    เพิ่มความปลอดภัยให้กับข้อมูล (increased security) คือ
     การเข้าถึงข้อมูลผู้ใช้จะถูกกาหนดสิทธิ์ด้วยรหัสผ่าน
     (password) ให้สามารถเข้าใช้ข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
ข้อดีของระบบฐานข้อมูล


    มีความเป็นอิสระของข้อมูล (data independency) คือ หากมี
     การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของตารางในฐานข้อมูล ก็ไม่
     จาเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ จึงเกิดความเป็นอิสระ
     ระหว่างการจัดเก็บข้อมูลและการประยุกต์ใช้
จัดทาโดย
นาย ธนพงษ์ น่านกร
   เลขที1 ชั้นม.5
        ่

More Related Content

What's hot

Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
งาคอม
งาคอมงาคอม
งาคอมlookpair
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล Watuka Wannarun
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 
งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1Ruttikan Munkhan
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2kanjana Pongkan
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comlovelovejung
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูลNattipong Siangyen
 
Database management
Database managementDatabase management
Database managementPookngern
 

What's hot (17)

Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
งาคอม
งาคอมงาคอม
งาคอม
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Database management
Database managementDatabase management
Database management
 

Viewers also liked

Viewers also liked (8)

Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
ระบบฐานข้อมูลเรื่องค้าปลีก
ระบบฐานข้อมูลเรื่องค้าปลีกระบบฐานข้อมูลเรื่องค้าปลีก
ระบบฐานข้อมูลเรื่องค้าปลีก
 
การจัดการร้านค้าปลีก
การจัดการร้านค้าปลีกการจัดการร้านค้าปลีก
การจัดการร้านค้าปลีก
 
Category management
Category managementCategory management
Category management
 
Shelf management
Shelf managementShelf management
Shelf management
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
คำศัพท์บทที่ 1 ถึง บทที่ 12
คำศัพท์บทที่  1 ถึง บทที่ 12คำศัพท์บทที่  1 ถึง บทที่ 12
คำศัพท์บทที่ 1 ถึง บทที่ 12
 
Colgate Product life cycle and Bcg Matrix
Colgate Product life cycle and Bcg MatrixColgate Product life cycle and Bcg Matrix
Colgate Product life cycle and Bcg Matrix
 

Similar to หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5

Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic newQoo Kratai
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
หน่อยที่ 1
หน่อยที่ 1หน่อยที่ 1
หน่อยที่ 1palmyZommanow
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comlovelovejung
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comLuckfon Fonew
 
Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic newQoo Kratai
 
Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic newQoo Kratai
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5hattayagif
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณlovelovejung
 
Data processing
Data processingData processing
Data processingchukiat008
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง IntroJenchoke Tachagomain
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนsariya25
 
Database management
Database managementDatabase management
Database managementPookngern
 

Similar to หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5 (20)

Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic new
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่อยที่ 1
หน่อยที่ 1หน่อยที่ 1
หน่อยที่ 1
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic new
 
Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic new
 
Ch5 database system
Ch5 database systemCh5 database system
Ch5 database system
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Slide Chapter1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Data processing
Data processingData processing
Data processing
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอน
 
