SlideShare a Scribd company logo
รายงาน
เรื่อง คอมพิวเตอร์
จัดทาโดย
นาย นพดล พรหมชนะ
ชั้นมัธยมศึกษาที่ 5/3 เลขที่ 11
เสนอ
ครู ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ก
สารบัญ
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น....................................................................................................................................1
การทางานของคอมพิวเตอร์ ...........................................................................................................................3
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (PC).................................................................................................................4
ระบบคอมพิวเตอร์ ..................................................................................................................................... 14
สารบัญตาราง
ตารางที่ 1 ตารางการทางานของคอมพิวเตอร์....................................................................................................3
ข
คานา
รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางแห่งการศึกษาต่อไปของผู้ที่ต้องการที่จะศึกษาใน
เรื่องของคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทาหวังว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่มาศึกษาดูงานเล่มนี้ไม่มากก็น้อย
เพื่อเป็นประโยชน์ต่อไปของผู้ศึกษา และหากมีข้อผิดผาดประการณ์ใด ผู้จัดทาต้องขออภัยไว้ณ
ที่นี้ด้วย
นาย นพดล พรหมชนะ
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความหมายของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electronic device) ที่มนุษย์ใช้เป็น
เครื่องมือช่วยในการจัดการกับข้อมูลที่อาจเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทน
ความหมายในสิ่งต่าง ๆ โดยคุณสมบัติที่สาคัญของคอมพิวเตอร์คือการที่สามารถกาหนด
ชุดคาสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้(programmable) นั่นคือคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้
หลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับชุดคาสั่งที่เลือกมาใช้งาน ทาให้สามารถนาคอมพิวเตอร์ไป
ประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เช่น ใช้ในการตรวจคลื่นความถี่ของหัวใจ การฝาก – ถอนเงิน
ในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์เป็นต้น ข้อดีของคอมพิวเตอร์ คือ เครื่อง
คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความถูกต้อง และมีความรวดเร็ว
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ปัจจุบันนี้คนส่วนใหญ่นิยมนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ มากมาย ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่
มักจะคิดว่าคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่สามารถทางานได้สารพัด แต่ผู้ที่มีความรู้ทาง
คอมพิวเตอร์จะทราบว่า งานที่เหมาะกับการนาคอมพิวเตอร์มาใช้อย่างยิ่งคือการสร้าง
สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหล่านั้นสามารถนามาพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ส่งผ่านเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ หรือจัดเก็บไว้ใช้ในอนาคตก็ได้เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะมีคุณสมบัติต่าง ๆ คือ
2
1.ความเร็ว (speed) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้สามารถทางานได้ถึงร้อยล้านคาสั่งในหนึ่งวินาที
2.ความเชื่อถือ (reliable) คอมพิวเตอร์ทุกวันนี้จะทางานได้ทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างไม่มี
ข้อผิดพลาด และไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
3.ความถูกต้องแม่นยา (accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นั้นจะให้ผลของการคานวณที่ถูกต้องเสมอ
หากผลของการคานวณผิดจากที่ควรจะเป็น มักเกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือข้อมูลที่
เข้าสู่โปรแกรม
4.เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้(store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ใน
ปัจจุบัน จะมีที่เก็บข้อมูลสารองที่มีความสูงมากกว่าหนึ่งพันล้านตัวอักษร และสาหรับระบบ
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่จะสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าหนึ่งล้าน ๆ ตัวอักษร
5.ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (move information) โดยใช้การ
ติดต่อสื่อสารผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถส่งพจนานุกรมหนึ่งเล่มในรูปของ
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ไกลคนซีกโลกได้ในเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่ง
วินาที ทาให้มีการเรียกเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกันทั่วโลกในปัจจุบันว่า ทางด่วน
สารสนเทศ (Information Superhighway)
3
การทางานของคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทางานที่สาคัญของคอมพิวเตอร์ 4 ขั้นตอน
ตารางที่ 1 ตารางการทางานของคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนที่ การทางาน ตัวอย่างอุปกรณ์
1. การรับข้อมูลและคาสั่ง
(Input)
คอมพิวเตอร์รับข้อมูลและ
คาสั่งผ่านอุปกรณ์นาเข้า
ข้อมูล
Mouse, Keyboard, Scanner,
Microphone
2. การประมวลผลหรือคิด
คานวณ(Processing)
ข้อมูลที่คอมพิวเตอร์รับเข้ามา
จะถูกประมวลผลโดยการ
ทางานของหน่วยประมวลผล
กลาง (CPU : Central
Processing Unit) ตามคาสั่ง
