SlideShare a Scribd company logo
ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและโมเลกุลของสาร
- แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนหรืออะตอมของธาตุให้อยู่รวมกันเป็นโครงผลึก
หรือโมเลกุล เรียกว่าพันธะเคมี
- พันธะเคมีแบ่งออกเป็นพันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ และพันธะโลหะ
1. ทานายรูปร่างโมเลกุลและมุมพันธะของสารประกอบโคเวเลนต์ได้
2. เขียนรูปทรงเรขาคณิตที่สอดคล้องกับรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ได้
ตัวชี้วัด
จุดประสงค์การเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐาน
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
เนื่องจากการจัดเรียงตัวของอะตอมต่าง ๆ ในโมเลกุลโคเวเลนต์มีตาแหน่งหรือทิศทาง
ที่แน่นอน จึงทาให้โมเลกุลโคเวเลนต์ของสารแต่ละชนิด มีรูปร่างแตกต่างกันออกไป ซึ่งขึ้นอยู่กับ
ปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้
1. จานวนอะตอมในโมเลกุล
2. จานวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ
3. จานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
4. มุมระหว่างพันธะและความยาวพันธะ
มุมระหว่างพันธะ ( Bond Angle ) คือ มุมที่เกิดจากอะตอม 2 อะตอมกระทากับอะตอมกลาง
โมเลกุลโคเวเลนต์ที่จะมีมุมระหว่างพันธะจะต้องมีตั้งแต่ 2 พันธะขึ้นไป เช่น โมเลกุลของ AB2
 คือ มุมระหว่างพันธะ
มุมระหว่างพันธะเป็นค่าเฉลี่ย เพราะอะตอมต่าง ๆ มีการสั่นสะเทือนอยู่ตลอดเวลา มุมระหว่าง
พันธะมีค่าได้ตั้งแต่ 60 องศา ถึง 180 องศา
ใบความรู้
 BB
A
ผลของค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่อค่ามุมระหว่างพันธะ
ค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตี คือ ค่าที่บอกให้ทราบถึงความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนของธาตุเข้าหา
ตัวเอง ธาตุที่มีค่า EN สูงจะดึงดูดอิเล็กตรอนเข้าหาตัวเองได้ดีกว่าธาตุที่มีค่า EN ต่า และค่า EN ขึ้นกับประจุ
บวกในนิวเคลียส และระยะห่างระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนกับนิวเคลียสในโมเลกุลที่มีรูปร่างเหมือนกัน ถ้า
อะตอมกลางมีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่างกัน จะทาให้ค่ามุมระหว่างพันธะต่างกัน หรือโมเลกุลโคเวเลนต์ ที่มี
อะตอมกลางเหมือนกัน แต่อะตอมข้างเคียงต่างกัน ก็จะทาให้มุมระหว่างพันธะต่างกัน ดังรูปที่ 1
รูปที่ 1 เปรียบเทียบมุมพันธะระหว่าง NH3 และ PH3
ลักษณะของพันธะใน NH3 และ PH3 เหมือนกัน คือ มีอิเล็กตรอนโดดเดี่ยว 1 คู่ เป็นพีระมิดฐาน 3
เหลี่ยม เหมือนกัน แต่ค่า EN ของ P กับ N ไม่เท่ากันโดยค่า EN ของ N มากกว่า P ทาให้ระหว่าง N กับ H มี
อิเล็กตรอนใกล้อะตอมกลาง คือ N มาก และมากกว่า P กับ H ทาให้อิเล็กตรอนใน NH3 มีการผลักกัน
มากกว่าใน PH3 มุมพันธะจึงมากกว่า
ถ้าอะตอมกลางมีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีสูงกว่า ก็จะดึงดูดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะเข้าใกล้อะตอมกลาง
มากกว่า ทาให้อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะเข้าใกล้กัน จึงมีแรงผลักมากกว่า ทาให้พันธะอยู่ห่างกันหรือมีมุม
ระหว่างพันธะมากกว่า
วิธีพิจารณารูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ถ้า A คือ อะตอมกลาง X คือ อะตอมข้างเคียง และ E คือ จานวนคู่ของอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
พิจารณารูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ได้ดังตารางที่ 3.1
107.3o 93.7o
ตารางที่ 3.1 ตัวอย่างรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
สูตร
ทั่วไป
จานวน
อิเล็กตรอนคู่
ร่วมพันธะ
จานวน
อิเล็กตรอน
คู่โดดเดี่ยว
รูปร่างโมเลกุล ตัวอย่างรูปร่างของ
สารประกอบ
ตัวอย่างโมเลกุล
AX2E0 2 0
เส้นตรง มุม 180๐
BeCl2 , CO2 ,
HCN , C2H2
AX3E0 3 0
สามเหลี่ยมแบนราบ มุม 120๐
BF3 , GaI3 ,
SO3 , C2H4
AX4E0 4 0
ทรงสี่หน้า มุม 180๐
CH4 , SiCl4 ,
CCl4
AX5E0 5 0
พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม มุม 180๐
PCl5 , SbCl5
AX6E0 6 0
ทรงแปดหน้า มุม 180๐
SF6
สูตร
ทั่วไป
จานวน
อิเล็กตรอนคู่
ร่วมพันธะ
จานวน
อิเล็กตรอน
คู่โดดเดี่ยว
รูปร่างโมเลกุล ตัวอย่างรูปร่างของ
สารประกอบ
ตัวอย่างโมเลกุล
AX2E1 2 1
มุมงอ มุม 180๐
SO2
AX2E2 2 2
มุมงอ มุม 180๐
H2O , H2S
AX2E3 2 3
เส้นตรง มุม 180๐
AX3E1 3 1
พีระมิดฐานสามเหลี่ยม มุม 180๐
NCl3 , PCl3
AsCl3 , SOCl2 ,
XeO3
สูตร
ทั่วไป
จานวน
อิเล็กตรอนคู่
ร่วมพันธะ
จานวน
อิเล็กตรอน
คู่โดดเดี่ยว
รูปร่างโมเลกุล ตัวอย่างรูปร่างของ
สารประกอบ
ตัวอย่างโมเลกุล
AX3E2 3 2
ตัวที มุม 180๐
ClF3
AX4E1 4 1
กระดานหก มุม 180๐
SF4
AX4E2 4 2
สี่เหลี่ยมแบนราบ มุม 180๐
XeF4
จากตารางที่ 3.1 สามารถสรุปได้ดังนี้
1. โมเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอม หรือ มีพันธะโคเวเลนต์ 1 พันธะ มีรูปร่างเป็นเส้นตรง
แต่ไม่มีมุมระหว่างพันธะ เช่น H2 O2 N2 HCl เป็นต้น
2. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 2 พันธะ และอะตอมกลางไม่มี
เวเลนซ์อิเล็กตรอนเหลืออยู่ (AX2E0) อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะทั้ง 2 พันธะผลักกันจึงต้องอยู่ห่างกัน
ให้มากที่สุด ทาให้โมเลกุลเป็นรูปเส้นตรง (Linear) มุมระหว่างพันธะ 180 องศา เช่น BeCl2 CO2
HCN C2H2 เป็นต้น
3. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 3 พันธะ และอะตอมกลางไม่มีเวเลนซ์
อิเล็กตรอนเหลืออยู่ (AX3E0) อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะแต่ละพันธะจะผลักกัน จึงแยกกันให้ห่างกัน
มากที่สุดเท่ากับ 120 องศา 3 มุม ได้โมเลกุลรูปสามเหลี่ยมแบนราบ (Trigonal plana) เช่น BF3 GaI3
SO3 C2H4 เป็นต้น
4. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 4 พันธะ แล้วอะตอมกลางไม่มีเวเลนซ์
อิเล็กตรอนเหลืออยู่ (AX4E0) อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะแต่ละพันธะจะผลักกัน จึงแยกกันทามุม 109.5 องศา
6 มุม ได้โมเลกุลรูปทรงสี่หน้า (Tetrahedral) เช่น CH4 SiCl4 CCl4 เป็นต้น
5. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 5 พันธะ แล้วอะตอมกลางไม่มีเวเลนซ์
อิเล็กตรอนเหลืออยู่ (AX5E0) อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะแต่ละพันธะจะผลักกัน จึงแยกกันมีมุมระหว่าง
พันธะ 90 องศา 6 มุม 120 องศา 3 มุม และ 180 องศา 1 มุม ได้โมเลกุลรูปพีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม
(Trigonal bipyramidal) เช่น PCl5 SbCl5 เป็นต้น
6. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 6 พันธะ แล้วอะตอมกลางไม่มีเวเลนซ์
อิเล็กตรอนเหลืออยู่ (AX6E0) อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะแต่ละพันธะจะผลักกัน จึงแยกกันมีมุมระหว่าง