Database management
Database managementDatabase management
Database management
 

หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5

  • 2. ข้อมูล (Data) ข้อมูล เป็นองค์ประกอบ ทีสาคัญของระบบ ่ สารสนเทศคอมพิวเตอร์ การจัดการข้อมูล (data management) เป็นกลยุทธ์ที่ใช้ในการบริหาร องค์การ ให้มีประสิทธิภาพ และต้องมีการ ตัดสินใจที่ถูกต้อง รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ใน การทาธุรกิจในยุคปัจจุบัน ไม่อยากใช่ไหม คับ
  • 3. วัตถุประสงค์ในการจัดการข้อมูล 1.การเก็บข้อมูล สามารถนากลับมาใช้งานได้อีกใน ภายหลัง 2.การจัดข้อมูล สามารถนากลับมาใช้งานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3.การปรับปรุงข้อมูล สามารถปรับปรุงข้อมูลให้เป็น ข้อมูลปัจจุบันอยู่เสมอ 4.การปกป้องข้อมูล ป้องกันข้อมูลให้มีความปลอดภัย จากการลักลอบใช้งาน หรือแก้ไข
  • 4. หน่วยข้อมูล (Data Unit) หน่วยของข้อมูลคอมพิวเตอร์สามารถจัดเรียงจากขนาดเล็กไปขนาดใหญ่ ดังนี้  บิต (bit) เช่น 0 หรือ 1  ตัวอักษร (character) ตัวอักษร 1 ตัว  ASCII 1 bytes ( 8 bit)  Unicode 2 bytes (16 bit)  เขตข้อมูล (field) ข้อความใด ๆ ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มตัวอักษรที่แทน ข้อเท็จจริง ID NAME Position 001 John Engineer ตัวอักษร 002 Anna Manager เขตข้อมูล
  • 5. หน่วยข้อมูล (Data Unit)  ระเบียนข้อมูล (record) กลุ่มของเขตข้อมูลต่างๆ  แฟ้ม (file) กลุ่มของระเบียนข้อมูลทีมีโครงสร้างเดียวกัน ่ แฟ้ม ตาแหน่ง ID NAME Position 001 John Engineer แฟ้ม 002 Anna Manager ระเบียนข้อมูล … … …
  • 6. หน่วยข้อมูล (Data Unit)  ฐานข้อมูล (database) กลุ่มของแฟ้มที่มีความสัมพันธ์ กัน ฐานข้อมูล อาจารย์ นักศึกษา วิชา
  • 7. เขตข้อมูลคีย์ (Key Field)  เขตข้อมูลคีย์ (key field) ใช้สาหรับระบุระเบียนข้อมูลอย่าง เฉพาะเจาะจง ข้อมูลในกลุ่มนี้จะไม่ซ้ากับระเบียนอืน ๆ ่ เขตข้อมูลคีย์
  • 8. ชนิดของข้อมูล (Data Types)  ค่าตรรกะ (booleans) มีค่า จริง กับ เท็จ  จานวนเต็ม (integers) เลขที่ไม่มีเศษส่วนหรือทศนิยม เช่น 1, -1, 345, -543  จานวนจริง (floating-point values) จานวนตัวเลขใดๆ เช่น 23.456, - 4755.3333445  ตัวอักษร (character) ข้อมูลที่แทนด้วยกลุ่มของบิต เป็นตัวอักษรหรือ สัญลักษณ์ เช่น A, S, B  สายอักขระ (strings) กลุ่มของตัวอักษร  วันที่และเวลา (date/time) ข้อมูลวันที่หรือเวลา  ไบนารี (binary) ข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ เช่น แฟ้ม รูปภาพ ไฟล์วิดีโอ
  • 9. ประเภทของแฟ้มข้อมูล  แฟ้มหลัก (master files) คือแฟ้มที่เก็บข้อมูลที่เกิดการเปลี่ยนแปลงน้อย หรือแทบไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลย อาจเรียกได้ว่าเป็นแฟ้มข้อมูลถาวร หรือกึ่งถาวร  แฟ้มลูกค้า แฟ้มสินค้า แฟ้มข้อมูลการขายประจาเดือน  แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง (transaction files) คือแฟ้มที่เก็บข้อมูล รายการที่เกิดการเปลี่ยนแปลงก่อนที่จะนาไปปรับปรุงให้กับแฟ้มรายการ หลัก  แฟ้มรายการขายในแต่ละวัน
  • 10. ลักษณะการประมวลผลข้อมูล  การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)  การประมวลผลทันที (real-time processing)
  • 11. ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) เป็นการประมวลผลโดยรวบรวม ข้อมูลต่างๆ มาประมวลผลตามช่วงเวลาที่กาหนด โดยข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล อาจมาจากเอกสารต่างๆ ข้อมูลที่ป้อนแบบออนไลน์ แต่ข้อมูลจะยังไม่ถูกประมวลผล ทันที จนกว่าจะถึงช่วงเวลาที่กาหนดไว้ เพื่อลดค่าใช้จ่าย เช่น ค่าน้าประปา ค่าไฟฟ้า ยอดบัญชีบัตรเครดิต
