SlideShare a Scribd company logo
1
บทที่ 5
พันธะเคมี
(Chemical Bonding)
5-1
อะตอมของธาตุต่าง ๆ จะรวมกันเป็นโมเลกุลของ
สารประกอบได้นั้น จะต้องมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อะตอมให้อยู่ด้วยกัน แรงยึดเหนี่ยวนี้เรียกว่า พันธะเคมี
โมเลกุลหลาย ๆ โมเลกุลมารวมกันเป็นกลุ่มก้อน
ได้นั้น จะต้องมีแรงยึดเหนี่ยวกันระหว่างแต่ละโมเลกุล
แรงยึดเหนี่ยวนี้เรียกว่า แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
5-2
ความหมายของพันธะเคมี
พันธะเคมี แบ่งออกเป็น
1. พันธะไอออนิก (ionic bond)
2. พันธะโคเวเลนต์(covalent bond)
3. พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์(coordinate
covalent bond)
4. พันธะโลหะ (metallic bond)
5-3
ชนิดของพันธะเคมี
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ได้แก่
1. พันธะไฮโดรเจน (hydrogen bond)
2. แรงแวนเดอร์วาลส์ (Van de Waals forces)
3. แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล - ไอออน
(molecule - ion attractions)
5-4
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
กฎออกเตต (Octet Rule)
ในการเกิดสารประกอบ ส่วนใหญ่อะตอมของธาตุ
ต่าง ๆ จะรวมกันด้วยสัดส่วนที่ทาให้อะตอมเหล่านั้นมี
อิเล็กตรอนวงนอกสุดครบแปด ซึ่งเหมือนกับโครงสร้าง
อะตอมของแก๊สเฉื่อย ทาให้มีความเสถียรเป็นพิเศษ
กฎออกเตต เป็นกฎทั่ว ๆ ไป สารประกอบบางตัว
อาจเสถียรโดยไม่เป็นไปตามกฎนี้
5-5
เกิดจากการที่อะตอมหนึ่งให้อิเล็กตรอนจากระดับ
พลังงานนอกสุดไปกลายเป็ น ไอออนบวก(cation)
อะตอมหนึ่งรับอิเล็กตรอนมากลายเป็นไอออนลบ
(anion) ไอออนบวกและไอออนลบจะดึงดูดกันด้วยแรง
ไฟฟ้าสถิต แรงนี้เรียกว่า พันธะไอออนิก
5-6
พันธะไอออนิก
(Ionic Bond)
7
ไอออนบวก : อะตอมสูญเสีย e-
11
23 Na
-1e-
Na+
จานวน p > e- 1 อนุภาค
: การจัดเรียง e- : 2 8
Mg(2 8 2) -2e-
Mg2+(2 8)
จานวน p > e-
: การจัดเรียง e- : 2 8 1
5-7
8
ไอออนลบ : อะตอมรับ e- เพิ่ม
1735Cl ( 2 8 7) +1e-
Cl- (2 8 8)
จานวน e- > p 1 อนุภาค
816O (2 6)
+2e-
O2- (2 8)
จานวน e- > p
5-8
9
Chlorine Cl
2-8-7
Sodium Na
2-8-1
17+11+
อธิบายการเกิดพันธะไอออนิก
5-9
อะตอมที่มีอิเล็กตรอนวงนอกอยู่น้อยมีแนวโน้มจะให้
อิเล็กตรอนเกิดไอออนบวกได้ง่ายได้แก่ อะตอมโลหะ อะตอมที่
มีอิเล็กตรอนวงนอกอยู่มากได้แก่ อะตอมของอโลหะ มีแนวโน้ม
ที่จะรับอิเล็กตรอนจากโลหะเกิดไอออนลบ
โลหะ: ชอบให้อิเล็กตรอน ไอออนบวก ยึดกันด้วย
พันธะ
อโลหะ: ชอบรับอิเล็กตรอน ไอออนลบ ไอออนิก
5-10
สารประกอบที่ประกอบด้วยพันธะไอออนิก เรียกว่า
สารประกอบไอออนิก (ionic compound)
1. สารประกอบไอออนิก : เป็นของแข็งที่เป็นผลึก
2. จุดหลอมเหลวสูง
CCZr
COMg
CClNa
o44
o22
o
3500=mp.
2640=mp.
801=mp.


 




ขึ้นกับแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างประจุและขนาด
ของไอออนหรือระยะห่าง
ระหว่างไอออน
มาก
สมบัติทั่วไป
5-11
สารประกอบไอออนิก (Ionic compound)
3. โครงผลึกเป็นกลางทางไฟฟ้ าเพราะ เป็นการ
จัดเรียงของไอออนบวกและลบซึ่งล้อมรอบ
ซึ่งกันและกันอย่างสมมาตรในโครงผลึก 3 มิติ
จึง เป็นพันธะที่ไม่มีทิศทาง
เรียกโครงสร้างแบบ rock salt (NaCl-st)
6 : 6
จานวน Cl- ที่ล้อมรอบ Na+ “ด้วยระยะทางที่เท่ากันและใกล้ที่สุด”
จานวน Na+ ที่ล้อมรอบ Cl-