ของโปรแกรม หรือ
ซอฟต์แวร์
CPU
3. การแสดงผลลัพธ์(Output) คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์
ของข้อมูลที่ป้อน หรือ
แสดงผลจากการประมวลผล
ทางอุปกรณ์แสดงผล
Monitor, Printer, Speaker
4. การเก็บข้อมูล(Storage) ผลลัพธ์จากการประมวลผล
สามารถเก็บไว้ในหน่วยเก็บ
ข้อมูล
hard disk, floppy disk, CD-
ROM
4
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (PC)
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องจักรมนุษย์ออกแบบขึ้นเพื่อนามาช่วยใช้ในการคานวณประมวลผล
คาสั่งจากมนุษย์ให้ได้ผลลัพธ์อย่างที่ต้องการ ปัจจุบันได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในด้านต่างๆ
มาทางานแทนมนุษย์เพื่อลดกระบวนการงานให้สาเร็จเร็วขึ้นและมีความถูกต้องแม่นยามาก
ยิ่งขึ้น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่นิยมตามสานักงานและประจาบ้านทั่วไปได้แก่ PC ย่อมาจาก
Personal Computer
5
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์พื้นฐานมีดังนี้
1. จอภาพ (Monitor)
จอภาพ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากที่สุด
อันหนึ่งของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะแสดงผลออกมาเป็นภาพทางหน้าจอ โดยการแปลงจาก
สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งเข้ามา โดยวิธีการนั้นขึ้นอยู่กับชนิดของจอภาพ ซึ่งสามารถแบ่งได้
เป็นจอภาพแบบหลอดรังสีแคโธด หรือจอซีอาร์ที (cathode ray tube: CRT) และจอภาพแบบ
ผลึกเหลวทรานซิสเตอร์แผ่นบาง หรือจอแบบ แอลซีดี
2. เคส (Case)
เคสเป็นโครงที่ใช้สาหรับใส่อุปกรณ์ภายในต่างๆเข้าไว้ด้วยกัน อุปกรณ์ที่มักจะใส่ไว้ในเคส
ก็เป็นพวก เมนบอร์ด(Mainboard) แรม (RAM) การ์ดจอ(VGA Card) ฮาร์ดดิสก์(Hard Disk
Drive) พาวเวอซัพพลาย(Power Supply) เป็นต้น มีหลายแบบ หลายสีให้เลือกใช้ตามความพึง
พอใจของผู้ใช้
6
3. พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply)
ทาหน้าที่จ่ายกระแสไฟให้กับอุปกรณ์ต่างๆในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยสามารถเลือกใช้งานได้
ตามจานวนวัตต์ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อเยอะก็ควรจะเลือกใช้ที่วัตต์สูงๆ ไม่เช่นนั้น
กาลังไฟอาจจะไม่พอทาให้ไม่สามารถใช้งานได้
4. คีย์บอร์ด (Keyboard)
ทาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้โดยจะประกอบไปด้วยแป้นพิมพ์ที่มีปุ่มต่างๆมากมาย ทั้งปุ่ม
ตัวอักษร(Typewriter keys) ตัวเลข (Numeric keypad) ปุ่มพิเศษ (Special-purpose keys) ปุ่ม
ควบคุมอื่นๆ (Control keys) หรือปุ่มฟังก์ชั่นต่างๆFunction keys) สาหรับการใช้งาน
คอมพิวเตอร์ที่ต้องใช้การพิมพ์เป็นหลัก
7
5. เมาส์ (Mouse)
ทาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้โดยจะใช้การเลื่อนเมาส์เพื่อบังคับตัวชี้ตาแหน่ง(Pointer) บนหน้าจอ
แล้วใช้การกดปุ่มบนตัวเมาส์เพื่อสั่งให้ทางานอะไรบนหน้าจอที่จุดนั้นๆได้
6. เมนบอร์ด (Main board)
ทาหน้าที่เป็นตัวควบคุมอุปกรณ์ทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยอุปกรณ์ทุกตัวจะต้อง
เชื่อมต่อกับเมนบอร์ดนี้ มีลักษณะเป็นแผ่นวงจรขนาดใหญ่ โดยบนแผ่นวงจรนั้นจะมี
ช่องสาหรับนาอุปกรณ์ต่างๆมาเสียบไว้ที่เรียกว่า ซ็อคเก็ต(Socket) ซึ่งแต่ละอุปกรณ์ก็จะ
มี socket เฉพาะของอุปกรณ์นั้นๆ
8
7. ซีพียู (CPU)
ซีพียู คือโปรเซสเซอร์(Processor) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หน่วยประมวลผลกลาง หรือ ซิพ
(Chip) เป็นอุปกรณ์ที่สาคัญมากที่สุดเพราะมีหน้าที่ประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามาหรือ
โปรแกรมที่ผู้ใช้งานส่งข้อมูลเข้ามาเป็นชุดคาสั่ง ซีพียู ประกอบด้วยส่วนหลัก 2 ส่วนดังนี้
1) หน่วยคานวณและตรรกะ (ALU: Arithmetic & Logical Unit) ทาหน้าที่เหมือนกับเครื่อง
คานวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทางานเกี่ยวกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ
คุณ หาร และยังทาการเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ โดยจะเปรียบเทียบเงื่อนไขและกฎเกณฑ์
ทางคณิตศาสตร์ เพื่อพิสูจน์ว่าคาตอบนั้นเป็นจริงหรือเท็จ
2) หน่วยควบคุม (Control Unit) ทาหน้าที่ควบคุมขั้นตอนการประมวลผลและทาการ
ประสานงานกับอุปกรณ์ต่างๆ ทั้งด้าน Input และOutput รวมถึงหน่วยความจาต่างๆด้วย
9
8. การ์ดแสดงผล (Display Card)
การ์ดแสดงผลจะทางานเมื่อซีพียูประมวลผลจากข้อมูลต่างๆที่โปรแกรมส่งเข้ามา เมื่อซีพียู
ประมวลผลเสร็จก็จะทาการส่งข้อมูลที่จะใช้แสดงผลต่อไปยังการ์ดแสดงผล การ์ดแสดงผลก็จะ
ส่งต่อข้อมูลไปยังจอภาพเพื่อแสดงผลออกมาตามข้อมูลที่ได้รับมา โดยการ์ดบางรุ่นจะสามารถ
ประมวลผลได้ในตัวเอง ทาให้ซีพียูไม่ต้องทางานมากนัก มีผลทาให้การทางานของคอมพิวเตอร์
นั้นเร็วขึ้นด้วย บางรุ่นก็จะมีหน่วยความจาในตัวเอง แต่บางรุ่นที่ไม่มีก็จะต้องดึงหน่วยความจา
มาจากแรม (RAM) ซึ่งหาก แรมมีจานวนน้อย อาจส่งผลให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ช้าลงไปด้วย
แต่ในบางรุ่นที่มีหน่วยความจาในตัวเองก็จะทาให้รับข้อมูลจากซีพียูได้มากขึ้น ประมวลผลได้
เร็วขึ้น ทาให้การแสดงผลบนจอภาพมีคุณภาพที่สูงตามไปด้วย
10
9. ฮาร์ดดิสก์(Hard disk)
เป็นหน่วยความจาถาวรประจาเครื่อง โดยจะประกอบไปด้วยแผ่นจานแม่เหล็ก(platters) หลายๆ
แผ่นมาเรียงอยู่บนแกนเดียวกันที่เรียกว่า Spindle ทาให้แผ่นแม่เหล็กแต่ละแผ่นหมุนไปพร้อมๆ
กัน โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวหมุน โดยจะมีหัวอ่านติดอยู่ประจาแผ่นแต่ละแผ่นซึ่งหัวอ่านของแต่
ละแผ่นจะเชื่อมติดกัน สามารถเคลื่อนที่เข้า-ออกแผ่นจานได้อย่างรวดเร็ว โดยมีแผงวงจร
