SlideShare a Scribd company logo
เรื่อง
การทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
จัดทาโดย
นาย เจษฎากร เผ่าพันธุ์ ม5/3 เลขที่ 3
เสนอ
ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์ (ง 30204)
ภาคเรียน 2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในพระราชูถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8
ก
คานา
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการจัดการระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล
ด้วยธุรกิจด้วย คอมพิวเตอร์เพื่อศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูล
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลมีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานในระบบเรือข่าย
เห็นคุณค่าในเรื่องการสื่อสารข้อมูลบนระบบเครือข่ายและ การศึกษาเกี่ยวกับ
มาตรฐานการสื่อสารข้อมูล โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โปรโตคอล ระบบ
เครือข่ายบนอินเตอร์เน็ต หากรายงานฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใดทางผู้จัดทาขอ
อภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
นาย เจษฎากร เผ่าพันธ์
สารบัญ
คำนำ.........................................................................................................................................................ก
บทนำ........................................................................................................................................................1
กำรทำงำนขั้นพื้นฐำนของคอมพิวเตอร์.........................................................................................................1
เปรียบเทียบกำรทำงำนระหว่ำงมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ ....................................................................................3
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ................................................................................................................4
หลักกำรเลือกคอมพิวเตอร์.............................................................................................................................7
หลักกำรทำงำนและกำรเลือกใช้คอมพิวเตอร์.................................................................................................7
ชนิดของกำรเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ .................................................................................................................13
กำรเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์.................................................................................................................13
บรรณำนุกรม ............................................................................................................................................16
สำรบัญรูปภำพ
รูปภำพที่ 1 กำรทำงำนขั้นพื้นฐำนของคอมพิวเตอร์............................................................................................2
รูปภำพที่ 2กำรทำงำนของเครื่องเอทีเอ็ม ..........................................................................................................3
รูปภำพที่ 3กำรเปรียบเทียบระหว่ำงคอมกับมนุษต์ .............................................................................................4
รูปภำพที่ 4กระบวนกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ ................................................................................................7
รูปภำพที่ 5 กำรเลือกซื้อคอมพิวเตอร์.............................................................................................................12
บทนา
การทางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ สร้างขึ้นเพื่อใช้แก้ปัญหาต่างๆทั้ง
ในรูปแบบที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ ซึ่งปฎิบัติตามขั้นตอนของ
โปรแกรมที่ตั้งไว้สาหรับการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีขึ้นตอนการทางานพื้นฐาน ๔
ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ ๑ รับข้อมูล (input) เป็นการนาข้อมูลหรือคาสั่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผ่าน
อุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆเช่น การพิมพ์ข้อความเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้แป้นพิมพ์
การบันทึกเสียงโดยผ่านไมโครโฟน เป็นต้น
ขั้นที่ ๒ ประมวลผลข้อมูล (process) เป็นการนาข้อมูลมาประมวลผลตามชุดคาสั่งหรือ
โปรแกรมเพื่อให้ได้ผลลัพธ์หรือสารสนเทศ เช่น การนาข้อมูลที่รับเข้ามาหาผลรวม
เปรียบเทียบคานวณเกรดเฉลี่ย เป็นต้น ซึ่งอุปกรณ์สาหรับประมวลที่สาคัญ คือ หน่วย
ประมวลผลกลาง
ขั้นที่ ๓ จัดเก็บข้อมูล (storage) เป็นการจัดเก็บข้อมูลชั่วคราวในขณะที่มีการ
ประมวลผลแรม รวมถึงจัดเก็บข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลลงในอุปกรณ์เก็บข้อมูล
เช่น ฮาร์ดดิสถ์(hard disk) แฟลชไดร์ฟ (flash drive) เป็นต้น
ขั้นที่ ๔ แสดงผลข้อมูล (output) เป็นการนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมา
แสดงผลลัพธ์ในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจ กล่าวคือ อยู่ในรูปแบบของข้อความ ตัวอักษร
ตัวเลข สัญลักษณ์ เสียง โดยผ่านอุปกรณ์แสดงผลต่างๆเช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์เป็น
ต้น
2
รูปภาพที่ 1 การทางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
จากขั้นตอนการทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ทั้ง ๔ ขั้นตอน จะมีการทางาน
ประสานกัน โดยเริ่มจากการรับข้อมูลและคาสั่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ จากนั้นข้อมูล
และคาสั่งซึ่งอยู่ในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจจะถูกแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์
เข้าใจและส่งไปจัดเก็บข้อมูลไว้ชั่วคราว จากนั้นเมื่อมีคาสั่งให้ประมวลผล ข้อมูลที่ถูก
จัดเก็บชั่วคราวจะถูกส่งไปประมวลผล เป็นผลลัพธ์หรือสารสนเทศ ซึ่งผลลัพธ์หรือ
สารสนเทศจะถูกส่งไปแสดงผลลัพธ์ตามที่ผู้ใช้ต้องการ โดยผลลัพธ์จากการ
ประมวลผลจะถูกแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจได้และหากต้องการเก็บผลลัพธ์
ไว้ใช้ในภายหลัง ผลลัพธ์จะถูกนาไปจัดเก็บ สาหรับการเรียกใช้ได้อย่างถาวร การ
ทางานทั้ง ๔ ขั้นตอนดังกล่าว เรียกว่า วงจรการทางานขั้นพื้นฐานของ
คอมพิวเตอร์ (IPOS cycle)