Na+ Cl- Na+ Cl-
Cl- Na+ Cl- Na+
Na+ Cl- Na+ Cl-
Na+Cl--st.
ต.ย.
5-12
Cs+Cl- -st. ล้อมรอบซึ่งกันและกัน = 8 : 8 เป็นต้น
: สารประกอบไอออนิกจะมีโครงสร้างแบบใด
ขึ้นกับอัตราส่วนรัศมีระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ
5. ไม่นาไฟฟ้ า ยกเว้น เมื่อหลอมเหลว/ ละลายน้า
เพราะ……….…….....................................................................
6. แข็งแต่เปราะ เพราะ…………............................................
……………………………………………………………….
d
-
H Hd
+
NaCl Na+
(aq)+ Cl-
(aq)
H2O
d
+
4. ส่วนใหญ่ละลายน้าได้
เมื่อมีแรงมากระทบ ทาให้ระนาบใดระนาบหนึ่ง
ของผลึกเลื่อนไป เป็นผลทาให้ประจุชนิดเดียวกันอยู่ใกล้กัน ทาให้เกิดแรงผลัก
ระหว่างระนาบสูง ---> เปราะ
ไอออนบวกและลบในสภาวะของแย็ง ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ
5-13
+
+
+
+
+
+
+
+ +
+
++
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
แสดงการจัดเรียงตัวของไอออนบวกและลบ
ของโครงสร้างแบบ NaCl
5-14
: เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมของอโลหะ
เป็นการใช้ e- ร่วมกันระหว่างอโลหะ 2 อะตอม
เพื่อให้วงนอกสุดครบ 8 (หรือครบ 2 กรณี H)
Cl2 Cl + Cl Cl - Cl
O2 O + O O = O
HCl H + Cl H - Cl
S + S + S -S-S-S-
long chains
H2 H + H H - H
-dd
+
5-15
พันธะโคเวเลนต์ (Covalent Bond)
: โครงสร้างของธาตุที่อะตอมยึดกันด้วยพันธะ
โคเวเลนต์ จะเป็นไปตามกฎ 8-N Rule
8-N คือจานวนอะตอมใกล้ที่สุดของแต่ละ
อะตอมโดย N = จานวน e- วงนอกสุด
ธาตุ N 8-N โครงสร้าง
Cl 7 1 โมเลกุลอะตอมคู่, Cl2
S,Se,Te 6 2 โซ่ยาว, long chain
As, Sb, Bi 5 3 แผ่น, sheets of atoms
C 4 4 โครงร่างตาข่าย 3 มิติ,
net work 5-16
ธาตุที่มี N < 4 ไม่สามารถเกิดพันธะ
โคเวเลนต์ได้ สรุป เฉพาะ C เท่านั้น
(เพชร, mp = 3500oC) ที่ให้โครงสร้าง
3 มิติโดยทุกพันธะเป็นโคเวเลนต์ ซึ่งจัด
เป็น พวกโครงร่างตาข่าย ดังนั้นพันธะ
โคเวนเลนต์ : เป็นพันธะที่แข็งแรงมาก
ถ้าเกิดทุกทิศทางใน 3 มิติ
5-17
พันธะโคเวเลนต์แบบมีขั้ว พันธะที่เกิดจากอะตอมที่มี
ค่า electronegativity (EN) ต่างกัน หมอกอิเล็กตรอน
จะหนาแน่นบริเวณใกล้อะตอมหนึ่งมากกว่าอีกอะตอม
หนึ่ง ทาให้อะตอมหนึ่งมีประจุค่อนข้างไปทางลบ
เล็กน้อย อีกอะตอมหนึ่งมีประจุค่อนข้างไปทางบวก
เล็กน้อย พันธะแบบนี้เรียกว่าพันธะโคเวเลนต์แบบมี
ขั้ว (polar covalent bond หรือ polar bond) เช่น HCl
5-18
พันธะโคเวเลนต์แบบมีขั้วและแบบไม่มีขั้ว
พันธะโคเวเลนต์แบบไม่มีขั้ว (non - polar covalent
bond) เกิดจากธาตุที่มีค่า EN เท่ากัน เช่น H2, N2, O2
5-19
พันธะโคเวเลนต์แบบมีขั้วและแบบไม่มีขั้ว
โมเลกุลโคเวเลนต์ที่มีพันธะโคเวเลนต์แบบไม่มีขั้ว
โมเลกุลจะไม่มีขั้ว
โมเลกุลโคเวเลนต์ชนิดสองอะตอมที่มีพันธะโคเวเลนต์
แบบมีขั้ว โมเลกุลจะมีขั้วด้วย เช่น HCl, HF, HBr
โมเลกุลโคเวเลนต์ชนิดมากกว่าสองอะตอมที่มีพันธะ
โคเวเลนต์แบบมีขั้ว โมเลกุลอาจจะมีขั้วหรือไม่มีขั้วก็ได้
แล้วแต่รูปร่างของโมเลกุล
5-20
สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
สภาพขั้วของโมเลกุลขึ้นอยู่กับผลรวมเวกเตอร์ทาง
คณิตศาสตร์ของทุกพันธะในโมเลกุล ถ้าผลรวม
เวกเตอร์หักล้างกันหมด (ผลรวมเวกเตอร์เท่ากันศูนย์)
แสดงว่า เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว เช่น CO2
ถ้าผลรวมเวกเตอร์หักล้างกันไม่หมด (ผลรวมเวกเตอร์
ไม่เท่ากับศูนย์) แสดงว่าโมเลกุลมีขั้ว เช่น H2O, NH3
5-21
สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์
(Coordinate Covalent Bond)
พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ คือ พันธะโคเวเลนต์ที่
อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกันเพื่อเกิดพันธะมาจากอะตอมใด
อะตอมหนึ่งเพียงอะตอมเดียว
มักใช้ แทน เช่น NH3 + H+ ได้ NH4
+
5-22
พันธะโลหะ (Metallic Bond)
1. free - electron theory (e- sea model)
2. ทฤษฎีแถบพลังงาน (bond theory)
: เป็นทฤษฏีที่อธิบายพันธะเคมีและสมบัติต่าง ๆ ของโลหะได้ดี
โลหะ : เป็นผลึก (Metallic crystal)
อนุภาคของโลหะจัดเรียงตัวเป็นระเบียบและยึดกัน
ด้วยพันธะโลหะ
พันธะโลหะ : เป็นแรงดึงดูดระหว่าง ไอออนบวก
ของโลหะกับทะเล e- ซึ่งมีประจุลบ e- เหล่านี้
ถูกดึง (ionized) ออกมาจากแต่ละอะตอมของโลหะ
5-23
: เป็นแรงยึดเหนี่ยวที่แข็งแรง & ไม่มีทิศทาง
ฉะนั้นพวกโลหะจึงแข็ง มี mp & bp สูง
(โดยทั่วไปสูงกว่า สารประกอบไอออนิก)
: e- เหล่านี้เคลื่อนที่อย่างอิสระตลอดเวลาเรียก
ทะเล e-
: พันธะไม่ได้อยู่ที่อะตอมคู่ใดคู่หนึ่ง เป็นแรงดึงดูด
ที่เกิดขึ้นทั้งหมดไปทั้งโครงผลึก ซึ่งต่างจากพันธะ