ควบคุมอีกต่อหนึ่งอยู่ ซึ่งข้อมูลที่เก็บลงฮาร์ดดิสก์จะเก็บอยู่บนแผ่นจานแม่เหล็ก โดยแผ่นจาน
แต่ละแผ่นจะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนก็คือ แทร็กและเซกเตอร์ โดยแทร็กจะเป็นรูปวงกลมทีละ
ชั้นเข้าไปข้างใน และในแต่ละแทร็กก็จะถูกแบ่งออกเป็นเสี้ยวหนึ่งของวงกลมซึ่งเรียกว่า
เซกเตอร์ ซึ่งเราจะแย่งฮาร์ดดิสก์ออกเป็น 3 ชนิดตามอินเตอร์เฟส(Interface) ดังนี้
– IDE (Integrated Drive Electronics) จะใช้สายแพรในการต่อเข้ากับเมนบอร์ดโดยจะมีคอนเน็ค
เตอร์จานวน 40 ขาที่มีบนบอร์ดไว้รองรับ ซึ่งโดยปกติแล้ว 1 คอนเน็คเตอร์จะสามารถต่อ
ฮาร์ดดิสก์ได้สองตัว
– Serial ATA (Advanced Technology Attachment) เป็นอินเตอร์เฟสแบบใหม่ที่เข้ามาแทนแบบ
IDE ซึ่งมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลสูงกว่าแบบ IDE โดยมีความเร็วถึง 150 Mbytes ต่อ วินาที
ทาให้มีความรวดเร็วในการทางานมากขึ้น
11
– SCSI (Small Computer System Interface) อินเตอร์เฟสแบบนี้จะมีการ์ดที่มีหน่วยประมวลผล
อยู่ในตัวเป็นตัวควบคุมอีกต่อหนึ่งแยกออกมาจากตัวฮาร์ดดิสก์ต่างหาก เพื่อเร่งความเร็วในการ
รับส่งข้อมูล เหมาะสาหรับใช้งานในรูปแบบ Server แต่มีราคาค่อนข้างแพงกว่าสองแบบข้างต้น
มาก
นอกจากนี้ยังมีฮาร์ดดิสก์อีกแบบหนึ่งที่ไม่ได้ใช้แผ่นจานแม่เหล็กในการเก็บข้อมูล แต่ใช้ชิพ
วงจรรวมที่ประกอบรวมกันเป็นหน่วยความจาถาวร ที่เรียกว่า โซลิดสเตตไดรฟ์ (SSD : Solid
state drive) โดยที่ โซลิดสเตตไดรฟ์ ได้ถูกสร้างขึ้นมาทดแทนฮาร์ดดิสก์แบบแผ่นจานแม่เหล็ก
จึงมีข้อดีกว่าแบบแผ่นจานแม่เหล็กเยอะมาก โดยที่ โซลิดสเตตไดรฟ์จะประกอบไปด้วยวงจร
อิเล็กทรอนิกส์ จึงไม่ต้องมีชิ้นส่วนทางกลใดๆที่ต้องเคลื่อนที่ขณะทางาน ซึ่งต่างจากฮาร์ดดิสก์
ไดรฟ์ที่ต้องใช้มอเตอร์ในการหมุนแผ่นจานแล้วมีหัวอ่านที่เคลื่อนที่ตลอดเวลาการทางาน ทาให้
โซลิดสเตตไดรฟ์สามารถทนแรงสั่นสะเทือนได้ดีกว่า และจากการใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ทาให้
การเข้าถึงข้อมูลรวดเร็วกว่าฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ที่ต้องใช้หัวอ่านเคลื่อนที่เข้าไปยังจุดที่เก็บข้อมูล ทา
ให้ โซลิดสเตตไดรฟ์ มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลสูงกว่าฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์มาก นอกจากนั้นไม่
ว่าจะเป็นเรื่องเสียงรบกวนหรืออุณหภูมิในการใช้งาน โซลิดสเตตไดรฟ์ ยังมีประสิทธิภาพดีกว่า
ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์มากนัก เพียงแต่ราคาอาจจะสูงกว่าพอสมควร
12
10. แรม (RAM)
แรม หรือ RAM (Random-Access Memory) เป็นหน่วยความจาหลักที่ซีพียูสามารถดึงมาใช้ได้
ทันที แต่ไม่ใช่หน่วยความจาถาวรจาเป็นต้องมีไฟมาหล่อเลี้ยงตลอดเวลาในการทางาน หากไม่มี
ไฟมาหล่อเลี้ยงข้อมูลที่บันทึกไว้ก็จะหายไป โดยการทางานของแรมนั้น เมื่อซีพียูได้รับข้อมูลมา
จากผู้ใช้งานหรือโปรแกรมแล้วก็จะเริ่มทาการประมวลผล เมื่อซีพียูประมวลผลเสร็จแล้ว ก็จะส่ง
ต่อข้อมูลที่ประมวลผลเสร็จแล้วเก็บไปไว้ที่แรมก่อนจะถูกส่งต่อไปยังอุปกรณ์ต่างๆต่อไป
11. CD-ROM / CD-RW /DVD / DVD-RW
ใช้สาหรับการอ่านแผ่น CD หรือ DVD โดยหากต้องการที่จะเขียนข้อมูลลงไปในแผ่นจะต้อง
เป็นไดร์ฟที่มี RW ด้วย โดยการทางานนั้นจะอ่านข้อมูลจาก CD/DVD โดยใช้หัวอ่านเลเซอร์ที่
จะยิงแสงเลเซอร์ลงบนซีดีรอม ซึ่งบนซีดีรอมนั้นจะแบ่งเป็นแทร็กและเซกเตอร์เช่นเดียวกับ
ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ แต่จะมีขนาดเท่ากันทุกเซกเตอร์ เมื่อเริ่มทางานมอเตอร์จะหมุนแผ่นด้วย
ความเร็วต่าางๆกันทาให้แต่ละเซกเตอร์มีอัตราเร็วในการอ่านคงที่
13
12. ฟล็อปปี้ ดิสก์(Floppy Disk)
เป็นอุปกรณ์ที่มีมาก่อนคอมพิวเตอร์เสียอีก ฟล็อปปี้ ดิสก์ยุคแรกๆมีขนาดตั้งแต่ 8 นิ้ว 5.25 นิ้ว
จนปัจจุบันอยู่ที่ 3.5 นิ้ว มีความจาอยู่ที่ไม่กี่ร้อยกิโลไบต์จนถึง 2.88 เมกกะไบต์ปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่นั้นแทบจะไม่มี Floppy Disk Drive อีกแล้ว เนื่องจากแผ่น ฟล็อปปี้ ดิสก์นั้น
จุความจาได้น้อย แถมยังพังง่าย ปัจจุบันถูกทดแทนด้วย Flash Drive เสียมากกว่า
13. เน็ตเวิร์คการ์ด (Lan card)
เน็ตเวิร์คการ์ดหรือการ์ดแลน เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และเครือข่าย โดยส่วนใหญ่
จะเรียกว่า NIC (Network Interface Card) โดยจะทาการแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณไฟฟ้าที่
สามารถส่งไปตามสายสัญญาณได้ซึ่งก็จะมีความเร็วในการส่งข้อมูลหลายระดับตั้งแต่ 10 Mbps,
100Mbps หรือ 1000Mbps ซึ่งการ์ดบางรุ่นก็สามารถเลือกระดับความเร็วในการทางานได้
ปัจจุบันเมนบอร์ดส่วนใหญ่มักจะมีชิพที่เป็นช่องเน็ตเวิร์คการ์ดในตัวอยู่แล้ว ทาให้ เน็ตเวิร์ค
การ์ด นั้นไม่ค่อยมีเห็นใช้กันแล้ว
14
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
คือ ลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์
รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์เครื่องพิมพ์เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย
-หน่วยรับข้อมูล ( input unit )
-หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรือ CPU
-หน่วยความจาหลัก
-หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit )
-หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (secondary storage unit )
หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วย
ประมวลผลกลาง จะนาไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทาง
หน่วยแสดงผลลัพธ์
หน่วยความจาหลัก จะทาหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก การที่