  • 12. ลักษณะการประมวลผลข้อมูล (Data Processing) การประมวลผลทันที (real-time processing) เป็นการ ประมวลผลที่ได้ผลลัพธ์ทันที่เมื่อทารายการเข้าสูระบบ เช่น การ ่ ถอนเงินจากตู้ ATM ที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนยอดเงินในบัญชี ซึ่งถ้า การประมวลผลทาแบบออนไลน์ จะเรียกว่า online transaction processing (OLTP)
  • 13. การเข้าถึงข้อมูล (Data Access)  การเข้าถึงข้อมูลแบบลาดับ (sequential data access) เป็นการเข้าถึง ข้อมูลแบบที่ตองอาศัยการอ่านข้อมูลตั้งแต่ตน จนถึงข้อมูลที่ต้องการ ้ ้ เหมาะสาหรับการอ่านข้อมูลปริมาณมากและเรียงลาดับ  การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม (random data access) การเข้าถึงข้อมูล ลักษณะนี้จะต้องใช้กลไกการหาตาแหน่งระเบียนวิธีต่างๆ เหมาะสาหรับ การค้นหาข้อมูลจานวนไม่มาก และมีการเพิ่ม ลบ แก้ไขข้อมูลเป็นประจา
  • 14. การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล  มีปัจจัยทีต้องพิจารณาในการเลือกโครงสร้าง ได้แก่ ่  ปริมาณข้อมูล ความถี่ในการดึงข้อมูล ความถี่ในการปรับปรุงข้อมูล จานวนครั้งที่อ่านข้อมูลจากหน่วยความจาสากรองต่อการดึงข้อมูล  การจัดโครงสร้างข้อมูลแบบต่างๆ  แฟ้มลาดับ (sequential file)  แฟ้มสุ่ม ( direct file หรือ hash file)  แฟ้มดรรชนี (indexed file)  แฟ้มลาดับดรรชนี (indexed sequential file)
  • 15. การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล  แฟ้มลาดับ (sequential file) เป็นการจัดโครงสร้างแฟ้มที่ง่าย ที่สุด คือ ระเบียนถูกเก็บเรียงต่อเนื่องกันไปตามลาดับของเขต ข้อมูลคีย์
  • 16. การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล  แฟ้มสุ่ม (direct file หรือ hash file) ใช้แก้ปัญหา ความล่าช้าในการเข้าถึงข้อมูลของแฟ้มลาดับ คือใช้ ข้อมูลในเขตข้อมูลคีย์เป็นข้อมูลนาเข้า และให้ ผลลัพธ์เป็นตาแหน่งที่อยู่ของระเบียน
  • 19. การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล แฟ้มลาดับดรรชนี (indexed sequential file) คือตัว ระเบียนในแฟ้มข้อมูลไม่เรียงตามลาดับ แต่เรียงเฉพาะคีย์ใน ดรรชนี และมีการกาหนดดรรชนีบางส่วน(partial indexed) เพิ่มขึ้นมา Menu
  • 23. แฟ้มโปรแกรมและแฟ้มข้อมูล  แฟ้มโปรแกรม คือแฟ้มโปรแกรมประกอบด้วยชุดคาสั่งต่างๆ ที่ทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น โปรแกรมประมวลผลคา Microsoft Word ประเภทแฟ้มโปรแกรม ส่วนขยาย Command COM Application Program EXE Batch Program BAT Dynamic Link Library DLL
  • 24. แฟ้มโปรแกรมและแฟ้มข้อมูล  แฟ้มข้อมูล คือแฟ้มที่ได้จากการบันทึกข้อมูลด้วยแฟ้ม โปรแกรม ซึ่งแฟ้มข้อมูลบางประเภทสร้างและเปิดด้วย โปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่งโดยเฉพาะ ประเภทแฟ้มข้อมูล ส่วนขยาย โปรแกรม มาตรฐาน Adobe Photoshop Drawing PSD Adobe Photoshop Bitmap BMP  Conceptual Data Model CDM PowerDesigner DataArchitect Microsoft Word Document DOC Microsoft Word Visio Drawing VSD Visio
  • 25. ระบบแฟ้มข้อมูล (File Systems) ในอดีตการจัดเก็บข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็น แฟ้มข้อมูล เมื่อมีการขยายระบบก็เริ่มมีการเก็บข้อมูลที่อิสระต่อ กัน ทาให้มีการเก็บข้อมูลอยู่หลายที่ ข้อมูลเหล่านั้นอาจไม่ใช่ ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน การขยายระบบจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง คานึงถึงการจัดเก็บข้อมูลด้วย ซึ่งการเก็บข้อมูลแบบเดิมทาให้ เกิดปัญหาต่างๆ ดังนี้