โคเวเลนต์
5-24
+
+ + + + + + +
+ + + + + + +
++ + + + +
+ + + + + + +
: แรงนี้จะมากหรือน้อยขึ้นกับปริมาณ e- ในโครงผลึก
ขนาดของประจุบวกและขนาดของอะตอม
ฉะนั้น โลหะแทรนซิชัน เช่น Fe จึงแข็งกว่าโลหะ
หมู่ 1, 2 และโลหะหมู่ 2 (เช่น Be, Mg) จะแข็งกว่า
โลหะหมู่ 1 (เช่น Na, Li)
5-25
ทฤษฏีนี้ สามารถอธิบายสมบัติต่างๆ
ของโลหะ ได้ดังนี้
1. นาความร้อนได้ดี เพราะจากการสั่นอย่างต่อเนื่อง
ระหว่าง e- ที่อยู่ถัดกัน ทาให้พลังงานความร้อน
กระจายผ่านโครงผลึกอย่างรวดเร็ว
2. นาไฟฟ้ าได้ดี เพราะ…….……….......................................ทะเล e- (ซึ่งเป็นอนุภาคที่มีประจุ) เคลื่อนที่ตลอดเวลา
5-26
3. มันวาว (high reflectivity) เพราะ e- ดูดกลืน
พลังงานแสงทาให้ e- เหล่านี้ถูกกระตุ้นไปอยู่
ระดับพลังงานสูงขึ้นซึ่งไม่เสถียร จึงกลับลงมา
ที่สภาวะเดิมพร้อมกับคายพลังงานออกมา
จึงเห็นแสงสะท้อนจากผิวโลหะตลอดเวลา
4. มีความแข็งแกร่ง แต่ไม่เปราะและดึง ยืดเป็น
แผ่นบาง ๆ ได้ เพราะ………………...................................ถึงแม้ระนาบของผลึกเลื่อนไป เนื่องจากแรงกระทบ
ก็ไม่มีผลต่อแรงยึดเหนี่ยวเนื่องจาก ทะเล e- เคลื่อนที่ไปได้ทุก ๆ
ระนาบที่เลื่อนไป
5-27
Na+ Na+ Na+
e- e- e-
Na+ Na+ Na+
e- e- e-
Na+ Na+ Na+
e- e- e-
แม้ระนาบของ
อะตอมเลื่อนไป
ก็ไม่มีผลต่อ
แรงยึดเหนี่ยว
5. ระหว่างโลหะต่างชนิดกัน เกิดโลหะผสม (alloys) ได้
แต่ขนาดของโลหะต้องไม่ต่างกันมาก เนื่องจาก e-
เคลื่อนที่เป็นอิสระไม่ได้ถูกยึดไว้เหมือนพันธะไอออนิก
หรือโคเวเลนต์
5-28
2. ทฤษฎีแถบพลังงาน (Band theory) : ทฤษฎีนี้
อาศัยพื้นฐานของทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล คือ ถ้ามี 2
อะตอมมิกออร์บิทัลรวมกันก็จะได้สองโมเลกุลาร์
ออร์บิทัล โดยออร์บิทัลหนึ่งมีพลังงานสูงเป็ นแบบ
ต้านพันธะ (AMO) อีกอันหนึ่งมีพลังงานต่าเป็นแบบ
มีพันธะ (BMO) แต่ละโมเลกุลาร์ออร์บิทัลสามารถ
บรรจุอิเล็กตรอนได้ไม่เกิน 2 อิเล็กตรอนโดยมีสปิ น
ตรงข้ามกัน
5-29
เมื่อมีอะตอมมากขึ้นและจานวน MO มากขึ้น ระดับพลังงานของ
MO จะต่างกันน้อยลง ระดับพลังงานที่ใกล้ชิดกันมากนี้จะดูเสมือน
เป็นแถบต่อเนื่องกัน จึงเรียกว่าแถบพลังงาน (energy band) กรณี
ของ Li แถบพลังงานได้มาจาก 2s orbital จะเรียกว่าแถบ 2s
ตัวอย่าง การบรรจุอิเล็กตรอนของโลหะลิเทียม
5-30
31
แถบอนุญาต (allowed band) และช่องต้องห้าม (forbidden gap)
5-31
ทฤษฎีที่ใช้อธิบายพันธะโคเวเลนต์
ทฤษฎีที่อธิบายการเกิดพันธะโคเวเลนต์ แบ่งออกเป็นสอง
ทฤษฎี คือ
1. ทฤษฎีพันธะเวเลนซ์ (Valence Bond Theory, VB )
2. ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล (Molecular Orbital
Theory, MO)
5-32
33
ทฤษฎีพันธะเวเลนซ์เป็นทฤษฎีที่ใช้อธิบายการเกิดพันธะด้วย
การซ้อนเหลื่อมกันของออร์บิทัลอะตอม โดยทั่วไปแล้วถ้า
อิเล็กตรอนมีสปินเหมือนกันเมื่อเข้าใกล้กันจะมีการผลักกันเกิดขึ้น
ทาให้พลังงานเพิ่มขึ้น ถ้าอิเล็กตรอนมีสปินตรงกันข้าม เมื่อเข้าใกล้
กันจะมีการดึงดูดกันเกิดขึ้น ทาให้พลังงานลดลง
5-33
ทฤษฎีพันธะเวเลนซ์ (Valence Bond Theory)
ในกรณีของอะตอมสองอะตอมที่อิเล็กตรอนมีสปินตรงกันข้าม
จะเห็นว่า อะตอมสามารถซ้อนเหลื่อมกันได้ในระดับหนึ่งเท่านั้น ถ้ามี
การซ้อนเหลื่อมกันมากกว่านี้ พลังงานของโมเลกุลจะเพิ่มขึ้นอย่าง
รวดเร็ว ทาให้โมเลกุลที่เกิดขึ้นไม่เสถียร ro คือ ตาแหน่งที่อะตอม
ทั้งสองเกิดการซ้อนเหลื่อมกัน แล้วทาให้โมเลกุลที่ได้มีพลังงาน
ต่าสุด การซ้อนเหลื่อมของออร์บิทัลจะสอดคล้องกับความแข็งแรงของ
พันธะ คือ ถ้ามีอิเล็กตรอนหนาแน่นมากในตาแหน่งที่ซ้อนเหลื่อม
(ระหว่างนิวเคลียสของสองอะตอม) พันธะที่เกิดขึ้นก็จะมีความแข็งแรง
5-34
ข้อดีของทฤษฎีพันธะเวเลนซ์ คือ ใช้อธิบายการเกิดพันธะเมื่อทราบ
รูปร่างโมเลกุล และยังสามารถอธิบายได้ว่าทาไมพันธะเดี่ยวมีความยาว
พันธะมากกว่าพันธะคู่ และพันธะคู่มีความยาวพันธะมากกว่าพันธะ
สาม รวมถึงอธิบายลาดับความแข็งแรงของพันธะได้อีกด้วย
ลาดับความแข็งแรงของพันธะ พันธะสาม > พันธะคู่ > พันธะเดี่ยว
ความยาวพันธะ พันธะสาม < พันธะคู่ < พันธะเดี่ยว
5-35
พันธะเดี่ยวเกิดจากพันธะซิกมา 1 พันธะ พันธะคู่เกิดจาก
พันธะซิกมา 1 พันธะ และพันธะไพ 1 พันธะ พันธะสามเกิดจาก
พันธะซิกมา 1 พันธะ และพันธะไพ 2 พันธะ จะเห็นว่าพันธะคู่
และพันธะสามมีการสร้างพันธะทั้งพันธะซิกมาและไพ จึง
แข็งแรงกว่าพันธะเดี่ยว อย่างไรก็ตามพันธะสามมีการสร้าง
พันธะซิกมาเท่ากับพันธะคู่แต่มีพันธะไพมากกว่า ดังนั้น
จึงแข็งแรงกว่า
5-36
ในแง่ของความยาวพันธะ จะเห็นว่าพันธะคู่และพันธะสาม
สั้นกว่าพันธะเดี่ยว เนื่องจากมีการซ้อนเหลื่อมตามแนวข้าง