ฮาร์ดแวร์จะทาหน้าที่ได้มีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส่วนการ
ทางานได้มากน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับหน่วยความจาหลักของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของ
หน่วยความจาหลักคือ หากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยความจาหลักจะหายไป ในขณะ
15
ที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสารอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทาการลบข้อมูลนั้น รวมทั้ง
หน่วยเก็บข้อมูลสารองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสาหรับการเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ หรือ
เก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูลสารองคือการเรียกใช้ข้อมูลจะช้ากว่า
หน่วยความจาหลักมาก
2. ซอฟต์แวร์ (Software)
คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานใดๆ เนื่องจากต้องมี
ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็นชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่าง ๆ ตาม
ต้องการ โดยชุดคาสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming
Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็น
ผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมา
ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ
-ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software )
-ซอฟต์แวร์ประยุกต์( Application Software )
ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบ
เป็นส่วนควบคุมทางานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่มต้นการทางานอื่น ๆ ที่ผู้ใช้
ต้องการได้ต่อไป ส่วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์จะเป็นซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทางานต่าง ๆ
ให้กับผู้ใช้ซึ่งแตกต่างกันไปตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน
16
3. บุคลากร (Peopleware)
เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทางาน เรียกบุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้
หรือ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถทางานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไรก็ตาม
คอมพิวเตอร์ก็ยังคงต้องถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางส่วนก็
ทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่
สูงขึ้น ทาให้มีความชานาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่า เพาเวอร์ยูส
เซอร์ (power user)
ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ที่ได้ศึกษาวิชาการ
ทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและระดับสูง ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนาความรู้ที่ได้
ศึกษามาประยุกต์และพัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทางานในขั้น
สูงขึ้นไปได้อีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทางคอมพิวเตอร์
เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้และเป็นเส้นทางหนึ่งที่จะนาไปสู่การเป็น
ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ต่อไป
บุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบ
คอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง
ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้ดังนี้
-การดาเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล
หรือควบคุมการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry
Operator) เป็นต้น
-การพัฒนาและบารุงรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application
Programmer) เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรม (System Programmer) เป็นต้น
17
-การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เช่น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และ
ออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer)
เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล (Database Adminstrator)เป็นต้น
-การพัฒนาและบารุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น เจ้าหน้าที่ควบคุมการทางานระบบ
คอมพิวเตอร์ (Computer Operator) เป็นต้น
-การบริหารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่น ผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
(EDP Manager) เป็นต้น
4. ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)
ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บ
รวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ซึ้งในปัจจุบันมีการนาเอา
ระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง
ข้อมูล และ สารสนเทศ
5. กระบวนการทางาน (Procedure)
กระบวนการทางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งาน
เฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทางานพื้นฐานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงิน
อัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงินจะต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้ (ธีรเวช, 2556)
18
1. จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทางาน
2. สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้
3. เลือกรายการ
4. ใส่จานวนเงินที่ต้องการ
5. รับเงิน
6. รับใบบันทึกรายการ และบัตร
19
บรรณานุกรม
ธีรเวช, น. (2556). ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น. พระนครศรีอยุธยา : ออนไลน์.