3
ปัจจุบันอุปกรณ์ที่มีการทางานพื้นฐานทั้ง ๔ ขั้นตอน เรียกว่า คอมพิวเตอร์ ดังนั้น
คอมพิวเตอร์ จึงมีรูปร่างอย่างไรก็ได้ตัวอย่างเช่น การทางานของเครื่องรับเงิน
อัตโนมัติ (Automatic Teller Machine : ATM ) ซึ่งเครื่องเอทีเอ็มถือเป็นคอมพิวเตอร์
ประเภทหนึ่ง เนื่องจากมีการทางาน ๔ ขั้นตอน คือ การรับข้อมูลเข้าโดยผู้ใช้ใส่บัตร
เอทีเอ็มและป้อนข้อมูลรหัสเอทีเอ็ม จากนั้นผู้ใช้เลือกคาสั่งถอนเงินจะถูกส่งไป
ประมวลผล คือ การอ่านยอดเงินในบัญชีและการหักเงินที่ถอนในบัญชีธนาคาร
จากนั้นเครื่องเอทีเอ็มจะแสดงยอดเงินคงเหลือในบัญชีให้ผู้ใช้ทราบ และสุดท้ายเก็บ
ข้อมูลการถอนและยอดเงินคงเหลือไว้ในบัญชีธนาคาร
รูปภาพที่ 2การทางานของเครื่องเอทีเอ็ม
เปรียบเทียบการทางานระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
กระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีหลักเหมือนกับกระบวนการทางานของ
มนุษย์ซึ่งประกอบด้วย 4 หน่วยคือ หน่วยรับข้อมูล หน่วยความจา หน่วย
ประมวลผล และหน่วยแสดงผล
4
รูปภาพที่ 3การเปรียบเทียบระหว่างคอมกับมนุษต์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่
เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด
(Mainboard) และอุปกรณ์ต่อพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์
แป้นพิมพ์เม้าส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์และอุปกรณ์อื่น ๆ
ฮาร์ดแวร์จะไม่สามารถทางานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้จะต้องนามาต่อเชื่อมเพื่อทางาน
ร่วมกันเป็นระบบที่เรียกว่า “ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)” ที่มีโครงสร้าง
ของระบบจะทางานตามโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น
2. ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคาสั่งที่ควบคุมให้
เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่
ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานได้ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่ง
5
เป็นโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานตามต้องการได้โดยโปรแกรมหรือ
ชุดคาสั่งนั้นจะเขียนจากภาษาต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
(Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมีโปรแกรมเมอร์ (Programmer)
หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์แบบต่าง ๆ
ขึ้นมา
ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่จัดการและควบคุม
ทรัพยากรต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอานวยความสะดวกด้านเครื่องมือสาหรับการ
ทางานพื้นฐานต่าง ๆ ตั้งแต่ผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การทางานจะเป็นไปตาม
ชุดคาสั่งที่เขียนขึ้น ตลอดจนควบคุมการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างหรือ
พัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น งานด้านการ
จัดทาเอกสาร การทาบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอื่น ๆ ตามแต่
ผู้ใช้ต้องการ
3. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานามาให้คอมพิวเตอร์ทา
การประมวลผลคานวณ หรือกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เรา
ต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติ
การศึกษาหรือ ประวัติการทางาน ซึ่งอาจนามาจาแนกเป็นรายงานต่างๆ เกี่ยวกับ
บุคลากรในหน่วยงานได้หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขมาตรๆ ไฟฟ้าของบ้านแต่ละหลัง ก็
ใช้สาหรับคานวณเป็นปริมาณไฟฟ้า ที่ใช้ในแต่ละเดือน แล้วคิดเป็นเงิน ที่จะต้องชาระ
ให้กับการไฟฟ้าฯ
6
4. บุคคลากร (Peopleware) คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ และผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
ในหน่วยงานนั้นๆ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นั้น มีความสาคัญมาก เพราะการใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรม
ดาเนินการต่างๆ หลายอย่าง ซึ่งไม่สามารถทาด้วยตัวเองได้ถ้าหากไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่อง
คอมพิวเตอร์มากนัก เราจึงถือว่าบุคลากร เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของ ระบบ
คอมพิวเตอร์ด้วย ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
– เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (Operator)
– บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (System)
– ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing Manager)
– ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer user)
5. กระบวนการทางาน (Documentation/Procedure) เป็นขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้
ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทางานกับคอมพิวเตอร์จาเป็นที่จะต้อง
ให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอนการทางาน ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกัน มีการจัดทา
คู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้ทุกคนเรียนรู้และใช้อ้างอิงได้นอกจากนั้นเมื่อการใช้
มาตรฐาน ช่วยให้การประสานงาน ระหว่างหน่วยงานย่อยๆ ราบรื่น การจัดซื้อจัดหา
ตลอดจนการบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ก็จะง่ายขึ้นเพราะทุก
หน่วยงานใช้มาตรฐานเดียวกัน
7
รูปภาพที่ 4กระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์
หลักการเลือกคอมพิวเตอร์
หลักการทางานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
1 .หลักการเลือกใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อการใช้งานเลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับ
หน่วยงาน คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ
องค์กรต่าง ๆและธุรกิจขนาดเล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่
เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้นระบบคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้คือ
ไมโครคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์พีซีซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพจน
สามารถตอบสนองความต้องการได้ในราคาที่ถูกลง ค่าบารุงรักษาต่า การใช้งาน
สะดวกขึ้นและมีซอฟต์แวร์สาเร็จรูปให้เลือกใช้งานจานวนมาก จึงมีการประยุกต์ใช้
คอมพิวเตอร์ในงานด้านต่าง ๆในวันนี้จะกล่าวถึงการใช้งานคอมพิวเตอหลักการเลือก
ซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์
2.หลัการการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ จะต้องคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. งบประมาณในการจัดซื้อ
2. ประเภทของงานที่นาคอมพิวเตอร์มาใช้
8
3. สมรรถนะของเครื่อง