เพื่อให้เกิดพันธะไพ ดังนั้นอะตอมจึงต้องอยู่ชิดกันเพื่อให้
สามารถซ้อนเหลื่อมกันได้ตามแนวข้าง ในขณะที่พันธะเดี่ยวไม่
มีการซ้อนเหลื่อมตามแนวข้าง อย่างไรก็ดีพันธะสามสั้นกว่า
พันธะคู่เนื่องจากมีการซ้อนเหลื่อมตามแนวข้างถึงสองแกน
ในขณะที่พันธะคู่มีการซ้อนเหลื่อมตามแนวข้างเพียงแกนเดียว
5-37
5-38
เช่น F2 (1s2 2s2 2p5) แผนผังแสดงอิเล็กตรอนที่เกี่ยวข้องในการสร้างพันธะ
เป็นดังนี้
รูปการซ้อนเหลื่อมของ 2pz ออร์บิทัล แสดงได้ดังนี้
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
ไฮบริไดเซซัน คือ ปรากฎการณ์ที่ออร์บิทัลในอะตอม
เดียวกัน ที่มีระดับพลังงานใกล้เคียงกันเกิดการรวมกันเกิด
เป็นไฮบริดออร์บิทัล (hybrid orbital) ซึ่งแต่ละไฮบริด-
ออร์บิทัลจะครอบครองพื้นที่เท่ากัน และอยู่ห่างกันมาก
ที่สุดเพื่อทาให้พลังงานรวมของออร์บิทัลมีพลังงานน้อย
ที่สุด ผลที่เกิดขึ้นก็คือ เกิดไฮบริดออร์บิทัลมีรูปร่างต่าง ๆ
กันไป และพลังงานรวมของไฮบริดออร์บิทัลน้อยกว่า
ผลรวมพลังงานทั้งหมดของออร์บิทัลอะตอมก่อนการเกิด
ไฮบริไดเซซัน
5-39
เช่น
C6
2p
2s
พบว่าอะตอมคาร์บอนมี e- เดี่ยวใน 2p ออร์บิทัล 2 ตัว ดังนั้นควร
เกิดพันธะโคเวเลนต์กับอะตอมอื่นได้เพียง 2 พันธะเท่านั้น แต่ความจริง
แล้วคาร์บอนสามารถเกิดได้ 4 พันธะ โดยพิจารณาจากการผสมกันของ
s และ p ออร์บิทัลเข้าด้วยกัน เรียก ไฮบริดออร์บิทัล
ไฮบริดออร์บิทัล จะมีลักษณะ สมบัติ และระดับพลังงานเท่ากัน
ทุกประการ 5-40
41
C6
2p
2s
sp3 ไฮบริไดเซชัน
ระดับพลังงานของออร์บิทัลในสภาวะพื้น (s2p2)
ระดับพลังงานของ sp3
ไฮบริดออร์บิทัล
คาร์บอน เกิดการรวมกันของ s ออร์บิทัล 1 ออร์บิทัล และ p ออร์บิทัล
3 ออร์บิทัล เกิดเป็น sp3 ไฮบริไดเซชัน
5-41
ประเภทของไฮบริดออร์บิทัล
1. sp - ไฮบริดออร์บิทัล เกิดจากการรวมกันระหว่าง s และ p
ออร์บิทัลอย่างละหนึ่งออร์บิทัล ได้ไฮบริดออร์บิทัลป็นเส้นตรง
ดังรูป
5-42
ตัวอย่างของ sp - ไฮบริดออร์บิทัล เช่น BeCl2, C2H2
BeCl2
จากแผนผังจะเห็นว่า Be ไม่มีอิเล็กตรอนเดี่ยวที่สามารถนาไปใช้ในการ
สร้างพันธะร่วมกับอะตอมของ Cl ได้เลย ดังนั้น จึงเกิดไฮบริไดเซซันเกิด
เป็นไฮบริดออร์บิทัลใหม่ที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยวสองตัว ดังนั้นสองอะตอม
ของ Cl จึงสามารถ เข้ามาสร้างพันธะเป็นโมเลกุล BeCl2 ดังรูป 5-43
5-44
BeCl2
C2H2
C2H2 ; จะเห็นว่าเกิดไฮบริไดเซซันระหว่าง 2s กับ 2p ออร์บิทัล
หนึ่งได้เป็น sp - ไฮบริดออร์บิทัลมีอิเล็กตรอนเดี่ยวสองตัว
ตัวหนึ่งเกิดพันธะซิกมากับ H และอีกตัวเกิดพันธะซิกมากับ
คาร์บอนอีกตัว ส่วน p - ออร์บิทัลเกิดพันธะไพกับคาร์บอน
อะตอมอีกตัวได้เป็นโมเลกุลเส้นตรงดังรูป
5-45
2. sp2-ไฮบริดออร์บิทัล เกิดจากการรวมกันระหว่าง s 1ออร์บิทัล
และ p 2 ออร์บิทัล ได้ไฮบริดออร์บิทัลป็นสามเหลี่ยมแบนราบ
ดังรูป
5-46
ตัวอย่างของ sp2 - ไฮบริดออร์บิทัล เช่น C2H4, BF3
BF3
อะตอมของ B เกิดการไฮบริไดเซซันระหว่าง s 1ออร์บิทัลและ p 2 ออร์บิทัล
ได้sp2-ไฮบริดออร์บิทัล ที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยวสามตัว ดังนั้นจึงสามารถสร้าง
พันธะกับ F ทั้งสามอะตอมได้ดังรูป
5-47
C2H4
C2H4 ; จะเห็นว่าเกิดไฮบริไดเซซันระหว่าง 2s กับ p สองออร์บิทัลได้เป็น
sp2- ไฮบริดออร์บิทัลมีอิเล็กตรอนเดี่ยวสามตัว โดยสองตัวเกิดพันธะซิกมา
กับ H และอีกตัวเกิดพันธะซิกมากับคาร์บอนอีกตัว ส่วน p - ออร์บิทัลเกิด
พันธะไพกับคาร์บอนอะตอมอีกตัวได้เป็นโมเลกุลดังรูป
5-48
3. sp3 - ไฮบริดออร์บิทัล เกิดจากการรวมกันระหว่าง s 1 ออร์บิทัล
และ p 3 ออร์บิทัลได้ไฮบริดออร์บิทัลป็นรูปทรงสี่หน้าดังรูป
5-49
5-50
ตัวอย่างของ sp3 -ไฮบริดออร์บิทัล เช่น CH4
2s กับ 2p ในอะตอมของ C เกิดการไฮบริไดเซชันได้ sp3 -ไฮบริดออร์บิทัล
ที่มีอิเล็กตรอนสี่ตัว ดังนั้นจึงสามารถสร้างพันธะกับ H ทั้งสี่อะตอมได้เป็น
โมเลกุลดังรูป
4. sp3d - ไฮบริดออร์บิทัล เกิดจากการรวมกันระหว่าง s ออร์บิทัล
1 ออร์บิทัล, d ออร์บิทัล 1 ออร์บิทัลและ p ออร์บิทัล 3 ออร์บิทัล
ได้ไฮบริดออร์บิทัลป็นรูปคู่พีระมิดร่วมฐานสามเหลี่ยม (trigonal
bipyramid) ดังรูป
5-51
5-52
ตัวอย่างของ sp3d - ไฮบริดออร์บิทัล เช่น PCl5
3s, 3p และ 3d ในอะตอมของ P เกิดการไฮบริไดเซชันได้ sp3d - ไฮบริด-
ออร์บิทัลมีอิเล็กตรอนเดี่ยวห้าตัว ดังนั้นจึงสามารถสร้างพันธะกับ Cl ทั้ง
ห้าอะตอมได้เป็นโมเลกุล ดังรูป
5. sp3d2 - ไฮบริดออร์บิทัล เกิดจากการรวมกันระหว่าง s ออร์บิทัล
1 ออร์บิทัล, d ออร์บิทัล 2 ออร์บิทัลและ p ออร์บิทัล 3 ออร์บิทัล
ได้ไฮบริดออร์บิทัลเป็นรูปทรงแปดหน้า (octahedral) ดังรูป
5-53
ตัวอย่างของ sp3d2 - ไฮบริดออร์บิทัล เช่น SF6
5-54