พันธะ 90 องศา และ 180 องศา ได้โมเลกุลรูปทรงแปดหน้า (Octrahedal) เช่น SF6 เป็นต้น
7. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 3 พันธะ แล้วอะตอมกลางมีเวเลนซ์
อิเล็กตรอนเหลืออยู่ 1 คู่ (AX3E1) จะได้โมเลกุลรูปพีระมิดฐานสามเหลี่ยม (Trigonal Pyramidal)
มีมุมระหว่างพันธะน้อยกว่า 109.5 องศา เนื่องจากอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวมีแรงผลักมากกว่าอิเล็กตรอนคู่ร่วม
พันธะ จึงทาให้มุมระหว่างพันธะน้อยกว่าปกติ (ปกติควรเป็น 109.5 องศา เพราะมีอิเล็กตรอนทั้งหมด 4 คู่)
เช่น NH3 มีมุมระหว่างพันธะ 107 องศา PH3 มีมุมระหว่างพันธะ 93.7 องศา ตัวอย่างอื่น
เช่น NCl3 PCl3 AsCl3 SOCl2 XeO3 เป็นต้น
8. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 2 พันธะ แล้วอะตอมกลาง
มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวเหลืออยู่ 1 คู่ หรือ 2 คู่ (AX2E1 หรือ AX2E2) อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
จะผลักให้อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะทั้ง 2 พันธะเบนเข้าหากัน ทามุมน้อยกว่า 180 องศา แต่ถ้ามี
อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 2 คู่ ส่วนใหญ่น้อยกว่า 109.5 องศา ได้โมเลกุลรูปงอหรือรูปตัววี (V-Shaped)
เช่น H2O มีมุมระหว่างพันธะ 104.5 องศา H2S มีมุมระหว่างพันธะ 92 องศา SO2 มีมุมระหว่างพันธะ
119.5 องศา
9. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 2 พันธะ แล้วอะตอมกลาง
มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวเหลืออยู่ 3 คู่ (AX2E3) จะได้โมเลกุลรูปเส้นตรง มีมุมระหว่างพันธะ 180 องศา
เช่น XeF2 เป็นต้น
10. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 5 พันธะ แล้วอะตอมกลาง
มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวเหลืออยู่ 1 คู่ (AX5E1) จะได้โมเลกุลรูปพีระมิดฐานสามเหลี่ยม (Square pyramidal)
มีมุมระหว่างพันธะ 90 องศา และ 180 องศา เช่น IF5 เป็นต้น
11. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 3 พันธะ แล้วอะตอมกลาง มีอิเล็กตรอนคู่
โดดเดี่ยวเหลืออยู่ 2 คู่ (AX3E2) จะได้โมเลกุลรูปตัวที (T-Shape) มีมุมระหว่างพันธะ 90 องศา และ 180 องศา
เช่น ClF3 เป็นต้น
12. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 4 พันธะ แล้วอะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่
โดดเดี่ยวเหลืออยู่ 2 คู่ (AX4E2) จะได้โมเลกุลรูปสี่เหลี่ยมแบนราบ (Square plana) มีมุมระหว่างพันธะ 90
องศา และ 180 องศา เช่น XeF4 เป็นต้น
13. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 4 พันธะ แล้วอะตอมกลาง มีอิเล็กตรอนคู่
โดดเดี่ยวเหลืออยู่ 1 คู่ (AX4E1) จะได้โมเลกุลรูป see-saw หรือ Irregular tetrahedral มีมุมระหว่างพันธะ 90
องศา 120 องศา และ 180 องศา เช่น SF4 เป็นต้น
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม ว 30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 4 ใช้ทดสอบความรู้ของนักเรียนหลังเรียน
เรื่อง รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ จานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดและทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดประกอบด้วยโมเลกุลที่มีรูปร่างเป็นมุมงอ
ก. CO2 , SiO2และ BeF2
ข. CS2 , C2H2 และ H2S