4. ความสามารถในการ Upgrade ในอนาคต
รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ หลัก ๆ โดยทั่วไปมีดังนี้
1. รุ่นและความเร็วในการประมวลผลของ CPU
2. ชนิดและขนาดของหน่วยความจา RAM
3. ขนาดของหน่วยความจาแคช (Cache Lever 2)
4. ขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์ (Hard disk)
คอมพิวเตอร์พีซีโดยทั่วไปในปัจจุบัน เป็นระบบมัลติมีเดีย สามารถดูหนัง ฟังเพลง
เล่นเกม และเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้การพิจารณารายละเอียดของเครื่องควรดูที่ความ
เหมาะสมในการนามาใช้งานมากกว่าการตัดสินใจซื้อตามแฟชั่นหรือการเลือกซื้อรุ่น
ใหม่ล่าสุดเพื่อให้เป็นคนทันสมัย ซึ่งจะทาให้เสียค่าใช้จ่ายแพงเพราะอีกไม่นานก็จะตก
รุ่น ราคาก็จะลดลงมาด้วย และยังเสี่ยงต่อความไม่สมบูรณ์ของเครื่อง เนื่องจากยังมี
ข้อผิดพลาดในการผลิต จะต้องมีการปรับปรุงอีกเทคนิคของการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์
คือ ควรซื้อเครื่องในรุ่นที่ต่ากว่ารุ่นที่ออกใหม่ 1 รุ่น จะได้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี
ประสิทธิภาพในราคาถูกในวงการศึกษา
3.องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทางานประสานงานร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบ
พื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย
-ฮาร์ดแวร์(Hardware)
-ซอฟแวร์ระบบ (System Software)
– บุคลากร (People ware)
– ข้อมูล (Data)
9
ฮาร์ดแวร์(Hardware) หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่สามารถจับต้องใด้ที่ใช้ในงาน
ระบบสารสนเทศ เช่นอุปกรณ์และเครื่องมืออิเลคทรอนิกส์ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่มีความสาคัญที่สุดคือ คอมพิวเตอร์ โดยหลักการทางานของคิมพิวเตอร์ มี 3 หน่วย
คือ
1. หน่วยรับข้อมูล (Output Unit)
2.หน่วยประมวลผล (Processing Unit)
3. หน่วยแสดงผล (Output Unit)
หน่วยรับข้อมูล (Output Unit)
เป็นส่วนที่ทาหน้าที่นาข้อมูลจากภายนอกเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นตัวกลาง
เชื่อมโยงจากมนุษย์สู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ในหน่วยรับข้อมูลนี้ มี
หน้าที่แปลงข้อมูลที่ส่งเข้าไปให้อยู่ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่คอมพิวเตอร์
เข้าใจ และนาเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อการประมวลผลเครื่องมือในส่วนนี้ เรียกว่า
อุปกรณ์นาเข้าข้อมูล (Input Device) ซึ่งมีทั้งประเภทที่มนุษย์ต้องทาการป้อนข้อมูล
ด้วยตนเองในลักษณะการพิมพ์การชี้ หรือกระทั่งการวาดรูปด้วยตนเอง ซึ่งอุปกรณ์
ลักษณะนี้ที่รู้จักกันดี คือ แป้นพิมพ์(Keyboard) และเมาส์ (Mouse) นอกจากนี้ยังมี
อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลในลักษณะของการส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบโดยตรง (Source-data
Automation) เพื่อให้การส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ทาได้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดย
อุปกรณ์เหล่านี้จะอ่านข้อมูลจากแหล่งกาเนิดและส่งเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยตรง
ผู้ใช้ไม่ต้องเคลื่อนย้ายหรือคัดลอกหรือพิมพ์สิ่งใดลงไปอีก ทาให้เกิดความรวดเร็วและ
ถูกต้องแม่นยายิ่งขึ้น ตัวอย่างของเครื่องป้อนข้อมูลประเภทนี้ คือ อุปกรณ์ OCR และ
สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นต้น ตัวอย่างของอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล ได้แก่
– แป้นพิมพ์(Keyboard)
– เมาส์ (Mouse)
10
-อุปกรณ์โอซีอาร์ (OCR)
-สแกนเนอร์ (Scanner
หน่วยประมวลผล (Processing Unit)
เป็นศูนย์กลางการประมวลผลของทั้งระบบ เปรียบเสมือนกองบัญชาการ หรือ ส่วน
ของศีรษะของมนุษย์ที่มีผู้บัญชาการ หรือสมองอยู่ภายใน หน่วยประมวลผลกลางนี้
จะเป็นการทางานประสานกันระหว่าง 2 ส่วนหลัก คือ ส่วนประมวลผล หมายถึง ส่วน
ที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมและประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็น
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กมาก ภายในประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ประกอบกัน
เป็นวงจรหลายล้านตัว โดยมีหน่วยวัดความเร็ว (Speed) เป็น เมกะเฮิรตซ์ (MHz =
MegaHertz) ถ้าค่าตัวเลขยิ่งสูงแสดงว่ามีความเร็วมาก เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนี้
เป็นรุ่น Pentium II 450 MHz แสดงคอมพิวเตอร์เครื่องนี้มีความเร็วในการประมวลผล
450 เมกะเฮิรตซ์ เป็นต้น
ภายในของส่วนประมวลผลกลาง จะประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 2 ส่วน คือ
-ส่วนควบคุม (Control Unit) คือ ส่วนที่ทาหน้าที่สร้างและส่งสัญญาณไปควบคุมการ
ทางานของส่วนประกอบต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ คล้ายการส่งสัญญาณควบคุมจาก
สมองไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ส่วนควบคุมนี้ไม่ได้ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูล แต่
มีหน้าที่ประสานงานให้ส่วนประกอบต่างๆ สามารถทางานร่วมกันได้อย่างเป็นระบบ
สัญญาณควบคุมจานวนมาก สามารถเดินทางไปยังส่วนประกอบต่างๆ ของระบบ
คอมพิวเตอร์ได้ด้วย ตัวส่งสัญญาณ เรียกว่า บัส (Bus) ซึ่งประกอบด้วย Control Bus,
Data Bus และ Address Bus ที่ทาหน้าที่ส่งสัญญาณควบคุม ส่งสัญญาณข้อมูล และส่ง
ตาแหน่งที่อยู่ของข้อมูลในส่วนความจา ตามลาดับ ดังนั้น บัสจึงเปรียบเสมือนพาหนะ
ที่ใช้ขนส่งข้อมูลไปสู่ส่วนประกอบต่างๆ ของระบบนั่นเอง
– ส่วนคานวณและเปรียบเทียบข้อมูล (Aritmetic and Logic Unit : ALU)
11
ทาหน้าที่คานวณและเปรียบเทียบข้อมูล โดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร์
(Arithmetic) และตรรกศาสตร์ (Logic) ตามลาดับ การประมวลผลด้วยหลักการทาง
คณิตศาสตร์ คือการคานวณที่ต้องกระทากับข้อมูลประเภทตัวเลข(Numeric)เช่น การ
บวก ลบ คูณ หาร ฯลฯ ให้ผลลัพธ์ที่หลากหลาย แต่การประมวลผลด้วยหลัก
ตรรกศาสตร์ คือการเปรียบเทียบข้อมูล ที่กระทากับข้อมูลตัวอักษร สัญลักษณ์ หรือ
ตัวเลข (Character) ให้ผลลัพธ์เพียงสองสภาวะ เช่น 0-1, ถูก-ผิด หรือ จริง-เท็จ เป็นต้น
คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง มักมีส่วนคานวณและเปรียบเทียบ (ALU) เพียงชุดเดียว
ยกเว้นในกรณีเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่อาจมี ALU มากกว่าหนึ่งชุด ซึ่งมักพบ
ในเครื่องที่มีการประมวลผลแบบ Multi-Processing (ประมวลผลงานเดียว โดยอาศัย
ตัวประมวลผลหลายตัว)
-ส่วนความจาหลัก
ส่วนความจาหลักเป็นส่วนความจาพื้นฐานในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง เป็นหัวใจของการ
ทางานในรูปแบบอัตโนมัติ มีหน้าที่เก็บข้อมูลต่างๆ ที่ป้อนเข้ามาเพื่อให้ส่วน