More Related Content

What's hot

แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Hikaru Sai
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศLupin F'n
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์supatra2011
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
Ploy Siriwanna
 
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1krumolticha
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
โครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตันโครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตัน
Supakit10
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
ศกลวรรณ ปิ่นแก้ว
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
Thanawut Rattanadon
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้นpeter dontoom
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
Prachoom Rangkasikorn
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมNutsara Mukda
 
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559
Panatchakorn Chaiyanon
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)Nomjeab Nook
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 

What's hot (20)

แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตันโครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตัน
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
 
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2559
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 

Viewers also liked

Strategy and Entrepreneurship: Decision and Creation Under Uncertainty
Strategy and Entrepreneurship: Decision and Creation Under UncertaintyStrategy and Entrepreneurship: Decision and Creation Under Uncertainty
Strategy and Entrepreneurship: Decision and Creation Under UncertaintyIgor Tasic
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Pongspak kamonsri
 
Luciano Romero Convergencia Fijo Móvil
Luciano Romero Convergencia Fijo MóvilLuciano Romero Convergencia Fijo Móvil
Luciano Romero Convergencia Fijo MóvilJaime Olmos
 
お父さんのための「今日どこいく?マップ」
お父さんのための「今日どこいく?マップ」お父さんのための「今日どこいく?マップ」
お父さんのための「今日どこいく?マップ」
和人 青木
 
Навчальний довідник з біології 10-11 класи
Навчальний довідник з біології 10-11 класиНавчальний довідник з біології 10-11 класи
Навчальний довідник з біології 10-11 класи
Природничий Навігатор
 
Ficha 1 a
Ficha 1 aFicha 1 a
Ficha 1 a
Lisseth Sosa
 
Estudo plano de gerenciamento de projeto
Estudo   plano de gerenciamento de projetoEstudo   plano de gerenciamento de projeto
Estudo plano de gerenciamento de projeto
Edimar Vernillo Junior
 
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
Pongspak kamonsri
 
Codigos actros-camionchileno (1)
Codigos actros-camionchileno (1)Codigos actros-camionchileno (1)
Codigos actros-camionchileno (1)
Eduardo Hernández
 
Formato apa general
Formato apa generalFormato apa general
Formato apa general
jhon yanguma
 
PR digital strategy
PR digital strategyPR digital strategy
PR digital strategy
Job van Aalst
 
IT Talent, retos y oportunidades frente a la demanda del sector - Eduardo Chá...
IT Talent, retos y oportunidades frente a la demanda del sector - Eduardo Chá...IT Talent, retos y oportunidades frente a la demanda del sector - Eduardo Chá...
IT Talent, retos y oportunidades frente a la demanda del sector - Eduardo Chá...
Software Guru
 
Herramientas de almacenamiento
Herramientas de almacenamientoHerramientas de almacenamiento
Herramientas de almacenamiento
Rafael Quintero
 
20161031 foss4gkansai handson QGISによる 地域分析入門
20161031 foss4gkansai handson QGISによる地域分析入門20161031 foss4gkansai handson QGISによる地域分析入門
20161031 foss4gkansai handson QGISによる 地域分析入門
和人 青木
 
TIme::Moment+Time::Strptime=
TIme::Moment+Time::Strptime=TIme::Moment+Time::Strptime=
TIme::Moment+Time::Strptime=
karupanerura
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานsiriluk602
 
ระบบเครือค่าย
ระบบเครือค่ายระบบเครือค่าย
ระบบเครือค่ายเค้ก
 
Properties
PropertiesProperties
Propertiesjimbank
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
Ittidate Pepea
 

Viewers also liked (20)

Strategy and Entrepreneurship: Decision and Creation Under Uncertainty
Strategy and Entrepreneurship: Decision and Creation Under UncertaintyStrategy and Entrepreneurship: Decision and Creation Under Uncertainty
Strategy and Entrepreneurship: Decision and Creation Under Uncertainty
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Luciano Romero Convergencia Fijo Móvil
Luciano Romero Convergencia Fijo MóvilLuciano Romero Convergencia Fijo Móvil
Luciano Romero Convergencia Fijo Móvil
 
お父さんのための「今日どこいく?マップ」
お父さんのための「今日どこいく?マップ」お父さんのための「今日どこいく?マップ」
お父さんのための「今日どこいく?マップ」
 
Навчальний довідник з біології 10-11 класи
Навчальний довідник з біології 10-11 класиНавчальний довідник з біології 10-11 класи
Навчальний довідник з біології 10-11 класи
 
Ficha 1 a
Ficha 1 aFicha 1 a
Ficha 1 a
 
Estudo plano de gerenciamento de projeto
Estudo   plano de gerenciamento de projetoEstudo   plano de gerenciamento de projeto
Estudo plano de gerenciamento de projeto
 
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวกลุ่มอักขระ
 
Codigos actros-camionchileno (1)
Codigos actros-camionchileno (1)Codigos actros-camionchileno (1)
Codigos actros-camionchileno (1)
 
Formato apa general
Formato apa generalFormato apa general
Formato apa general
 
PR digital strategy
PR digital strategyPR digital strategy
PR digital strategy
 
IT Talent, retos y oportunidades frente a la demanda del sector - Eduardo Chá...
IT Talent, retos y oportunidades frente a la demanda del sector - Eduardo Chá...IT Talent, retos y oportunidades frente a la demanda del sector - Eduardo Chá...
IT Talent, retos y oportunidades frente a la demanda del sector - Eduardo Chá...
 