ค. Cl2O , CO2และ SiO2
ง. SO2 , Cl2O และ H2S
2. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
ก. NCI3รูปร่างโมเลกุลเป็นสามเหลี่ยมแบนราบ
ข. PBr3และ BCI3มีรูปร่างโมเลกุลเหมือนกัน
ค. CS2รูปร่างโมเลกุลเป็นเส้นตรง
ง. SCI2และ SO2รูปร่างโมเลกุลเป็นเส้นตรง
3. สารในข้อใดต่อไปนี้มีรูปร่างโมเลกุลเหมือนกันหมด
ก. CH4 SiH4 CHCI3
ข. BF3 NH3 PH3
ค. BeCl2 H2O H2S
ง. CO2 H2O SO2
4. โครงสร้างสารใดที่เป็นปีระมิดฐานสามเหลี่ยม
ก. SO2 ข. NF3
ค. CH2O ง. PCl5
5. สารใดมีรูปร่างโมเลกุลไม่เหมือนกัน
ก. H2O และ SBr2
ข. NF3และ CO2
ค. HClและ CS2
ง. CCl4และ POCl3
6. รูปร่างโมเลกุลของสารในข้อใดเป็นรูปสามเหลี่ยม
แบนราบ
ก. NH4และ SiH4
ข. SO3และ BF3
ค. CH3Clและ O3
ง. PH3และ CH2O
7. X–
อิออนมีจานวนโปรตอน= 17 ดังนั้นรูปร่าง
ของ XF3และ IX2
-
จะเป็นดังนี้
ก. สามเหลี่ยมพีรามิดและเส้นตรง
ข. สามเหลี่ยมแบบราบและมุมงอ
ค. รูปตัว T และเส้นตรง
ง. รูปตัว T และมุมงอ
แบบทดสอบหลังเรียน
8. ถ้ารูปร่างโมเลกุลของ AB3เป็นรูปสามเหลี่ยม
แบนราบ แต่ XB3เป็นรูปพีระมิดฐานสามเหลี่ยม
จงพิจารณาว่าข้อความใดไม่ถูกต้อง
ก. ธาตุ A มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนน้อยกว่า B
ข. รัศมีอะตอมของธาตุ A ยาวกว่ารัศมีอะตอม
ของธาตุ
B
ค. AB3มีจานวนพันธะเท่ากับ XB3
ง. AB3อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
แต่ XB3อะตอมกลางไม่มีอิเล็กตรอนคู่
โดดเดี่ยว
9. มุมระหว่างพันธะในโมเลกุลโคเวเลนต์
เรียงตามลาดับจากมากไปน้อยดังข้อใด
ก. CS2> BF3> CH4> Br2O
ข. Br2O > CS2> BF3> CH4
ค. BF3> CS2> Br2O > CH4
ง. CS2> Br2O > BF3> CH4
10. สารใดมีรูปร่างโมเลกุลเหมือนกันและมีจานวน
อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลางเท่ากัน
ก. H2O และ SO2
ข. NF3และ PCl3
ค. HClและ CS2
ง. CCl4และ PCl5
ชุดที่ 4 เรื่อง รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ตัวเลือก
หัวข้อ
ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ชื่อ ................................. นามสกุล .................................... ชั้น ............ เลขที่ ..........
คะแนนเต็ม 10
คะแนนที่สอบได้
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ตรวจ
(.............................................................)
วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ.
..............
กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ 4 เรื่อง รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
1) ค.
2) ค.
3) ก.
4) ข.
5) ข.
6) ข.
7) ค.
8) ง.
9) ก.
10) ข.
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว, 2553
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553
สุทัศน์ ไตรสถิตวร. เคมี ม.4 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์
โปรเกสซีฟ จากัด 2553.
บรรณานุกรม

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
oraneehussem
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
เซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
Sukanya Nak-on
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
Piyanart Suebsanoh
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
dnavaroj
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
Kapom K.S.