ประมวลผลนาไปใช้ละเก็บข้อมูลที่เกี่ยวกับคุณสมบัติและระบบการทางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ด้วย
ส่วนความจาหลักของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ ดังนี้
1. หน่วยความจาแบบถาวร (Read Only Memory – ROM) คือ หน่วยความจาที่นา
ข้อมูลออกมาใช้งานเพียงอย่างเดียว (Read Only) โดยได้มีการบันทึกข้อมูลไว้ล่วงหน้า
แล้ว สามารถเก็บรักษาข้อมูลไว้ได้โดยไม่ต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้าในการรักษาข้อมูล
แม้เราจะปิดเครื่อง หรือไม่มีไฟฟ้าไปหล่อเลี้ยง ข้อมูลที่อยู่ในรอมก็จะยังคงอยู่ ไม่สูญ
หายไป
ในปัจจุบัน หน่วยความจาถาวรนี้ เปิดโอกาสให้สามารถลบหรือแก้ไขข้อมูลได้เช่น
การปรับปรุง/แก้ไขข้อมูลเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ (System Configuration) เป็นต้น
12
2.หน่วยความจาชั่วคราว (Random Access Memory – RAM) คือ หน่วยความจาที่
สามารถบันทึกข้อมูล (Write Data) หรืออ่านข้อมูล (Read Data) ณ เวลาใดๆ ได้ตาม
ต้องการ (Random Access) การจดจาข้อมูลจึงไม่ถาวรทั้งยังต้องอาศัยสัญญาณไฟฟ้า
ในการเก็บรักษาและอ่านข้อมูล ฉะนั้น ข้อมูลที่อยู่ในแรมจะสูญหายไปทันทีที่ปิด
เครื่อง หรือไฟฟ้าไม่ไปหล่อเลี้ยง
แรมเป็นหน่วยความจาที่ใกล้ชิดและเกี่ยวข้องกับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง
เนื่องจากการรับข้อมูล การประมวลผล และการแสดงผลข้อมูล ต่างต้องอาศัยพื้นที่ใน
หน่วยความจานี้ทั้งสิ้น กล่าวได้ว่า แรมเป็นหน่วยความจาที่เป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพ
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สาคัญ ขนาดความจุของแรมเปรียบเสมือนขนาดของโต๊ะ
ทางาน หากแรมมีความจุมากก็เหมือนโต๊ะทางานที่มีพื้นที่ในการทางานได้มากนั่นเอง
หน่วยความจาแรม มีหน่วยวัดเป็นไบต์ซึ่งถ้าเป็นเครื่องรุ่นเก่า จะนิยมใช้
หน่วยความจาแรม 8 หรือ 16 เมกะไบต์( 8,16 MB ) แต่ถ้าเป็นเครื่องรุ่นใหม่ๆ จะนิยม
ใช้แรมขนาด 32 หรือ 64 MB ขึ้นไป ซึ่งจะทาให้สามารถทางานที่มีขนาดใหญ่ๆ เช่น
งานมัลติมิเดียหรืองานกราฟิกได้โดยหากใช้หน่วยความจาแรมน้อย เครื่องอาจทางาน
ช้ามากหรืออาจหยุดชะงักได้ง่าย
รูปภาพที่ 5 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
13
ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ จะต้องคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. งบประมาณในการจัดซื้อ
2. ประเภทของงานที่นาคอมพิวเตอร์มาใช้
3. สมรรถนะของเครื่อง
4. ความสามารถในการ Upgrade ในอนาคต
รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ หลัก ๆ โดยทั่วไปมีดังนี้
1. รุ่นและความเร็วในการประมวลผลของ CPU
2. ชนิดและขนาดของหน่วยความจา RAM
3. ขนาดของหน่วยความจาแคช (Cache Lever 2)
4. ขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์ (Hard disk)
คอมพิวเตอร์พีซีโดยทั่วไปในปัจจุบัน เป็นระบบมัลติมีเดีย สามารถดูหนัง ฟังเพลง
เล่นเกม และเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้
การพิจารณารายละเอียดของเครื่องควรดูที่ความเหมาะสมในการนามาใช้งานมากกว่า
การตัดสินใจซื้อตามแฟชั่นหรือ
การเลือกซื้อรุ่นใหม่ล่าสุดเพื่อให้เป็นคนทันสมัย ซึ่งจะทาให้เสียค่าใช้จ่ายแพงเพราะ
อีกไม่นานก็จะตกรุ่น ราคาก็จะลดลงมาด้วย
และยังเสี่ยงต่อความไม่สมบูรณ์ของเครื่อง เนื่องจากยังมีข้อผิดพลาดในการผลิต
จะต้องมีการปรับปรุงอีก
เทคนิคของการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์คือ ควรซื้อเครื่องในรุ่นที่ต่ากว่ารุ่นที่ออกใหม่ 1
รุ่น จะได้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในราคาถูก
การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเลือกโปรแกรมสาหรับคอมพิวเตอร์ โปรแกรมแรกคือระบบปฏิบัติการ ต้องให้
14
เหมาะสมกับระบบคอมพิวเตอร์
และต้องเป็นโปรแกรมที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ เช่น วินโดว์9x ขึ้นไป หรือ โปรแกรมฟรี
เช่น ลีนุกซ์ เป็นต้น
จากนั้นเลือกโปรแกรมที่เหมาะสมกับงาน การจัดหาโปรแกรมมี 3 วิธีคือ
1. โปรแกรมสาเร็จรูป (Package Program) เป็นโปรแกรมที่ช่วยอานวยความสะดวกใน
การทางาน
สามารถเลือกซื้อใช้ได้ตามความต้องการ เช่น สาหรับสานักงาน (Office) ประกอบด้วย
โปรแกรมประมวลผลคา (Word Processing: MS-Word) โปรแกรมตารางทางาน
(Spread sheet: Excel, Lotus1-2-3)
โปรแกรมเสนองาน(Presentation: PowerPoint) โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Data
Base: Access, dBase, FoxBASE, FoxPro)
2. โปรแกรมประยุกต์(Application Program: User Program) หมายถึงโปรแกรมที่
เขียนขึ้นใช้เองตามความต้องการ
เพื่องานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรมสาหรับระบบงานบัญชี โปรแกรม
สาหรับงานการเรียนการสอน เป็นต้น
ซึ่งโปรแกรมประเภทนี้อาจใช้โปรแกรมเมอร์ขององค์กรเขียนขึ้นหรือว่าจ้างบริษัท
รับจ้างเขียนโปรแกรม ค่าใช้จ่ายจะสูงกว่า
การซื้อโปรแกรมสาเร็จรูปมาใช้แต่จะตรงกับความต้องการมากกว่า
3. โปรแกรมที่เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบ (Program Tools) ได้แก่ โปรแกรม
ประเภท CASE เช่น Excelerator
ซึ่งโปรแกรมเมอร์ใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบงาน
ขั้นตอนในการเลือกโปรแกรมให้เหมาะสมกับลักษณะของงานมีดังนี้
1. ตรงกับความต้องการ (Requirement) สามารถทางานได้ตรงตามความต้องการของ
ผู้ใช้
15
2. มีประสิทธิภาพ (Performance) สามารถจัดการกับข้อมูลได้ดี การแสดงผล การ
ประมวลผลรวดเร็วและถูกต้อง
3. ง่ายต่อการใช้งาน (Easy to use) สามารถเรียนรู้วิธีการใช้งานได้ง่าย ในระยะเวลาอัน
สั้น และมีเมนูช่วยเหลือ (Help menu)
ในระหว่างการใช้งาน
4. มีความยืดหยุ่น (Flexibility) สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกันสามารถ
รับส่งข้อมูลกับโปรแกรมอื่น ๆ
ได้รวมทั้งสามารถใช้งานกับอุปกรณ์แสดงผลได้หลายชนิด เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์
5. คู่มือการใช้งานที่มีคุณภาพ (Quality of Documentation) ต้องสามารถอธิบายหรือให้
คาแนะนาต่อผู้ใช้งานเมื่อเกิดปัญหาขึ้น
ช่วยให้แก้ไขปัญหาได้เมื่อปฏิบัติตาม
6. การรับรองผลิตภัณฑ์(Manufacture Support) ผู้ผลิตหรือผู้ขายรับรองผลิตภัณฑ์ของ
ตน บริการให้คาปรึกษาเมื่อมีปัญหาจากการใช้ผลิตภัณฑ์
แจ้งข่าวสารการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้บริการ Upgrade ฟรีเป็นต้น
การใช้โปรแกรมควรมีการตรวจสอบความถูกต้อง โดยการนาข้อมูลจริงบันทึกลงบน
โปรแกรมนั้น หลังจากประมวลผลแล้ว
ดูผลลัพธ์ที่ได้ถูกต้องตรงกับความต้องการหรือไม่
16
บรรณานุกรม
งานที่อ้างถึง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ภาสกร เรืองรอง. (2007). การทางานขั่นพิ้นฐานของคอมพิวเตอร์.