3s, 3p และ 3d ในอะตอมของ S เกิดการไฮบริไดเซชันได้ sp3d2 - ไฮบริด-
ออร์บิทัล ที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยวหกตัว ดังนั้นจึงสามารถสร้างพันธะกับ F
ทั้งหกอะตอมได้เป็นโมเลกุล ดังรูป
ทฤษฏีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล
1. อะตอมมิกออร์บิทัล
คือบริเวณรอบ ๆ นิวเคลียสที่มีโอกาสพบอิเล็กตรอนมาก
ที่สุด ซึ่งอิเล็กตรอนเหล่านั้นถูกแบ่งโดยระดับชั้นพลังงาน
ระดับพลังงานหลัก, n 1 2 3 4
จานวน e- สูงสุด, 2n2 2 8 18 32
ระดับพลังงานย่อย 1s 2s 2p 3s 3p 3d 4s 4p 4d 4f
จานวน e- สูงสุดต่อระดับ
พลังงานย่อย
2 2 6 2 6 10 2 6 10 14
การเติมในออร์บิทัล 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 3d10 4s2 4p6 4d10 4f14
ออร์บิทัลต่อระดับพลังงานย่อย 1 1 3 1 3 5 1 3 5 7
5-55
56
ตัวอย่าง รูปร่างของอะตอมมิกออร์บิทัลแบบ s และ แบบ p
s orbital
p orbital
5-56
2. โมเลกุลาร์ออร์บิทัล
การซ้อนเหลื่อมกันของออร์บิทัลอะตอม ทาให้เกิดออร์บิทัล
โมเลกุลซึ่งแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ
1. ออร์บิทัลโมเลกุลแบบสร้างพันธะ (bonding molecular
orbital ; BMO) การเกิดออร์บิทัลโมเลกุลแบบนี้จะทาให้
อิเล็กตรอนมีพลังงานลดลง นั่นคือมีความเสถียรมากขึ้น
2. ออร์บิทัลโมเลกุลแบบต้านพันธะ (anti - bonding molecular
orbital ; AMO) การเกิดออร์บิทัลโมเลกุลแบบนี้จะทาให้
อะตอมที่ได้มีพลังงานเพิ่มขึ้น นั่นคือมีความเสถียรน้อยลง
5-57
5-58
อันตรกิริยาของออร์บิทัลอะตอมที่ทาให้เกิด BMO และ AMO แสดงได้ดังรูป
ออร์บิทัล - s (s - orbital)
ออร์บิทัล - p (p - orbital)
5-59
ก. ซ้อนเหลื่อมตามแนวปลาย
ข. ซ้อนเหลื่อมตามแนวข้าง
จากรูปแสดงการเกิดออร์บิทัลโมเลกุลจากการซ้อนเหลื่อมกันของออร์บิทัล - p
ก.ออร์บิทัล-p ทั้งสองเกิดการซ้อนเหลื่อมตามแนวปลายเกิดเป็นพันธะซิกมา
( σ-bond)
ข.ออร์บิทัล-p ทั้งสองเกิดการซ้อนเหลื่อมตามแนวข้างเกิดเป็นพันธะไพ (p-bond)
จากรูปจะเห็นว่าออร์บิทัลโมเลกุลแบบสร้างพันธะจะมีพลังงานต่ากว่าแบบ
ต้านพันธะเสมอ
(* หมายถึงต้านพันธะ)
BMO และ AMO ที่ได้จากการรวมกันของออร์บิทัล-s จะแทนด้วยสัญลักษณ์ σs
และ σ*s ตามลาดับ
BMO และ AMO ที่ได้จากการรวมกันของออร์บิทัล-p จะแทนด้วยสัญลักษณ์ σz,
σ*z, px, p*x , py , p*y
เมื่อ pz เกิดการซ้อนเหลื่อมตามแนวปลาย px, py เกิดการซ้อนเหลื่อมตามแนวข้าง
5-60
โดยทั่วไปแล้วระดับพลังงานของออร์บิทัลโมเลกุลมีลาดับดังนี้
σ1s < σ*1s < σ2s < σ*2s < py, px < σz < p*y , p*x < σ*z
ยกเว้น O2 และ F2 ที่ 2σz < 2pPx < 2pPy ซึ่งสามารถแสดงเป็น
แผนผังได้ดังนี้
5-61
AO = ออร์บิทัลอะตอม
MO = ออร์บิทัลโมเลกุล
แผนผังดังกล่าวใช้ได้กับกรณีของอะตอมคู่ธาตุเดี่ยว (homonucleardiatomic molecule)เท่านั้น
5-62
ก. กรณีของอะตอมคู่ธาตุเดี่ยว (homonuclear diatomic molecule)
สาหรับโมเลกุลทั่วไป สาหรับโมเลกุลของ O2, F2
การบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัล
1. ให้นาเวเลนซ์อิเล็กตรอนของแต่ละอะตอมมารวมกันโดยไม่สนใจว่า
มาจากอะตอมใด
2. จากนั้นให้บรรจุเวเลนซ์อิเล็กตรอนทั้งหมดลงในออร์บิทัลโมเลกุล
โดยให้เริ่มบรรจุในออร์บิทัลมีพลังงานต่าก่อน โดยยึดหลักที่ว่า
2.1 หนึ่งออร์บิทัลมีอิเล็กตรอนได้ไม่เกิน 2 ตัว
2.2 อิเล็กตรอนสองตัวในออร์บิทัลเดียวกันต้องมีสปินที่ตรงกันข้าม
3. ถ้ามีสองออร์บิทัลมีพลังงานเท่ากันเช่น px และ py ให้บรรจุ
อิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลใดก่อนก็ได้โดยบรรจุตามกฏของฮุนด์
จากนั้น ถ้ามีอิเล็กตรอนเหลือก็ให้บรรจุในออร์บิทัลใดก่อนก็ได้โดยมี
สปินตรงข้ามกับอิเล็กตรอนตัวเดิม
5-63
H มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 1 ตัว ดังนั้น 2H จึงมีอิเล็กตรอน 2 ตัว จากแผนผังจะเห็นว่า
อิเล็กตรอนทั้งสองถูกบรรจุลงในออร์บิทัลโมเลกุลมีพลังงานต่าสุด
นั่นคือ ออร์บิทัลซิกมา (เกิดพันธะซิกมา) หลังจากที่อิเล็กตรอนทั้งสองมารวมอยู่
ในออร์บิทัลโมเลกุลเกิดเป็น H2 จะเห็นว่ามีพลังงานต่ากว่าที่เป็น H อะตอม
5-64
ตัวอย่างการบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลโมเลกุล
อันดับพันธะ
อันดับพันธะ หมายถึง จานวนคู่อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกันระหว่างอะตอม
คานวณได้จากอันดับพันธะ = 1/2 (จานวนอิเล็กตรอนในออร์บิทัลแบบ
สร้างพันธะ - จานวนอิเล็กตรอนในออร์บิทัลแบบต้านพันธะ)
อันดับพันธะไม่จาเป็นต้องเป็นเลขจานวนเต็ม ยิ่งอันดับพันธะมีค่ามาก
โมเลกุลนั้นยิ่งเสถียรแต่ถ้าอันดับพันธะมีค่าเท่ากับศูนย์โมเลกุลนั้น
ไม่เสถียรหรือไม่สามารถเกิดได้จริง เช่น
H2 มีอันดับพันธะ = 1/2(2-0) = 1
5-65