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 

Similar to Punmanee study 4

พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
Tharit Khumon
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
oraneehussem
 
Atom
AtomAtom
Chemical bonding1
Chemical bonding1Chemical bonding1
Chemical bonding1
Thunva Kankhat
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมsripa16
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bondShe's Bee
 
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docxตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ssuser7ea064
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
monchai chaiprakarn
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
Saipanya school
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 

Similar to Punmanee study 4 (20)

Punmanee study 2
Punmanee study 2Punmanee study 2
Punmanee study 2
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Study 1
Study 1Study 1
Study 1
 
Punmanee study 1
Punmanee study 1Punmanee study 1
Punmanee study 1
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
Punmanee study 6
Punmanee study 6Punmanee study 6
Punmanee study 6
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอมเคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
 
Chemical bonding1
Chemical bonding1Chemical bonding1
Chemical bonding1
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
Punmanee study 8
Punmanee study 8Punmanee study 8
Punmanee study 8
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bond
 
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docxตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

Punmanee study 4

  • 1. ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและโมเลกุลของสาร - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนหรืออะตอมของธาตุให้อยู่รวมกันเป็นโครงผลึก หรือโมเลกุล เรียกว่าพันธะเคมี - พันธะเคมีแบ่งออกเป็นพันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ และพันธะโลหะ 1. ทานายรูปร่างโมเลกุลและมุมพันธะของสารประกอบโคเวเลนต์ได้ 2. เขียนรูปทรงเรขาคณิตที่สอดคล้องกับรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ได้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐาน
  • 2. รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ เนื่องจากการจัดเรียงตัวของอะตอมต่าง ๆ ในโมเลกุลโคเวเลนต์มีตาแหน่งหรือทิศทาง ที่แน่นอน จึงทาให้โมเลกุลโคเวเลนต์ของสารแต่ละชนิด มีรูปร่างแตกต่างกันออกไป ซึ่งขึ้นอยู่กับ ปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ 1. จานวนอะตอมในโมเลกุล 2. จานวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 3. จานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 4. มุมระหว่างพันธะและความยาวพันธะ มุมระหว่างพันธะ ( Bond Angle ) คือ มุมที่เกิดจากอะตอม 2 อะตอมกระทากับอะตอมกลาง โมเลกุลโคเวเลนต์ที่จะมีมุมระหว่างพันธะจะต้องมีตั้งแต่ 2 พันธะขึ้นไป เช่น โมเลกุลของ AB2  คือ มุมระหว่างพันธะ มุมระหว่างพันธะเป็นค่าเฉลี่ย เพราะอะตอมต่าง ๆ มีการสั่นสะเทือนอยู่ตลอดเวลา มุมระหว่าง พันธะมีค่าได้ตั้งแต่ 60 องศา ถึง 180 องศา ใบความรู้  BB A