Herramientas de almacenamiento
Herramientas de almacenamientoHerramientas de almacenamiento
Herramientas de almacenamiento
 
20161031 foss4gkansai handson QGISによる 地域分析入門
20161031 foss4gkansai handson QGISによる地域分析入門20161031 foss4gkansai handson QGISによる地域分析入門
20161031 foss4gkansai handson QGISによる 地域分析入門
 
TIme::Moment+Time::Strptime=
TIme::Moment+Time::Strptime=TIme::Moment+Time::Strptime=
TIme::Moment+Time::Strptime=
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ระบบเครือค่าย
ระบบเครือค่ายระบบเครือค่าย
ระบบเครือค่าย
 
Properties
PropertiesProperties
Properties
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 

Similar to เรื่องคอมพิวเตอร์

รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
supawadee thinnoros
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
SoawakonJujailum
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
Natsiri Wongchalee
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
Rawinnipa Wongwisang
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Bm Kongpop
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
kruchanon2555
 
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงNattapon
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
Soravit Wungseesiripetch
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์Tay Chaloeykrai
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
napatson chaiyasan
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Kuroba Kaito
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์natthaphorn_thepyoo
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์onthicha1993
 

Similar to เรื่องคอมพิวเตอร์ (20)

รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 

More from พัน พัน

เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
พัน พัน
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
พัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
พัน พัน
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
พัน พัน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
พัน พัน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
พัน พัน
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