More Related Content

What's hot

หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น  คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Nuttanun Wisetsumon
 
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้นรายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้นพัน พัน
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ekkachai kaikaew
 
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboardการใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
Duangnapa Inyayot
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
พัน พัน
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ศุภกรณ์ วัฒนศรี
 
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Nitiwat First
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
Chonlamas Supsomboon
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
Srinthip Chaiya
 

What's hot (20)

หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น  คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้นรายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboardการใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 

Similar to การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์

งานเพาเวอร์21111111111111111111111
งานเพาเวอร์21111111111111111111111งานเพาเวอร์21111111111111111111111
งานเพาเวอร์21111111111111111111111ratsamee
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เทวัญ ภูพานทอง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
Peem Jirayut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
Peem Jirayut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
Peem Jirayut
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Chuan Fsk
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
jamiezaa123
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Panuwith boom
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
Jenchoke Tachagomain
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์delloov
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Krittin Piampricharat
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 

Similar to การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (20)

งานเพาเวอร์21111111111111111111111
งานเพาเวอร์21111111111111111111111งานเพาเวอร์21111111111111111111111
งานเพาเวอร์21111111111111111111111
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 

More from พัน พัน

เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
พัน พัน
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
พัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
พัน พัน
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
พัน พัน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
พัน พัน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
พัน พัน
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
พัน พัน
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
พัน พัน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษ
พัน พัน
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษ
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์