สมบัติทางแม่เหล็กไฟฟ้ า
พาราแมกเนติก (paramagnetic) มีสมบัติเบี่ยงเบนใน
สนามไฟฟ้า เกิดขึ้นได้ถ้าในออร์บิทัลโมเลกุลมีอิเล็กตรอน
ที่ไม่เข้าคู่
ไดอะแมกเนติก (diamagnetic) ไม่เบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้า
เกิดขึ้นในออร์บิทัลโมเลกุลมีอิเล็กตรอนเข้าคู่ออร์บิทัล
5-66
สาหรับโมเลกุลของอะตอมคู่ธาตุเดี่ยวอื่น ๆ แสดงได้ดังตาราง
(เพื่อง่ายต่อความเข้าใจจึงนาเสนอในรูปของตาราง)
5-67
5-68
ข. ออร์บิทัลโมเลกุลของธาตุต่างชนิดกัน (heteronuclear diatomic
molecule)
โดยทั่วไปแล้วออร์บิทัลอะตอมของอะตอมที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี
ต่ากว่ามักจะมีค่าพลังงานสูงกว่า ตัวอย่างออร์บิทัลโมเลกุลของธาตุ
ต่างชนิดกัน เช่น HF
HF : H มี 1 เวเลนซ์อิเล็กตรอน และ F มี 7 เวเลนซ์อิเล็กตรอน
จะเห็นว่าอิเล็กตรอนทั้ง 8 ตัวบรรจุอยู่ในออร์บิทัลโมเลกุลทั้งหมด 4
ออร์บิทัล โดยออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานสูงสุดที่มีอิเล็กตรอนบรรจุอยู่
เป็นชนิดไพออร์บิทัล ซึ่งอิเล็กตรอนในไพออร์บิทัลจะไม่มีส่วน
เกี่ยวข้องกับ H อะตอม เรียกออร์บิทัลเหล่านี้ว่า non - bonding orbital
ซึ่งแสดงได้ดังรูป
5-69
5-70
Valence Shell Electron Pair Repulsion Theory
(VSEPR Theory)
เป็นทฤษฎีที่ใช้ทานายรูปทรงเรขาคณิตของโมเลกุลและของ
ไอออน มีใจความว่า “รูปร่างโมเลกุลหรือไอออนของ
สารประกอบโคเวเลนต์จะเป็นอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับแรงผลัก
ระหว่างคู่อิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดของอะตอมที่
อยู่กลาง โดยอิเล็กตรอนคู่ที่อยู่ล้อมรอบจะจัดเรียงตัวให้อยู่
ห่างกันมากที่สุดเพื่อให้เกิดแรงผลักน้อยที่สุด” ตามทฤษฎีนี้
สามารถเขียนเป็นสูตรทั่วไปสาหรับโมเลกุลได้ดังนี้
5-71
AXmEn
เมื่อ A = อะตอมกลาง
X = อะตอมหรือหมู่อะตอมที่ยึดอยู่กับ A โดยใช้พันธะโคเวเลนต์
E = สัญลักษณ์แทนคู่อิเล็กตรอนที่ไม่ใช้สร้างพันธะ
m = จานวนคู่อิเล็กตรอนที่ใช้สร้างพันธะ
n = จานวนคู่อิเล็กตรอนที่ไม่ใช้สร้างพันธะ
5-72
เช่น จงเขียนสูตรโมเลกุลแบบ AXmEn ของ SF4 และ ICl4
-
SF4 ICl4
-
จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมกลาง 6 7
จานวนอิเล็กตรอนที่เข้าร่วมในการสร้างพันธะ 4 4
จานวนอิเล็กตรอนจากประจุ - 1
รวม 10(5) 12(6)
คู่อิเล็กตรอนที่ใช้สร้างพันธะ 4 4
คู่อิเล็กตรอนที่ไม่ใช้สร้างพันธะ 1 2
สูตรโมเลกุลแบบ AXmEn AX4E1 AX4E2
F
SF4 S
..
F
F
F
ICl4
-
ICl Cl
ClCl
..
..
5-73
สรุปใจความสาคัญของทฤษฎี VSEPR
1. รูปร่างของโมเลกุลหรือไอออนที่ยึดกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ขึ้นกับ
ค่า m และ n ทั้งหมดที่มีอยู่ในวงเวเลนซ์ คู่อิเล็กตรอนเหล่านี้จะมีการ
จัดเรียงตัวให้อยู่ห่างกันมากที่สุด เพื่อให้เกิดแรงผลักกันน้อยที่สุด
2. การผลักกันของคู่อิเล็กตรอนจะลดลงตามลาดับดังนี้
คู่โดดเดี่ยว-คู่โดดเดี่ยว > คู่โดดเดี่ยว-คู่สร้างพันธะ > คู่สร้างพันธะ-คู่สร้างพันธะ
3. สาหรับ multiple bond ให้ถือว่ามีอิเล็กตรอนที่ร่วมสร้างพันธะอยู่เพียง
กลุ่มเดียว
4. การผลักของอิเล็กตรอนต่าง ๆ ต่ออิเล็กตรอนอื่น ๆ
คู่โดดเดี่ยว > พหุพันธะ >คู่สร้างพันธะ> อิเล็กตรอนเดี่ยว
5-74
รูปร่างโมเลกุลและไอออนที่ไม่มีและมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
1. AX2 (linear) : BeCl2
โมเลกุลที่อะตอมกลางไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
Cl Be Cl
อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะทั้ง 2 คู่อยู่ที่ปลายด้านตรงข้ามของ
แนวเส้นตรงเดียวกัน เพื่อจะได้อยู่ห่างกันมากที่สุด
180o
5-75
3. AX4 (tetrahedral) : CH4
มีโครงสร้างเป็นรูปทรงเหลี่ยม 4 หน้า
C
H
HH
H
109.5o
2. AX3 (triangular planar) : BF3
B
F
FF
120o
มีโครงสร้างเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าแบนราบ อะตอมทั้งสี่อยู่บน
ระนาบเดียวกัน
5-76
5. AX6 (octahedral) : SF6
มุมพันธะมีค่าเท่ากับ 90o ทุกพันธะบนทรงแปดหน้าถือว่าเหมือนกัน เรา
จึงไม่สามารถใช้คาว่า แนวแกน และแนวระนาบสาหรับโครงสร้างนี้ได้
S
F
F
F
F
F
F
4. AX5 (trigonal bipyramidal) : PCl5
อะตอมที่อยู่ด้านบนด้านบนและด้านล่างระนาบ 3 เหลี่ยม เรียกว่า อยู่
ในแนวแกน (axial) ส่วนอีก 3 อะตอมที่อยู่ในระนาบ 3 เหลี่ยม เรียกว่า
อยู่ในแนวระนาบ (equatorial)
P
Cl
Cl
Cl
Cl
Cl
90o
120o
5-77
โมเลกุลที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
แรงผลักระหว่าง :
คู่โดดเดี่ยว-คู่โดดเดี่ยว > คู่โดดเดี่ยว-คู่สร้างพันธะ > คู่สร้างพันธะ-คู่สร้างพันธะ
1. AX2E (V-shaped) : SO2