  • 3. ผลของค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่อค่ามุมระหว่างพันธะ ค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตี คือ ค่าที่บอกให้ทราบถึงความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนของธาตุเข้าหา ตัวเอง ธาตุที่มีค่า EN สูงจะดึงดูดอิเล็กตรอนเข้าหาตัวเองได้ดีกว่าธาตุที่มีค่า EN ต่า และค่า EN ขึ้นกับประจุ บวกในนิวเคลียส และระยะห่างระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนกับนิวเคลียสในโมเลกุลที่มีรูปร่างเหมือนกัน ถ้า อะตอมกลางมีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่างกัน จะทาให้ค่ามุมระหว่างพันธะต่างกัน หรือโมเลกุลโคเวเลนต์ ที่มี อะตอมกลางเหมือนกัน แต่อะตอมข้างเคียงต่างกัน ก็จะทาให้มุมระหว่างพันธะต่างกัน ดังรูปที่ 1 รูปที่ 1 เปรียบเทียบมุมพันธะระหว่าง NH3 และ PH3 ลักษณะของพันธะใน NH3 และ PH3 เหมือนกัน คือ มีอิเล็กตรอนโดดเดี่ยว 1 คู่ เป็นพีระมิดฐาน 3 เหลี่ยม เหมือนกัน แต่ค่า EN ของ P กับ N ไม่เท่ากันโดยค่า EN ของ N มากกว่า P ทาให้ระหว่าง N กับ H มี อิเล็กตรอนใกล้อะตอมกลาง คือ N มาก และมากกว่า P กับ H ทาให้อิเล็กตรอนใน NH3 มีการผลักกัน มากกว่าใน PH3 มุมพันธะจึงมากกว่า ถ้าอะตอมกลางมีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีสูงกว่า ก็จะดึงดูดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะเข้าใกล้อะตอมกลาง มากกว่า ทาให้อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะเข้าใกล้กัน จึงมีแรงผลักมากกว่า ทาให้พันธะอยู่ห่างกันหรือมีมุม ระหว่างพันธะมากกว่า วิธีพิจารณารูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ ถ้า A คือ อะตอมกลาง X คือ อะตอมข้างเคียง และ E คือ จานวนคู่ของอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว พิจารณารูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ได้ดังตารางที่ 3.1 107.3o 93.7o
  • 4. ตารางที่ 3.1 ตัวอย่างรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ สูตร ทั่วไป จานวน อิเล็กตรอนคู่ ร่วมพันธะ จานวน อิเล็กตรอน คู่โดดเดี่ยว รูปร่างโมเลกุล ตัวอย่างรูปร่างของ สารประกอบ ตัวอย่างโมเลกุล AX2E0 2 0 เส้นตรง มุม 180๐ BeCl2 , CO2 , HCN , C2H2 AX3E0 3 0 สามเหลี่ยมแบนราบ มุม 120๐ BF3 , GaI3 , SO3 , C2H4 AX4E0 4 0 ทรงสี่หน้า มุม 180๐ CH4 , SiCl4 , CCl4 AX5E0 5 0 พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม มุม 180๐ PCl5 , SbCl5 AX6E0 6 0 ทรงแปดหน้า มุม 180๐ SF6
  • 5. สูตร ทั่วไป จานวน อิเล็กตรอนคู่ ร่วมพันธะ จานวน อิเล็กตรอน คู่โดดเดี่ยว รูปร่างโมเลกุล ตัวอย่างรูปร่างของ สารประกอบ ตัวอย่างโมเลกุล AX2E1 2 1 มุมงอ มุม 180๐ SO2 AX2E2 2 2 มุมงอ มุม 180๐ H2O , H2S AX2E3 2 3 เส้นตรง มุม 180๐ AX3E1 3 1 พีระมิดฐานสามเหลี่ยม มุม 180๐ NCl3 , PCl3 AsCl3 , SOCl2 , XeO3
  • 7. จากตารางที่ 3.1 สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. โมเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอม หรือ มีพันธะโคเวเลนต์ 1 พันธะ มีรูปร่างเป็นเส้นตรง แต่ไม่มีมุมระหว่างพันธะ เช่น H2 O2 N2 HCl เป็นต้น 2. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 2 พันธะ และอะตอมกลางไม่มี เวเลนซ์อิเล็กตรอนเหลืออยู่ (AX2E0) อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะทั้ง 2 พันธะผลักกันจึงต้องอยู่ห่างกัน ให้มากที่สุด ทาให้โมเลกุลเป็นรูปเส้นตรง (Linear) มุมระหว่างพันธะ 180 องศา เช่น BeCl2 CO2 HCN C2H2 เป็นต้น 3. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 3 พันธะ และอะตอมกลางไม่มีเวเลนซ์ อิเล็กตรอนเหลืออยู่ (AX3E0) อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะแต่ละพันธะจะผลักกัน จึงแยกกันให้ห่างกัน มากที่สุดเท่ากับ 120 องศา 3 มุม ได้โมเลกุลรูปสามเหลี่ยมแบนราบ (Trigonal plana) เช่น BF3 GaI3 SO3 C2H4 เป็นต้น 4. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 4 พันธะ แล้วอะตอมกลางไม่มีเวเลนซ์ อิเล็กตรอนเหลืออยู่ (AX4E0) อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะแต่ละพันธะจะผลักกัน จึงแยกกันทามุม 109.5 องศา 6 มุม ได้โมเลกุลรูปทรงสี่หน้า (Tetrahedral) เช่น CH4 SiCl4 CCl4 เป็นต้น 5. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 5 พันธะ แล้วอะตอมกลางไม่มีเวเลนซ์ อิเล็กตรอนเหลืออยู่ (AX5E0) อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะแต่ละพันธะจะผลักกัน จึงแยกกันมีมุมระหว่าง พันธะ 90 องศา 6 มุม 120 องศา 3 มุม และ 180 องศา 1 มุม ได้โมเลกุลรูปพีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม (Trigonal bipyramidal) เช่น PCl5 SbCl5 เป็นต้น 6. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 6 พันธะ แล้วอะตอมกลางไม่มีเวเลนซ์ อิเล็กตรอนเหลืออยู่ (AX6E0) อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะแต่ละพันธะจะผลักกัน จึงแยกกันมีมุมระหว่าง พันธะ 90 องศา และ 180 องศา ได้โมเลกุลรูปทรงแปดหน้า (Octrahedal) เช่น SF6 เป็นต้น 7. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 3 พันธะ แล้วอะตอมกลางมีเวเลนซ์ อิเล็กตรอนเหลืออยู่ 1 คู่ (AX3E1) จะได้โมเลกุลรูปพีระมิดฐานสามเหลี่ยม (Trigonal Pyramidal) มีมุมระหว่างพันธะน้อยกว่า 109.5 องศา เนื่องจากอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวมีแรงผลักมากกว่าอิเล็กตรอนคู่ร่วม พันธะ จึงทาให้มุมระหว่างพันธะน้อยกว่าปกติ (ปกติควรเป็น 109.5 องศา เพราะมีอิเล็กตรอนทั้งหมด 4 คู่) เช่น NH3 มีมุมระหว่างพันธะ 107 องศา PH3 มีมุมระหว่างพันธะ 93.7 องศา ตัวอย่างอื่น เช่น NCl3 PCl3 AsCl3 SOCl2 XeO3 เป็นต้น
  • 8. 8. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 2 พันธะ แล้วอะตอมกลาง มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวเหลืออยู่ 1 คู่ หรือ 2 คู่ (AX2E1 หรือ AX2E2) อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว จะผลักให้อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะทั้ง 2 พันธะเบนเข้าหากัน ทามุมน้อยกว่า 180 องศา แต่ถ้ามี อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 2 คู่ ส่วนใหญ่น้อยกว่า 109.5 องศา ได้โมเลกุลรูปงอหรือรูปตัววี (V-Shaped) เช่น H2O มีมุมระหว่างพันธะ 104.5 องศา H2S มีมุมระหว่างพันธะ 92 องศา SO2 มีมุมระหว่างพันธะ 119.5 องศา 9. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 2 พันธะ แล้วอะตอมกลาง มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวเหลืออยู่ 3 คู่ (AX2E3) จะได้โมเลกุลรูปเส้นตรง มีมุมระหว่างพันธะ 180 องศา เช่น XeF2 เป็นต้น 10. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 5 พันธะ แล้วอะตอมกลาง มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวเหลืออยู่ 1 คู่ (AX5E1) จะได้โมเลกุลรูปพีระมิดฐานสามเหลี่ยม (Square pyramidal) มีมุมระหว่างพันธะ 90 องศา และ 180 องศา เช่น IF5 เป็นต้น 11. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 3 พันธะ แล้วอะตอมกลาง มีอิเล็กตรอนคู่ โดดเดี่ยวเหลืออยู่ 2 คู่ (AX3E2) จะได้โมเลกุลรูปตัวที (T-Shape) มีมุมระหว่างพันธะ 90 องศา และ 180 องศา เช่น ClF3 เป็นต้น 12. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 4 พันธะ แล้วอะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ โดดเดี่ยวเหลืออยู่ 2 คู่ (AX4E2) จะได้โมเลกุลรูปสี่เหลี่ยมแบนราบ (Square plana) มีมุมระหว่างพันธะ 90 องศา และ 180 องศา เช่น XeF4 เป็นต้น 13. ถ้าอะตอมกลาง (A) เกิดพันธะกับอะตอมข้างเคียง (X) 4 พันธะ แล้วอะตอมกลาง มีอิเล็กตรอนคู่ โดดเดี่ยวเหลืออยู่ 1 คู่ (AX4E1) จะได้โมเลกุลรูป see-saw หรือ Irregular tetrahedral มีมุมระหว่างพันธะ 90 องศา 120 องศา และ 180 องศา เช่น SF4 เป็นต้น