เรื่องคอมพิวเตอร์

  • 1. รายงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นาย นพดล พรหมชนะ ชั้นมัธยมศึกษาที่ 5/3 เลขที่ 11 เสนอ ครู ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 2. ก สารบัญ คอมพิวเตอร์เบื้องต้น....................................................................................................................................1 การทางานของคอมพิวเตอร์ ...........................................................................................................................3 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (PC).................................................................................................................4 ระบบคอมพิวเตอร์ ..................................................................................................................................... 14 สารบัญตาราง ตารางที่ 1 ตารางการทางานของคอมพิวเตอร์....................................................................................................3
  • 3. ข คานา รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางแห่งการศึกษาต่อไปของผู้ที่ต้องการที่จะศึกษาใน เรื่องของคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทาหวังว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่มาศึกษาดูงานเล่มนี้ไม่มากก็น้อย เพื่อเป็นประโยชน์ต่อไปของผู้ศึกษา และหากมีข้อผิดผาดประการณ์ใด ผู้จัดทาต้องขออภัยไว้ณ ที่นี้ด้วย นาย นพดล พรหมชนะ
  • 4. คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electronic device) ที่มนุษย์ใช้เป็น เครื่องมือช่วยในการจัดการกับข้อมูลที่อาจเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทน ความหมายในสิ่งต่าง ๆ โดยคุณสมบัติที่สาคัญของคอมพิวเตอร์คือการที่สามารถกาหนด ชุดคาสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้(programmable) นั่นคือคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ หลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับชุดคาสั่งที่เลือกมาใช้งาน ทาให้สามารถนาคอมพิวเตอร์ไป ประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เช่น ใช้ในการตรวจคลื่นความถี่ของหัวใจ การฝาก – ถอนเงิน ในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์เป็นต้น ข้อดีของคอมพิวเตอร์ คือ เครื่อง คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความถูกต้อง และมีความรวดเร็ว คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนี้คนส่วนใหญ่นิยมนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ มากมาย ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่ มักจะคิดว่าคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่สามารถทางานได้สารพัด แต่ผู้ที่มีความรู้ทาง คอมพิวเตอร์จะทราบว่า งานที่เหมาะกับการนาคอมพิวเตอร์มาใช้อย่างยิ่งคือการสร้าง สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหล่านั้นสามารถนามาพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ส่งผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ หรือจัดเก็บไว้ใช้ในอนาคตก็ได้เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะมีคุณสมบัติต่าง ๆ คือ
  • 5. 2 1.ความเร็ว (speed) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้สามารถทางานได้ถึงร้อยล้านคาสั่งในหนึ่งวินาที 2.ความเชื่อถือ (reliable) คอมพิวเตอร์ทุกวันนี้จะทางานได้ทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างไม่มี ข้อผิดพลาด และไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย 3.ความถูกต้องแม่นยา (accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นั้นจะให้ผลของการคานวณที่ถูกต้องเสมอ หากผลของการคานวณผิดจากที่ควรจะเป็น มักเกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือข้อมูลที่ เข้าสู่โปรแกรม 4.เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้(store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน จะมีที่เก็บข้อมูลสารองที่มีความสูงมากกว่าหนึ่งพันล้านตัวอักษร และสาหรับระบบ คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่จะสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าหนึ่งล้าน ๆ ตัวอักษร 5.ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (move information) โดยใช้การ ติดต่อสื่อสารผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถส่งพจนานุกรมหนึ่งเล่มในรูปของ ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ไกลคนซีกโลกได้ในเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่ง วินาที ทาให้มีการเรียกเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกันทั่วโลกในปัจจุบันว่า ทางด่วน สารสนเทศ (Information Superhighway)
  • 6. 3 การทางานของคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนการทางานที่สาคัญของคอมพิวเตอร์ 4 ขั้นตอน ตารางที่ 1 ตารางการทางานของคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนที่ การทางาน ตัวอย่างอุปกรณ์ 1. การรับข้อมูลและคาสั่ง (Input) คอมพิวเตอร์รับข้อมูลและ คาสั่งผ่านอุปกรณ์นาเข้า ข้อมูล Mouse, Keyboard, Scanner, Microphone 2. การประมวลผลหรือคิด คานวณ(Processing) ข้อมูลที่คอมพิวเตอร์รับเข้ามา จะถูกประมวลผลโดยการ ทางานของหน่วยประมวลผล กลาง (CPU : Central Processing Unit) ตามคาสั่ง ของโปรแกรม หรือ ซอฟต์แวร์ CPU 3. การแสดงผลลัพธ์(Output) คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ ของข้อมูลที่ป้อน หรือ แสดงผลจากการประมวลผล ทางอุปกรณ์แสดงผล Monitor, Printer, Speaker 4. การเก็บข้อมูล(Storage) ผลลัพธ์จากการประมวลผล สามารถเก็บไว้ในหน่วยเก็บ ข้อมูล hard disk, floppy disk, CD- ROM
  • 7. 4 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (PC) คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องจักรมนุษย์ออกแบบขึ้นเพื่อนามาช่วยใช้ในการคานวณประมวลผล คาสั่งจากมนุษย์ให้ได้ผลลัพธ์อย่างที่ต้องการ ปัจจุบันได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในด้านต่างๆ มาทางานแทนมนุษย์เพื่อลดกระบวนการงานให้สาเร็จเร็วขึ้นและมีความถูกต้องแม่นยามาก ยิ่งขึ้น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่นิยมตามสานักงานและประจาบ้านทั่วไปได้แก่ PC ย่อมาจาก Personal Computer
  • 8. 5 ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์พื้นฐานมีดังนี้ 1. จอภาพ (Monitor) จอภาพ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากที่สุด อันหนึ่งของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะแสดงผลออกมาเป็นภาพทางหน้าจอ โดยการแปลงจาก สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งเข้ามา โดยวิธีการนั้นขึ้นอยู่กับชนิดของจอภาพ ซึ่งสามารถแบ่งได้ เป็นจอภาพแบบหลอดรังสีแคโธด หรือจอซีอาร์ที (cathode ray tube: CRT) และจอภาพแบบ ผลึกเหลวทรานซิสเตอร์แผ่นบาง หรือจอแบบ แอลซีดี 2. เคส (Case) เคสเป็นโครงที่ใช้สาหรับใส่อุปกรณ์ภายในต่างๆเข้าไว้ด้วยกัน อุปกรณ์ที่มักจะใส่ไว้ในเคส ก็เป็นพวก เมนบอร์ด(Mainboard) แรม (RAM) การ์ดจอ(VGA Card) ฮาร์ดดิสก์(Hard Disk Drive) พาวเวอซัพพลาย(Power Supply) เป็นต้น มีหลายแบบ หลายสีให้เลือกใช้ตามความพึง พอใจของผู้ใช้