แรงผลักกันระหว่างอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวกับอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ
มีมากกว่าแรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะด้วยกัน จากการ
ทดลองพบว่ามุมระหว่างพันธะ OSO มีค่าน้อยกว่า 120o คือ 119.5o
O S O
.. ....
.. ..
..
..
..
..
..
S
O O
5-78
2. AX3E (trigonal pyramidal) : NH3
อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวผลักคู่ร่วมพันธะได้แรงกว่าแรงผลักระหว่าง
อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะด้วยกัน ทาให้ N-H ทั้ง 3 ถูกดันให้เข้าใกล้กันมากขึ้น
3. AX2E2 (V-shaped) : H2O
แม้ว่าการจัดเรียงอิเล็กตรอนทั้ง 4 คู่ของน้าจะมีรูปทรง 4 หน้าเช่นเดียวกับ
แอมโมเนีย แต่น้ามีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 2 คู่บนอะตอมออกซิเจนซึ่ง
พยายามจัดตัวให้อยู่ห่างกันมากที่สุดกับอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ ทาให้
พันธะ O-H ถูกดันให้เข้าหากันมากกว่าพันธะ N-H ของแอมโมเนีย
N HH
H
..
H O H
..
..
..
O
H H
..
N
H
H
H
..
5-79
4. AX4E (square pyramidal or distorted tetrahedral) : SF4
S
F
F
F
F
..
S
..
F
F
F
F
ทรงเหลี่ยมสี่หน้าเบี้ยว โดยอิเล็กตรอนคู่อิสระเลือกที่จะอยู่ใน
แนวระนาบ เนื่องจากมุมในแนวระนาบมีค่า 120o ซึ่งเมื่อจัด
เรียงตัวแล้วเกิดแรงผลักกันน้อยที่สุด
5-80
รูปร่างโมเลกุลหรือไอออน
ที่ไม่มี และมีอิเล็กตรอนคู่อิสระ
5-81
หมายเหตุสีแดง = อะตอมกลาง
สีน้าเงิน = อะตอมกลาง
สีเขียว = อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
โครงสร้างของโมเลกุลที่มีอะตอมกลางมากกว่าหนึ่งอะตอม
โดยทั่วไปแล้วเป็นการยากที่จะระบุโครงสร้างที่แน่นอน
ของโมเลกุลที่มีอะตอมกลางมากกว่า 1 อะตอม เรามักจะบอกได้
แต่เพียงรูปร่างรอบ ๆ แต่ละอะตอมกลาง เช่น เมทานอล
(CH3OH)
C
O
H
H
H
H
Tetrahedral
Bent
5-82
5-83
สรุปรูปร่างโมเลกุลและไอออนที่ไม่มี และมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวดังตาราง
สรุปรูปร่างโมเลกุลและไอออนที่ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
5-84
สรุปรูปร่างโมเลกุลและไอออนที่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
ค่าต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพันธะ และโครงสร้างของโมเลกุล
1. มุมพันธะ
ขึ้นอยู่กับ - จานวนพันธะโคเวเลนต์ (จานวน e- คู่ร่วมพันธะ)
- จานวน e- คู่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลาง
A
B B
I
II
III
ถ้า A มี EN สูงกว่า B แรง III > แรง I
ถ้า A มี EN ต่ากว่า B แรง III < แรง I
A
B Bกว้าง
A
B Bแคบ 5-85
ธาตุ F O N Cl Br I S C H P
EN 4.0 3.5 3.0 3.2 2.8 2.5 2.5 2.5 2.1 2.1
จากค่าตัวเลข EN Cl > N แต่เมื่อคานึงถึงขนาดอะตอม Cl > N
ดังนั้น EN ของ N > Cl
ค่า EN ของธาตุบางตัวที่ควรรู้จัก
จงเรียงมุมพันธะของโมเลกุลต่อไปนี้จากโมเลกุลที่มีมุมพันธะ
กว้างที่สุดไปยังแคบที่สุด ?
SbH3 PH3 NH3 AsH3
5-86
2. สภาพขั้ว
การบอกสภาพขั้ว - พันธะ (พันธะมีขั้ว พันธะไม่มีขั้ว)
- โมเลกุล (โมเลกุลมีขั้ว โมเลกุลไม่มีขั้ว)
อาศัยผลต่างของ EN (EN)
H H
EN 2.1 2.1
EN = 0
พันธะไม่มีขั้ว โมเลกุลไม่มีขั้ว
2.1 โมเลกุลที่ประกอบด้วยอะตอมของธาตุเดียวกัน
5-87
2.2 โมเลกุลที่ประกอบด้วยอะตอมของธาตุต่างชนิดกัน
H Cl
EN 2.1 3.2
EN = 1.1
พันธะมีขั้ว โมเลกุลมีขั้ว
2.3 โมเลกุลที่อะตอมกลางมีการใช้อิเล็กตรอนวงนอก
ทั้งหมดในการสร้างพันธะ
C O
EN 3.5 2.5 3.5 พันธะมีขั้ว แต่เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว
O
2+1- 1-
5-88
C
C
H
H
Cl
Cl
EN 2.1 2.5 3.2
พันธะมีขั้ว โมเลกุลมีขั้ว
2.4 โมเลกุลที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวเหลืออยู่
O
H H
EN 2.1 3.5 2.1
พันธะมีขั้ว โมเลกุลมีขั้ว
5-89
3. ความยาวพันธะ
ระยะที่อะตอมอยู่ห่างกันน้อยที่สุด (ดึงดูดกันดีที่สุด) เรียกว่า ความยาวพันธะ
ความยาวพันธะของพันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม ของกลุ่มอะตอมที่
คล้ายกันเช่น ความยาวพันธะของ C - C แบบต่าง ๆ
โมเลกุล ชนิดของพันธะ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ
(pm) (kJ mol-1)
H3C-CH3 C-C 154 348
H2C=CH2 C=C 134 614
HCCH CC 120 839
5-90
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
พันธะไฮโดรเจน (hydrogen bond) เป็นแรงระหว่าง
โมเลกุล เกิดจากการดึงดูดของไฮโดรเจนในโมเลกุลหนึ่ง
กับธาตุที่มีค่า EN สูงของอีกโมเลกุลหนึ่ง สัญลักษณ์ของ
พันธะไฮโดรเจนคือ ............
ตัวอย่าง เช่น
5-91
พันธะไฮโดรเจนในโมเลกุลของน้า (H2O), HF
H Fd d