  • 1. เรื่อง การทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นาย เจษฎากร เผ่าพันธุ์ ม5/3 เลขที่ 3 เสนอ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์ (ง 30204) ภาคเรียน 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในพระราชูถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8
  • 2. ก คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการจัดการระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล ด้วยธุรกิจด้วย คอมพิวเตอร์เพื่อศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานในระบบเรือข่าย เห็นคุณค่าในเรื่องการสื่อสารข้อมูลบนระบบเครือข่ายและ การศึกษาเกี่ยวกับ มาตรฐานการสื่อสารข้อมูล โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โปรโตคอล ระบบ เครือข่ายบนอินเตอร์เน็ต หากรายงานฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใดทางผู้จัดทาขอ อภัยมา ณ ที่นี้ด้วย นาย เจษฎากร เผ่าพันธ์
  • 3. สารบัญ คำนำ.........................................................................................................................................................ก บทนำ........................................................................................................................................................1 กำรทำงำนขั้นพื้นฐำนของคอมพิวเตอร์.........................................................................................................1 เปรียบเทียบกำรทำงำนระหว่ำงมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ ....................................................................................3 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ................................................................................................................4 หลักกำรเลือกคอมพิวเตอร์.............................................................................................................................7 หลักกำรทำงำนและกำรเลือกใช้คอมพิวเตอร์.................................................................................................7 ชนิดของกำรเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ .................................................................................................................13 กำรเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์.................................................................................................................13 บรรณำนุกรม ............................................................................................................................................16 สำรบัญรูปภำพ รูปภำพที่ 1 กำรทำงำนขั้นพื้นฐำนของคอมพิวเตอร์............................................................................................2 รูปภำพที่ 2กำรทำงำนของเครื่องเอทีเอ็ม ..........................................................................................................3 รูปภำพที่ 3กำรเปรียบเทียบระหว่ำงคอมกับมนุษต์ .............................................................................................4 รูปภำพที่ 4กระบวนกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ ................................................................................................7 รูปภำพที่ 5 กำรเลือกซื้อคอมพิวเตอร์.............................................................................................................12
  • 4. บทนา การทางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ สร้างขึ้นเพื่อใช้แก้ปัญหาต่างๆทั้ง ในรูปแบบที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ ซึ่งปฎิบัติตามขั้นตอนของ โปรแกรมที่ตั้งไว้สาหรับการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีขึ้นตอนการทางานพื้นฐาน ๔ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ ๑ รับข้อมูล (input) เป็นการนาข้อมูลหรือคาสั่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผ่าน อุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆเช่น การพิมพ์ข้อความเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้แป้นพิมพ์ การบันทึกเสียงโดยผ่านไมโครโฟน เป็นต้น ขั้นที่ ๒ ประมวลผลข้อมูล (process) เป็นการนาข้อมูลมาประมวลผลตามชุดคาสั่งหรือ โปรแกรมเพื่อให้ได้ผลลัพธ์หรือสารสนเทศ เช่น การนาข้อมูลที่รับเข้ามาหาผลรวม เปรียบเทียบคานวณเกรดเฉลี่ย เป็นต้น ซึ่งอุปกรณ์สาหรับประมวลที่สาคัญ คือ หน่วย ประมวลผลกลาง ขั้นที่ ๓ จัดเก็บข้อมูล (storage) เป็นการจัดเก็บข้อมูลชั่วคราวในขณะที่มีการ ประมวลผลแรม รวมถึงจัดเก็บข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลลงในอุปกรณ์เก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสถ์(hard disk) แฟลชไดร์ฟ (flash drive) เป็นต้น ขั้นที่ ๔ แสดงผลข้อมูล (output) เป็นการนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมา แสดงผลลัพธ์ในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจ กล่าวคือ อยู่ในรูปแบบของข้อความ ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ เสียง โดยผ่านอุปกรณ์แสดงผลต่างๆเช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์เป็น ต้น
  • 5. 2 รูปภาพที่ 1 การทางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ จากขั้นตอนการทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ทั้ง ๔ ขั้นตอน จะมีการทางาน ประสานกัน โดยเริ่มจากการรับข้อมูลและคาสั่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ จากนั้นข้อมูล และคาสั่งซึ่งอยู่ในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจจะถูกแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์ เข้าใจและส่งไปจัดเก็บข้อมูลไว้ชั่วคราว จากนั้นเมื่อมีคาสั่งให้ประมวลผล ข้อมูลที่ถูก จัดเก็บชั่วคราวจะถูกส่งไปประมวลผล เป็นผลลัพธ์หรือสารสนเทศ ซึ่งผลลัพธ์หรือ สารสนเทศจะถูกส่งไปแสดงผลลัพธ์ตามที่ผู้ใช้ต้องการ โดยผลลัพธ์จากการ ประมวลผลจะถูกแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจได้และหากต้องการเก็บผลลัพธ์ ไว้ใช้ในภายหลัง ผลลัพธ์จะถูกนาไปจัดเก็บ สาหรับการเรียกใช้ได้อย่างถาวร การ ทางานทั้ง ๔ ขั้นตอนดังกล่าว เรียกว่า วงจรการทางานขั้นพื้นฐานของ คอมพิวเตอร์ (IPOS cycle)
  • 6. 3 ปัจจุบันอุปกรณ์ที่มีการทางานพื้นฐานทั้ง ๔ ขั้นตอน เรียกว่า คอมพิวเตอร์ ดังนั้น คอมพิวเตอร์ จึงมีรูปร่างอย่างไรก็ได้ตัวอย่างเช่น การทางานของเครื่องรับเงิน อัตโนมัติ (Automatic Teller Machine : ATM ) ซึ่งเครื่องเอทีเอ็มถือเป็นคอมพิวเตอร์ ประเภทหนึ่ง เนื่องจากมีการทางาน ๔ ขั้นตอน คือ การรับข้อมูลเข้าโดยผู้ใช้ใส่บัตร เอทีเอ็มและป้อนข้อมูลรหัสเอทีเอ็ม จากนั้นผู้ใช้เลือกคาสั่งถอนเงินจะถูกส่งไป ประมวลผล คือ การอ่านยอดเงินในบัญชีและการหักเงินที่ถอนในบัญชีธนาคาร จากนั้นเครื่องเอทีเอ็มจะแสดงยอดเงินคงเหลือในบัญชีให้ผู้ใช้ทราบ และสุดท้ายเก็บ ข้อมูลการถอนและยอดเงินคงเหลือไว้ในบัญชีธนาคาร รูปภาพที่ 2การทางานของเครื่องเอทีเอ็ม เปรียบเทียบการทางานระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ กระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีหลักเหมือนกับกระบวนการทางานของ มนุษย์ซึ่งประกอบด้วย 4 หน่วยคือ หน่วยรับข้อมูล หน่วยความจา หน่วย ประมวลผล และหน่วยแสดงผล
  • 7. 4 รูปภาพที่ 3การเปรียบเทียบระหว่างคอมกับมนุษต์ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่ เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ต่อพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้นพิมพ์เม้าส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะไม่สามารถทางานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้จะต้องนามาต่อเชื่อมเพื่อทางาน ร่วมกันเป็นระบบที่เรียกว่า “ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)” ที่มีโครงสร้าง ของระบบจะทางานตามโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น 2. ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคาสั่งที่ควบคุมให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานได้ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่ง