  • 26. ปัญหาของแฟ้มข้อมูล  ความซ้าซ้อนของข้อมูล (data redundancy)  เก็บข้อมูลเดียวกันไว้มากกว่า 1 แห่ง เนื่องจากแต่ละหน่วยงาน ต่างคนต่างเก็บ  สอดคล้องกันของข้อมูล (data inconsistency)  เก็บแฟ้มข้อมูลไว้หลายที่ เปลี่ยนแปลงในหน่วยงานหนึ่งอาจไม่ได้ตามไปเปลียนแปลงใน ่ อีกหน่วยงานหนึ่ง  ข้อมูลแยกอิสระต่อกัน (data isolation)  แฟ้มข้อมูลไม่มีการเชื่อมโยงกัน ต่างคนต่างเก็บ รูปแบบก็อาจแตกต่างกัน เช่น หน่วยเป็น นิ้วและหน่วยเป็นเซ็นติเมตร ทาให้การเข้าถึงทาได้ยาก
  • 27. ปัญหาของแฟ้มข้อมูล  ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล (poor security)  กาหนดสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลทาได้ยากเนื่องจากแต่ละหน่วยงานมีอิสระใน การจัดการข้อมูล  ขาดบูรณภาพของข้อมูล (lack of data integrity)  การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเป็นไปได้ยาก เช่น ค่าเกรดเฉลี่ยต้อง ไม่ติดลบ เนื่องจากข้อมูลเก็บอยู่หลายที่  ความขึ้นต่อกันระหว่างโปรแกรมประยุกต์กับโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล (application / data dependence)  โครงสร้างแฟ้มขึ้นอยู่กับโปรแกรมประยุกต์ที่แต่ละหน่วยงานใช้ ซึ่งถ้ามีการ ปรับเปลี่ยนโปรแกรมประยุกต์ก็ต้องปรับเปลี่ยนโครงสร้างแฟ้มด้วย
  • 28. ระบบฐานข้อมูล (DATABASE SYSTEMS) ระบบฐานข้อมูล (database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและถูก นามาจัดเก็บในที่เดียวกัน โดยข้อมูลอาจเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลาย ๆ แฟ้มข้อมูล แต่ต้องมีการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเพื่อประสิทธิภาพในการ จัดการข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System:DBMS) เป็น ซอฟต์แวร์ระบบที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล เปรียบเหมือนสื่อกลางระหว่างผู้ใช้และ โปรแกรมประยุกต์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล
  • 29. ระบบฐานข้อมูล (DATABASE SYSTEMS) โปรแกรม ทะเบียน ฝ่ายทะเบียน โครงสร้าง ฐานข้อมูล โปรแกรม บัญชี ระบบจัดการ ข้อมูลนักศึกษา ฝ่ายการเงิน ฐานข้อมูล ข้อมูลการ (DBMS) ลงทะเบียน ข้อมูลผลการเรียน โปรแกรม ข้อมูลการเงิน กองทุน ข้อมูลกกองทุน ข้อมูลการยืม-คืน ฝ่ายกองทุนกู้ยม ื โปรแกรมยืม- คืน ฝ่ายห้องสมุด
  • 30. ข้อดีของระบบฐานข้อมูล  การใช้ข้อมูลร่วมกัน (data sharing) คือข้อมูลและ สารสนเทศจากหน่วยงานหนึ่งสามารถใช้งานร่วมกับหน่วยงาน อื่น ๆ ได้  ลดความซ้าซ้อนของข้อมูล (reduce data redundancy) คือ การจัดเก็บข้อมูลจะรวบรวมไว้ในที่เดียวกัน หน่วยงานต่าง ๆ สามารถที่จะเรียกใช้แฟ้มข้อมูลเดียวกันได้ ทาให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูลและลดความซ้าซ้อน ลงได้
  • 31. ข้อดีของระบบฐานข้อมูล  ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น (improved data integrity) คือ การจัดเก็บข้อมูลจะเก็บไว้ในที่แห่งเดียวกัน หากมีการ แก้ไขข้อมูลใด ๆ ก็จะปรับปรุง ณ แห่งเดียว ทาให้ข้อมูลมี ความถูกต้องมากยิ่งขึ้น  เพิ่มความปลอดภัยให้กับข้อมูล (increased security) คือ การเข้าถึงข้อมูลผู้ใช้จะถูกกาหนดสิทธิ์ด้วยรหัสผ่าน (password) ให้สามารถเข้าใช้ข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
  • 32. ข้อดีของระบบฐานข้อมูล  มีความเป็นอิสระของข้อมูล (data independency) คือ หากมี การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของตารางในฐานข้อมูล ก็ไม่ จาเป็นต้องแก้ไขโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ จึงเกิดความเป็นอิสระ ระหว่างการจัดเก็บข้อมูลและการประยุกต์ใช้