H Fd d


HF,
Hd
Hd
Hd
HdHd
Hd
d
dd
5-92
เป็นแรงดึงดูดแบบอ่อน ๆ ที่ช่วยยึดโมเลกุลเข้าด้วยกัน
จะมีอิทธิพลในโมเลกุลไม่มีขั้วมากกว่าในโมเลกุลมีขั้ว
แรงแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals forces)
5-93
แรงแวนเดอร์วาลส์ แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้
1. แรงไดโพล - ไดโพล (dipole - dipole interaction)
2. แรงเหนี่ยวนา (induced attraction)
3. แรงลอนดอนหรือแรงแผ่กระจาย (London force or
disperse attraction)
สาหรับโมเลกุลที่มีขั้ว : จะเกิด dipole - dipole
interaction ระหว่างโมเลกุลที่มีขั้วถาวร
H Cl Cl H Cl
d d d d d d

 

 


......... .........H
: ขั้วถาวรเหล่านี้จะยึดกันไปเรื่อย ๆ ระหว่าง
โมเลกุลจึงเป็นแรงที่ไม่มีทิศทาง
5-94
แรงเหนี่ยวนา (induced attraction)
เป็นแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่มีขั้วถาวรกับโมเลกุล
ที่ไม่มีขั้ว โมเลกุลที่มีขั้วจะเหนี่ยวนาให้โมเลกุลไม่มี
ขั้วเกิดสภาพขั้วขึ้น
โดยทั่วไปอะตอมหรือโมเลกุลขนาดใหญ่ จะมี
ความสามารถในการเกิดขั้วสูงกว่าอะตอมหรือโมเลกุล
ขนาดเล็ก
5-95
แรงลอนดอน (London force)
เป็นแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่ไม่มีขั้วกับโมเลกุล
ไม่มีขั้ว เกิดขึ้นชั่วขณะเนื่องจากความหนาแน่นของ
อิเล็กตรอนไม่สม่าเสมอ ทาให้เกิดสภาพขั้วขึ้น
5-96
: การกระจายของกลุ่มหมอก e- ในชั่ววินาทีหนึ่ง
รอบ ๆ อะตอมไม่สมมาตร (ประจุของ e- รอบ ๆ
อะตอมไม่สมมาตร) ดังนั้นชั่วขณะหนึ่ง ๆ สนาม
ไฟฟ้ าสถิตรอบอะตอมจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ทาให้เกิดขั้วขึ้นชั่วขณะและขั้วมีการเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา เรียกว่า dynamic dipole อะตอมหรือ
โมเลกุลที่มีขั้วนั้นก็จะเหนี่ยวนาอะตอมข้างเคียง
ให้เกิดขั้วขึ้น อะตอมทั้ง 2 จึงเกิดแรงดึงดูดกัน
สาหรับโมเลกุลไม่มีขั้ว : แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
โมเลกุลที่ไม่มีขั้วนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
5-97
แต่เกิดขึ้นชั่วขณะ และเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จึงเป็นแรงอ่อน ๆ
(weak electrostatic bond) เรียกว่า แรงลอนดอน
เช่น Cl-Cl, F =  

1 2
6
polarizability ของอะตอมทั้ง 2
ระยะห่างระหว่างอะตอม
polarizability  atomic no.
 1& 2 =
 =
หรือ ขนาดของอะตอม
5-98
polarizability หมายถึง ความสามารถของอะตอมที่จะ
ถูกทาให้เกิดขั้วได้ง่ายโดยอะตอมขนาดใหญ่ จะเกิดขั้วได้
ง่ายกว่าขนาดเล็ก ๆ เพราะ………………….....................
……………………………………………………………
เทียบ freezing pt. He 1 K
Xe 133 K
F2 51 K
I2 387 K




แรงยึด
เหนี่ยวเพิ่ม
ตามขนาด
ที่เพิ่ม
e- วงนอกอยู่ไกลจากนิวเคลียส
สามารถถูกดึงดูดไปด้านใดด้านหนึ่งของอะตอมได้ง่าย ---> เกิดขั้ว
ชั่วคราวได้ง่าย
5-99
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล - ไอออน
(Molecule - ion attraction)
ที่เรียกว่าแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลและไอออนนั้น
เพราะว่าโมเลกุล เช่น น้า ดึงดูดกับไอออนของ Na+ และ
Cl- ของเกลือ
เกลือละลายน้าได้อย่างไร
โมเลกุลของน้าเข้ามาแทรกในโมเลกุลของผลึก โดยที่น้า
บางโมเลกุลเข้าล้อมรอบไอออนบวกโดยหันด้านที่เป็ น
ขั้วลบเข้าหา น้าบางโมเลกุลเข้าล้อมรอบไอออนลบโดย
หันด้านที่เป็นขั้วบวกเข้าหา
5-100
การที่มีจานวนโมเลกุลของน้ามากมายแทรกระหว่าง
ผลึก ทาให้ไปบดบังแรงดึงดูดระหว่างไอออนบวก
และไอออนลบของผลึกไอออนิก ทาให้แรงดึงดูด
ระหว่างขั้วทั้งสองลดลง จนมีค่าน้อยกว่าแรงที่เกิดจาก
โมเลกุลของน้าที่ล้อมรอบ ดังนั้นโมเลกุลของน้า
จึงสามารถแยกไอออนลบและไอออนบวกออกจากกัน
ได้โดยเริ่มดึงไอออนที่อยู่ด้านนอกก่อน
5-101
5-102
การบ้าน
1. จงอธิบายความหมายของคาต่อไปนี้
1.1 พันธะไอออนิก (ionic bond)
1.2 พันธะโคเวเลนต์ (covalent bond)
1.3 เวเลนซ์อิเล็กตรอน
1.4 พลังงานพันธะ
1.5 ความยาวพันธะ
2. จงเขียนสูตรโครงสร้างของไอออนและโมเลกุลต่อไปนี้
พร้อมทั้งบอกจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนทั้งหมดด้วย
MgCl2 CCl4 H2O2 PCl3 SO3
2- CaO

More Related Content

What's hot

เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์Apinya Phuadsing
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
Thitaree Samphao
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
Gawewat Dechaapinun
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumพัน พัน
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
Oui Nuchanart
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
Sukanya Nak-on
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
Dr.Woravith Chansuvarn
 
ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีtum17082519
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ืkanya pinyo
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
oraneehussem
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
โรงเรียนเดชอุดม
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
oraneehussem
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
พัน พัน
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
ณัฐวุฒิ โคตรพัฒน์
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 

What's hot (20)

เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรี
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 

Viewers also liked

พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
Saipanya school
 
chemical bonding
chemical bondingchemical bonding
chemical bonding
Panida Pecharawej
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bondShe's Bee
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
Taweesak Poochai
 
บทที่ 7 สสารในสนามแม่เหล็ก
บทที่ 7 สสารในสนามแม่เหล็กบทที่ 7 สสารในสนามแม่เหล็ก
บทที่ 7 สสารในสนามแม่เหล็ก
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็ง
บทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็งบทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็ง
บทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็งtheerapong_puangmali
 
9789740331889
97897403318899789740331889
9789740331889CUPress
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
Naynui Cybernet
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
oraneehussem
 

Viewers also liked (10)

พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
chemical bonding
chemical bondingchemical bonding
chemical bonding
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bond
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
 
บทที่ 7 สสารในสนามแม่เหล็ก
บทที่ 7 สสารในสนามแม่เหล็กบทที่ 7 สสารในสนามแม่เหล็ก
บทที่ 7 สสารในสนามแม่เหล็ก
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
บทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็ง
บทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็งบทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็ง
บทที่ 1 โครงสร้างผลึกของแข็ง
 
9789740331889
97897403318899789740331889
9789740331889
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 

Similar to Chap 5 chemical bonding

บทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมีบทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมี
Gawewat Dechaapinun
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
พัน พัน
 
Chemical bonding1
Chemical bonding1Chemical bonding1
Chemical bonding1
Thunva Kankhat
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
monchai chaiprakarn
 
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิกรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
J K
 
Chemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfChemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdf
sensei48
 
พันธะเคมี1
พันธะเคมี1พันธะเคมี1
พันธะเคมี1She's Bee
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matteradriamycin
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matteradriamycin
 

Similar to Chap 5 chemical bonding (20)

Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
บทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมีบทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมี
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
Chemical bonding1
Chemical bonding1Chemical bonding1
Chemical bonding1
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิกรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
 
Chemical bond
Chemical bondChemical bond
Chemical bond
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
Chemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfChemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdf
 
พันธะเคมี1
พันธะเคมี1พันธะเคมี1
พันธะเคมี1
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
Study 1
Study 1Study 1
Study 1
 
Punmanee study 1
Punmanee study 1Punmanee study 1
Punmanee study 1
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Gawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

Chap 5 chemical bonding