  • 8. 5 เป็นโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานตามต้องการได้โดยโปรแกรมหรือ ชุดคาสั่งนั้นจะเขียนจากภาษาต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมีโปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์แบบต่าง ๆ ขึ้นมา ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่จัดการและควบคุม ทรัพยากรต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอานวยความสะดวกด้านเครื่องมือสาหรับการ ทางานพื้นฐานต่าง ๆ ตั้งแต่ผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การทางานจะเป็นไปตาม ชุดคาสั่งที่เขียนขึ้น ตลอดจนควบคุมการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างหรือ พัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น งานด้านการ จัดทาเอกสาร การทาบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอื่น ๆ ตามแต่ ผู้ใช้ต้องการ 3. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานามาให้คอมพิวเตอร์ทา การประมวลผลคานวณ หรือกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เรา ต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษาหรือ ประวัติการทางาน ซึ่งอาจนามาจาแนกเป็นรายงานต่างๆ เกี่ยวกับ บุคลากรในหน่วยงานได้หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขมาตรๆ ไฟฟ้าของบ้านแต่ละหลัง ก็ ใช้สาหรับคานวณเป็นปริมาณไฟฟ้า ที่ใช้ในแต่ละเดือน แล้วคิดเป็นเงิน ที่จะต้องชาระ ให้กับการไฟฟ้าฯ
  • 9. 6 4. บุคคลากร (Peopleware) คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ และผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ในหน่วยงานนั้นๆ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นั้น มีความสาคัญมาก เพราะการใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรม ดาเนินการต่างๆ หลายอย่าง ซึ่งไม่สามารถทาด้วยตัวเองได้ถ้าหากไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่อง คอมพิวเตอร์มากนัก เราจึงถือว่าบุคลากร เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของ ระบบ คอมพิวเตอร์ด้วย ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้ – เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (Operator) – บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (System) – ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing Manager) – ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer user) 5. กระบวนการทางาน (Documentation/Procedure) เป็นขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทางานกับคอมพิวเตอร์จาเป็นที่จะต้อง ให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอนการทางาน ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกัน มีการจัดทา คู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้ทุกคนเรียนรู้และใช้อ้างอิงได้นอกจากนั้นเมื่อการใช้ มาตรฐาน ช่วยให้การประสานงาน ระหว่างหน่วยงานย่อยๆ ราบรื่น การจัดซื้อจัดหา ตลอดจนการบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ก็จะง่ายขึ้นเพราะทุก หน่วยงานใช้มาตรฐานเดียวกัน
  • 10. 7 รูปภาพที่ 4กระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์ หลักการเลือกคอมพิวเตอร์ หลักการทางานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์ 1 .หลักการเลือกใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อการใช้งานเลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับ หน่วยงาน คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ องค์กรต่าง ๆและธุรกิจขนาดเล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่ เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้นระบบคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้คือ ไมโครคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์พีซีซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพจน สามารถตอบสนองความต้องการได้ในราคาที่ถูกลง ค่าบารุงรักษาต่า การใช้งาน สะดวกขึ้นและมีซอฟต์แวร์สาเร็จรูปให้เลือกใช้งานจานวนมาก จึงมีการประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอร์ในงานด้านต่าง ๆในวันนี้จะกล่าวถึงการใช้งานคอมพิวเตอหลักการเลือก ซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ 2.หลัการการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ จะต้องคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 1. งบประมาณในการจัดซื้อ 2. ประเภทของงานที่นาคอมพิวเตอร์มาใช้
  • 11. 8 3. สมรรถนะของเครื่อง 4. ความสามารถในการ Upgrade ในอนาคต รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ หลัก ๆ โดยทั่วไปมีดังนี้ 1. รุ่นและความเร็วในการประมวลผลของ CPU 2. ชนิดและขนาดของหน่วยความจา RAM 3. ขนาดของหน่วยความจาแคช (Cache Lever 2) 4. ขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) คอมพิวเตอร์พีซีโดยทั่วไปในปัจจุบัน เป็นระบบมัลติมีเดีย สามารถดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม และเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้การพิจารณารายละเอียดของเครื่องควรดูที่ความ เหมาะสมในการนามาใช้งานมากกว่าการตัดสินใจซื้อตามแฟชั่นหรือการเลือกซื้อรุ่น ใหม่ล่าสุดเพื่อให้เป็นคนทันสมัย ซึ่งจะทาให้เสียค่าใช้จ่ายแพงเพราะอีกไม่นานก็จะตก รุ่น ราคาก็จะลดลงมาด้วย และยังเสี่ยงต่อความไม่สมบูรณ์ของเครื่อง เนื่องจากยังมี ข้อผิดพลาดในการผลิต จะต้องมีการปรับปรุงอีกเทคนิคของการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ คือ ควรซื้อเครื่องในรุ่นที่ต่ากว่ารุ่นที่ออกใหม่ 1 รุ่น จะได้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี ประสิทธิภาพในราคาถูกในวงการศึกษา 3.องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทางานประสานงานร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบ พื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย -ฮาร์ดแวร์(Hardware) -ซอฟแวร์ระบบ (System Software) – บุคลากร (People ware) – ข้อมูล (Data)
  • 12. 9 ฮาร์ดแวร์(Hardware) หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่สามารถจับต้องใด้ที่ใช้ในงาน ระบบสารสนเทศ เช่นอุปกรณ์และเครื่องมืออิเลคทรอนิกส์ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีความสาคัญที่สุดคือ คอมพิวเตอร์ โดยหลักการทางานของคิมพิวเตอร์ มี 3 หน่วย คือ 1. หน่วยรับข้อมูล (Output Unit) 2.หน่วยประมวลผล (Processing Unit) 3. หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยรับข้อมูล (Output Unit) เป็นส่วนที่ทาหน้าที่นาข้อมูลจากภายนอกเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นตัวกลาง เชื่อมโยงจากมนุษย์สู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ในหน่วยรับข้อมูลนี้ มี หน้าที่แปลงข้อมูลที่ส่งเข้าไปให้อยู่ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่คอมพิวเตอร์ เข้าใจ และนาเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อการประมวลผลเครื่องมือในส่วนนี้ เรียกว่า อุปกรณ์นาเข้าข้อมูล (Input Device) ซึ่งมีทั้งประเภทที่มนุษย์ต้องทาการป้อนข้อมูล ด้วยตนเองในลักษณะการพิมพ์การชี้ หรือกระทั่งการวาดรูปด้วยตนเอง ซึ่งอุปกรณ์ ลักษณะนี้ที่รู้จักกันดี คือ แป้นพิมพ์(Keyboard) และเมาส์ (Mouse) นอกจากนี้ยังมี อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลในลักษณะของการส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบโดยตรง (Source-data Automation) เพื่อให้การส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ทาได้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดย อุปกรณ์เหล่านี้จะอ่านข้อมูลจากแหล่งกาเนิดและส่งเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยตรง ผู้ใช้ไม่ต้องเคลื่อนย้ายหรือคัดลอกหรือพิมพ์สิ่งใดลงไปอีก ทาให้เกิดความรวดเร็วและ ถูกต้องแม่นยายิ่งขึ้น ตัวอย่างของเครื่องป้อนข้อมูลประเภทนี้ คือ อุปกรณ์ OCR และ สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นต้น ตัวอย่างของอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล ได้แก่ – แป้นพิมพ์(Keyboard) – เมาส์ (Mouse)