  • 9. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม ว 30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 คาชี้แจง 1. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 4 ใช้ทดสอบความรู้ของนักเรียนหลังเรียน เรื่อง รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ จานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดและทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดประกอบด้วยโมเลกุลที่มีรูปร่างเป็นมุมงอ ก. CO2 , SiO2และ BeF2 ข. CS2 , C2H2 และ H2S ค. Cl2O , CO2และ SiO2 ง. SO2 , Cl2O และ H2S 2. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง ก. NCI3รูปร่างโมเลกุลเป็นสามเหลี่ยมแบนราบ ข. PBr3และ BCI3มีรูปร่างโมเลกุลเหมือนกัน ค. CS2รูปร่างโมเลกุลเป็นเส้นตรง ง. SCI2และ SO2รูปร่างโมเลกุลเป็นเส้นตรง 3. สารในข้อใดต่อไปนี้มีรูปร่างโมเลกุลเหมือนกันหมด ก. CH4 SiH4 CHCI3 ข. BF3 NH3 PH3 ค. BeCl2 H2O H2S ง. CO2 H2O SO2 4. โครงสร้างสารใดที่เป็นปีระมิดฐานสามเหลี่ยม ก. SO2 ข. NF3 ค. CH2O ง. PCl5 5. สารใดมีรูปร่างโมเลกุลไม่เหมือนกัน ก. H2O และ SBr2 ข. NF3และ CO2 ค. HClและ CS2 ง. CCl4และ POCl3 6. รูปร่างโมเลกุลของสารในข้อใดเป็นรูปสามเหลี่ยม แบนราบ ก. NH4และ SiH4 ข. SO3และ BF3 ค. CH3Clและ O3 ง. PH3และ CH2O 7. X– อิออนมีจานวนโปรตอน= 17 ดังนั้นรูปร่าง ของ XF3และ IX2 - จะเป็นดังนี้ ก. สามเหลี่ยมพีรามิดและเส้นตรง ข. สามเหลี่ยมแบบราบและมุมงอ ค. รูปตัว T และเส้นตรง ง. รูปตัว T และมุมงอ แบบทดสอบหลังเรียน
  • 10. 8. ถ้ารูปร่างโมเลกุลของ AB3เป็นรูปสามเหลี่ยม แบนราบ แต่ XB3เป็นรูปพีระมิดฐานสามเหลี่ยม จงพิจารณาว่าข้อความใดไม่ถูกต้อง ก. ธาตุ A มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนน้อยกว่า B ข. รัศมีอะตอมของธาตุ A ยาวกว่ารัศมีอะตอม ของธาตุ B ค. AB3มีจานวนพันธะเท่ากับ XB3 ง. AB3อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว แต่ XB3อะตอมกลางไม่มีอิเล็กตรอนคู่ โดดเดี่ยว 9. มุมระหว่างพันธะในโมเลกุลโคเวเลนต์ เรียงตามลาดับจากมากไปน้อยดังข้อใด ก. CS2> BF3> CH4> Br2O ข. Br2O > CS2> BF3> CH4 ค. BF3> CS2> Br2O > CH4 ง. CS2> Br2O > BF3> CH4 10. สารใดมีรูปร่างโมเลกุลเหมือนกันและมีจานวน อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลางเท่ากัน ก. H2O และ SO2 ข. NF3และ PCl3 ค. HClและ CS2 ง. CCl4และ PCl5
  • 11. ชุดที่ 4 เรื่อง รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ ตัวเลือก หัวข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ชื่อ ................................. นามสกุล .................................... ชั้น ............ เลขที่ .......... คะแนนเต็ม 10 คะแนนที่สอบได้ ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ตรวจ (.............................................................) วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ. .............. กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
  • 12. ชุดที่ 4 เรื่อง รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 1) ค. 2) ค. 3) ก. 4) ข. 5) ข. 6) ข. 7) ค. 8) ง. 9) ก. 10) ข. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
  • 13. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553 สุทัศน์ ไตรสถิตวร. เคมี ม.4 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์ โปรเกสซีฟ จากัด 2553. บรรณานุกรม