  • 13. 10 -อุปกรณ์โอซีอาร์ (OCR) -สแกนเนอร์ (Scanner หน่วยประมวลผล (Processing Unit) เป็นศูนย์กลางการประมวลผลของทั้งระบบ เปรียบเสมือนกองบัญชาการ หรือ ส่วน ของศีรษะของมนุษย์ที่มีผู้บัญชาการ หรือสมองอยู่ภายใน หน่วยประมวลผลกลางนี้ จะเป็นการทางานประสานกันระหว่าง 2 ส่วนหลัก คือ ส่วนประมวลผล หมายถึง ส่วน ที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมและประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็น ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กมาก ภายในประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ประกอบกัน เป็นวงจรหลายล้านตัว โดยมีหน่วยวัดความเร็ว (Speed) เป็น เมกะเฮิรตซ์ (MHz = MegaHertz) ถ้าค่าตัวเลขยิ่งสูงแสดงว่ามีความเร็วมาก เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ เป็นรุ่น Pentium II 450 MHz แสดงคอมพิวเตอร์เครื่องนี้มีความเร็วในการประมวลผล 450 เมกะเฮิรตซ์ เป็นต้น ภายในของส่วนประมวลผลกลาง จะประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 2 ส่วน คือ -ส่วนควบคุม (Control Unit) คือ ส่วนที่ทาหน้าที่สร้างและส่งสัญญาณไปควบคุมการ ทางานของส่วนประกอบต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ คล้ายการส่งสัญญาณควบคุมจาก สมองไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ส่วนควบคุมนี้ไม่ได้ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูล แต่ มีหน้าที่ประสานงานให้ส่วนประกอบต่างๆ สามารถทางานร่วมกันได้อย่างเป็นระบบ สัญญาณควบคุมจานวนมาก สามารถเดินทางไปยังส่วนประกอบต่างๆ ของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ด้วย ตัวส่งสัญญาณ เรียกว่า บัส (Bus) ซึ่งประกอบด้วย Control Bus, Data Bus และ Address Bus ที่ทาหน้าที่ส่งสัญญาณควบคุม ส่งสัญญาณข้อมูล และส่ง ตาแหน่งที่อยู่ของข้อมูลในส่วนความจา ตามลาดับ ดังนั้น บัสจึงเปรียบเสมือนพาหนะ ที่ใช้ขนส่งข้อมูลไปสู่ส่วนประกอบต่างๆ ของระบบนั่นเอง – ส่วนคานวณและเปรียบเทียบข้อมูล (Aritmetic and Logic Unit : ALU)
  • 14. 11 ทาหน้าที่คานวณและเปรียบเทียบข้อมูล โดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic) และตรรกศาสตร์ (Logic) ตามลาดับ การประมวลผลด้วยหลักการทาง คณิตศาสตร์ คือการคานวณที่ต้องกระทากับข้อมูลประเภทตัวเลข(Numeric)เช่น การ บวก ลบ คูณ หาร ฯลฯ ให้ผลลัพธ์ที่หลากหลาย แต่การประมวลผลด้วยหลัก ตรรกศาสตร์ คือการเปรียบเทียบข้อมูล ที่กระทากับข้อมูลตัวอักษร สัญลักษณ์ หรือ ตัวเลข (Character) ให้ผลลัพธ์เพียงสองสภาวะ เช่น 0-1, ถูก-ผิด หรือ จริง-เท็จ เป็นต้น คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง มักมีส่วนคานวณและเปรียบเทียบ (ALU) เพียงชุดเดียว ยกเว้นในกรณีเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่อาจมี ALU มากกว่าหนึ่งชุด ซึ่งมักพบ ในเครื่องที่มีการประมวลผลแบบ Multi-Processing (ประมวลผลงานเดียว โดยอาศัย ตัวประมวลผลหลายตัว) -ส่วนความจาหลัก ส่วนความจาหลักเป็นส่วนความจาพื้นฐานในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง เป็นหัวใจของการ ทางานในรูปแบบอัตโนมัติ มีหน้าที่เก็บข้อมูลต่างๆ ที่ป้อนเข้ามาเพื่อให้ส่วน ประมวลผลนาไปใช้ละเก็บข้อมูลที่เกี่ยวกับคุณสมบัติและระบบการทางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ด้วย ส่วนความจาหลักของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ ดังนี้ 1. หน่วยความจาแบบถาวร (Read Only Memory – ROM) คือ หน่วยความจาที่นา ข้อมูลออกมาใช้งานเพียงอย่างเดียว (Read Only) โดยได้มีการบันทึกข้อมูลไว้ล่วงหน้า แล้ว สามารถเก็บรักษาข้อมูลไว้ได้โดยไม่ต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้าในการรักษาข้อมูล แม้เราจะปิดเครื่อง หรือไม่มีไฟฟ้าไปหล่อเลี้ยง ข้อมูลที่อยู่ในรอมก็จะยังคงอยู่ ไม่สูญ หายไป ในปัจจุบัน หน่วยความจาถาวรนี้ เปิดโอกาสให้สามารถลบหรือแก้ไขข้อมูลได้เช่น การปรับปรุง/แก้ไขข้อมูลเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ (System Configuration) เป็นต้น
  • 15. 12 2.หน่วยความจาชั่วคราว (Random Access Memory – RAM) คือ หน่วยความจาที่ สามารถบันทึกข้อมูล (Write Data) หรืออ่านข้อมูล (Read Data) ณ เวลาใดๆ ได้ตาม ต้องการ (Random Access) การจดจาข้อมูลจึงไม่ถาวรทั้งยังต้องอาศัยสัญญาณไฟฟ้า ในการเก็บรักษาและอ่านข้อมูล ฉะนั้น ข้อมูลที่อยู่ในแรมจะสูญหายไปทันทีที่ปิด เครื่อง หรือไฟฟ้าไม่ไปหล่อเลี้ยง แรมเป็นหน่วยความจาที่ใกล้ชิดและเกี่ยวข้องกับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง เนื่องจากการรับข้อมูล การประมวลผล และการแสดงผลข้อมูล ต่างต้องอาศัยพื้นที่ใน หน่วยความจานี้ทั้งสิ้น กล่าวได้ว่า แรมเป็นหน่วยความจาที่เป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สาคัญ ขนาดความจุของแรมเปรียบเสมือนขนาดของโต๊ะ ทางาน หากแรมมีความจุมากก็เหมือนโต๊ะทางานที่มีพื้นที่ในการทางานได้มากนั่นเอง หน่วยความจาแรม มีหน่วยวัดเป็นไบต์ซึ่งถ้าเป็นเครื่องรุ่นเก่า จะนิยมใช้ หน่วยความจาแรม 8 หรือ 16 เมกะไบต์( 8,16 MB ) แต่ถ้าเป็นเครื่องรุ่นใหม่ๆ จะนิยม ใช้แรมขนาด 32 หรือ 64 MB ขึ้นไป ซึ่งจะทาให้สามารถทางานที่มีขนาดใหญ่ๆ เช่น งานมัลติมิเดียหรืองานกราฟิกได้โดยหากใช้หน่วยความจาแรมน้อย เครื่องอาจทางาน ช้ามากหรืออาจหยุดชะงักได้ง่าย รูปภาพที่ 5 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
  • 16. 13 ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ จะต้องคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 1. งบประมาณในการจัดซื้อ 2. ประเภทของงานที่นาคอมพิวเตอร์มาใช้ 3. สมรรถนะของเครื่อง 4. ความสามารถในการ Upgrade ในอนาคต รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ หลัก ๆ โดยทั่วไปมีดังนี้ 1. รุ่นและความเร็วในการประมวลผลของ CPU 2. ชนิดและขนาดของหน่วยความจา RAM 3. ขนาดของหน่วยความจาแคช (Cache Lever 2) 4. ขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) คอมพิวเตอร์พีซีโดยทั่วไปในปัจจุบัน เป็นระบบมัลติมีเดีย สามารถดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม และเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้ การพิจารณารายละเอียดของเครื่องควรดูที่ความเหมาะสมในการนามาใช้งานมากกว่า การตัดสินใจซื้อตามแฟชั่นหรือ การเลือกซื้อรุ่นใหม่ล่าสุดเพื่อให้เป็นคนทันสมัย ซึ่งจะทาให้เสียค่าใช้จ่ายแพงเพราะ อีกไม่นานก็จะตกรุ่น ราคาก็จะลดลงมาด้วย และยังเสี่ยงต่อความไม่สมบูรณ์ของเครื่อง เนื่องจากยังมีข้อผิดพลาดในการผลิต จะต้องมีการปรับปรุงอีก เทคนิคของการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์คือ ควรซื้อเครื่องในรุ่นที่ต่ากว่ารุ่นที่ออกใหม่ 1 รุ่น จะได้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในราคาถูก การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเลือกโปรแกรมสาหรับคอมพิวเตอร์ โปรแกรมแรกคือระบบปฏิบัติการ ต้องให้
  • 17. 14 เหมาะสมกับระบบคอมพิวเตอร์ และต้องเป็นโปรแกรมที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ เช่น วินโดว์9x ขึ้นไป หรือ โปรแกรมฟรี เช่น ลีนุกซ์ เป็นต้น จากนั้นเลือกโปรแกรมที่เหมาะสมกับงาน การจัดหาโปรแกรมมี 3 วิธีคือ 1. โปรแกรมสาเร็จรูป (Package Program) เป็นโปรแกรมที่ช่วยอานวยความสะดวกใน การทางาน สามารถเลือกซื้อใช้ได้ตามความต้องการ เช่น สาหรับสานักงาน (Office) ประกอบด้วย โปรแกรมประมวลผลคา (Word Processing: MS-Word) โปรแกรมตารางทางาน (Spread sheet: Excel, Lotus1-2-3) โปรแกรมเสนองาน(Presentation: PowerPoint) โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Data Base: Access, dBase, FoxBASE, FoxPro) 2. โปรแกรมประยุกต์(Application Program: User Program) หมายถึงโปรแกรมที่ เขียนขึ้นใช้เองตามความต้องการ เพื่องานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรมสาหรับระบบงานบัญชี โปรแกรม สาหรับงานการเรียนการสอน เป็นต้น ซึ่งโปรแกรมประเภทนี้อาจใช้โปรแกรมเมอร์ขององค์กรเขียนขึ้นหรือว่าจ้างบริษัท รับจ้างเขียนโปรแกรม ค่าใช้จ่ายจะสูงกว่า การซื้อโปรแกรมสาเร็จรูปมาใช้แต่จะตรงกับความต้องการมากกว่า 3. โปรแกรมที่เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบ (Program Tools) ได้แก่ โปรแกรม ประเภท CASE เช่น Excelerator ซึ่งโปรแกรมเมอร์ใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบงาน ขั้นตอนในการเลือกโปรแกรมให้เหมาะสมกับลักษณะของงานมีดังนี้ 1. ตรงกับความต้องการ (Requirement) สามารถทางานได้ตรงตามความต้องการของ ผู้ใช้
  • 18. 15 2. มีประสิทธิภาพ (Performance) สามารถจัดการกับข้อมูลได้ดี การแสดงผล การ ประมวลผลรวดเร็วและถูกต้อง 3. ง่ายต่อการใช้งาน (Easy to use) สามารถเรียนรู้วิธีการใช้งานได้ง่าย ในระยะเวลาอัน สั้น และมีเมนูช่วยเหลือ (Help menu) ในระหว่างการใช้งาน 4. มีความยืดหยุ่น (Flexibility) สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกันสามารถ รับส่งข้อมูลกับโปรแกรมอื่น ๆ ได้รวมทั้งสามารถใช้งานกับอุปกรณ์แสดงผลได้หลายชนิด เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ 5. คู่มือการใช้งานที่มีคุณภาพ (Quality of Documentation) ต้องสามารถอธิบายหรือให้ คาแนะนาต่อผู้ใช้งานเมื่อเกิดปัญหาขึ้น ช่วยให้แก้ไขปัญหาได้เมื่อปฏิบัติตาม 6. การรับรองผลิตภัณฑ์(Manufacture Support) ผู้ผลิตหรือผู้ขายรับรองผลิตภัณฑ์ของ ตน บริการให้คาปรึกษาเมื่อมีปัญหาจากการใช้ผลิตภัณฑ์ แจ้งข่าวสารการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้บริการ Upgrade ฟรีเป็นต้น การใช้โปรแกรมควรมีการตรวจสอบความถูกต้อง โดยการนาข้อมูลจริงบันทึกลงบน โปรแกรมนั้น หลังจากประมวลผลแล้ว ดูผลลัพธ์ที่ได้ถูกต้องตรงกับความต้องการหรือไม่