  • 9. 6 3. พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) ทาหน้าที่จ่ายกระแสไฟให้กับอุปกรณ์ต่างๆในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยสามารถเลือกใช้งานได้ ตามจานวนวัตต์ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อเยอะก็ควรจะเลือกใช้ที่วัตต์สูงๆ ไม่เช่นนั้น กาลังไฟอาจจะไม่พอทาให้ไม่สามารถใช้งานได้ 4. คีย์บอร์ด (Keyboard) ทาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้โดยจะประกอบไปด้วยแป้นพิมพ์ที่มีปุ่มต่างๆมากมาย ทั้งปุ่ม ตัวอักษร(Typewriter keys) ตัวเลข (Numeric keypad) ปุ่มพิเศษ (Special-purpose keys) ปุ่ม ควบคุมอื่นๆ (Control keys) หรือปุ่มฟังก์ชั่นต่างๆFunction keys) สาหรับการใช้งาน คอมพิวเตอร์ที่ต้องใช้การพิมพ์เป็นหลัก
  • 10. 7 5. เมาส์ (Mouse) ทาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้โดยจะใช้การเลื่อนเมาส์เพื่อบังคับตัวชี้ตาแหน่ง(Pointer) บนหน้าจอ แล้วใช้การกดปุ่มบนตัวเมาส์เพื่อสั่งให้ทางานอะไรบนหน้าจอที่จุดนั้นๆได้ 6. เมนบอร์ด (Main board) ทาหน้าที่เป็นตัวควบคุมอุปกรณ์ทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยอุปกรณ์ทุกตัวจะต้อง เชื่อมต่อกับเมนบอร์ดนี้ มีลักษณะเป็นแผ่นวงจรขนาดใหญ่ โดยบนแผ่นวงจรนั้นจะมี ช่องสาหรับนาอุปกรณ์ต่างๆมาเสียบไว้ที่เรียกว่า ซ็อคเก็ต(Socket) ซึ่งแต่ละอุปกรณ์ก็จะ มี socket เฉพาะของอุปกรณ์นั้นๆ
  • 11. 8 7. ซีพียู (CPU) ซีพียู คือโปรเซสเซอร์(Processor) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หน่วยประมวลผลกลาง หรือ ซิพ (Chip) เป็นอุปกรณ์ที่สาคัญมากที่สุดเพราะมีหน้าที่ประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามาหรือ โปรแกรมที่ผู้ใช้งานส่งข้อมูลเข้ามาเป็นชุดคาสั่ง ซีพียู ประกอบด้วยส่วนหลัก 2 ส่วนดังนี้ 1) หน่วยคานวณและตรรกะ (ALU: Arithmetic & Logical Unit) ทาหน้าที่เหมือนกับเครื่อง คานวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทางานเกี่ยวกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คุณ หาร และยังทาการเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ โดยจะเปรียบเทียบเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ ทางคณิตศาสตร์ เพื่อพิสูจน์ว่าคาตอบนั้นเป็นจริงหรือเท็จ 2) หน่วยควบคุม (Control Unit) ทาหน้าที่ควบคุมขั้นตอนการประมวลผลและทาการ ประสานงานกับอุปกรณ์ต่างๆ ทั้งด้าน Input และOutput รวมถึงหน่วยความจาต่างๆด้วย
  • 12. 9 8. การ์ดแสดงผล (Display Card) การ์ดแสดงผลจะทางานเมื่อซีพียูประมวลผลจากข้อมูลต่างๆที่โปรแกรมส่งเข้ามา เมื่อซีพียู ประมวลผลเสร็จก็จะทาการส่งข้อมูลที่จะใช้แสดงผลต่อไปยังการ์ดแสดงผล การ์ดแสดงผลก็จะ ส่งต่อข้อมูลไปยังจอภาพเพื่อแสดงผลออกมาตามข้อมูลที่ได้รับมา โดยการ์ดบางรุ่นจะสามารถ ประมวลผลได้ในตัวเอง ทาให้ซีพียูไม่ต้องทางานมากนัก มีผลทาให้การทางานของคอมพิวเตอร์ นั้นเร็วขึ้นด้วย บางรุ่นก็จะมีหน่วยความจาในตัวเอง แต่บางรุ่นที่ไม่มีก็จะต้องดึงหน่วยความจา มาจากแรม (RAM) ซึ่งหาก แรมมีจานวนน้อย อาจส่งผลให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ช้าลงไปด้วย แต่ในบางรุ่นที่มีหน่วยความจาในตัวเองก็จะทาให้รับข้อมูลจากซีพียูได้มากขึ้น ประมวลผลได้ เร็วขึ้น ทาให้การแสดงผลบนจอภาพมีคุณภาพที่สูงตามไปด้วย
  • 13. 10 9. ฮาร์ดดิสก์(Hard disk) เป็นหน่วยความจาถาวรประจาเครื่อง โดยจะประกอบไปด้วยแผ่นจานแม่เหล็ก(platters) หลายๆ แผ่นมาเรียงอยู่บนแกนเดียวกันที่เรียกว่า Spindle ทาให้แผ่นแม่เหล็กแต่ละแผ่นหมุนไปพร้อมๆ กัน โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวหมุน โดยจะมีหัวอ่านติดอยู่ประจาแผ่นแต่ละแผ่นซึ่งหัวอ่านของแต่ ละแผ่นจะเชื่อมติดกัน สามารถเคลื่อนที่เข้า-ออกแผ่นจานได้อย่างรวดเร็ว โดยมีแผงวงจร ควบคุมอีกต่อหนึ่งอยู่ ซึ่งข้อมูลที่เก็บลงฮาร์ดดิสก์จะเก็บอยู่บนแผ่นจานแม่เหล็ก โดยแผ่นจาน แต่ละแผ่นจะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนก็คือ แทร็กและเซกเตอร์ โดยแทร็กจะเป็นรูปวงกลมทีละ ชั้นเข้าไปข้างใน และในแต่ละแทร็กก็จะถูกแบ่งออกเป็นเสี้ยวหนึ่งของวงกลมซึ่งเรียกว่า เซกเตอร์ ซึ่งเราจะแย่งฮาร์ดดิสก์ออกเป็น 3 ชนิดตามอินเตอร์เฟส(Interface) ดังนี้ – IDE (Integrated Drive Electronics) จะใช้สายแพรในการต่อเข้ากับเมนบอร์ดโดยจะมีคอนเน็ค เตอร์จานวน 40 ขาที่มีบนบอร์ดไว้รองรับ ซึ่งโดยปกติแล้ว 1 คอนเน็คเตอร์จะสามารถต่อ ฮาร์ดดิสก์ได้สองตัว – Serial ATA (Advanced Technology Attachment) เป็นอินเตอร์เฟสแบบใหม่ที่เข้ามาแทนแบบ IDE ซึ่งมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลสูงกว่าแบบ IDE โดยมีความเร็วถึง 150 Mbytes ต่อ วินาที ทาให้มีความรวดเร็วในการทางานมากขึ้น
  • 14. 11 – SCSI (Small Computer System Interface) อินเตอร์เฟสแบบนี้จะมีการ์ดที่มีหน่วยประมวลผล อยู่ในตัวเป็นตัวควบคุมอีกต่อหนึ่งแยกออกมาจากตัวฮาร์ดดิสก์ต่างหาก เพื่อเร่งความเร็วในการ รับส่งข้อมูล เหมาะสาหรับใช้งานในรูปแบบ Server แต่มีราคาค่อนข้างแพงกว่าสองแบบข้างต้น มาก นอกจากนี้ยังมีฮาร์ดดิสก์อีกแบบหนึ่งที่ไม่ได้ใช้แผ่นจานแม่เหล็กในการเก็บข้อมูล แต่ใช้ชิพ วงจรรวมที่ประกอบรวมกันเป็นหน่วยความจาถาวร ที่เรียกว่า โซลิดสเตตไดรฟ์ (SSD : Solid state drive) โดยที่ โซลิดสเตตไดรฟ์ ได้ถูกสร้างขึ้นมาทดแทนฮาร์ดดิสก์แบบแผ่นจานแม่เหล็ก จึงมีข้อดีกว่าแบบแผ่นจานแม่เหล็กเยอะมาก โดยที่ โซลิดสเตตไดรฟ์จะประกอบไปด้วยวงจร อิเล็กทรอนิกส์ จึงไม่ต้องมีชิ้นส่วนทางกลใดๆที่ต้องเคลื่อนที่ขณะทางาน ซึ่งต่างจากฮาร์ดดิสก์ ไดรฟ์ที่ต้องใช้มอเตอร์ในการหมุนแผ่นจานแล้วมีหัวอ่านที่เคลื่อนที่ตลอดเวลาการทางาน ทาให้ โซลิดสเตตไดรฟ์สามารถทนแรงสั่นสะเทือนได้ดีกว่า และจากการใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ทาให้ การเข้าถึงข้อมูลรวดเร็วกว่าฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ที่ต้องใช้หัวอ่านเคลื่อนที่เข้าไปยังจุดที่เก็บข้อมูล ทา ให้ โซลิดสเตตไดรฟ์ มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลสูงกว่าฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์มาก นอกจากนั้นไม่ ว่าจะเป็นเรื่องเสียงรบกวนหรืออุณหภูมิในการใช้งาน โซลิดสเตตไดรฟ์ ยังมีประสิทธิภาพดีกว่า ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์มากนัก เพียงแต่ราคาอาจจะสูงกว่าพอสมควร
  • 15. 12 10. แรม (RAM) แรม หรือ RAM (Random-Access Memory) เป็นหน่วยความจาหลักที่ซีพียูสามารถดึงมาใช้ได้ ทันที แต่ไม่ใช่หน่วยความจาถาวรจาเป็นต้องมีไฟมาหล่อเลี้ยงตลอดเวลาในการทางาน หากไม่มี ไฟมาหล่อเลี้ยงข้อมูลที่บันทึกไว้ก็จะหายไป โดยการทางานของแรมนั้น เมื่อซีพียูได้รับข้อมูลมา จากผู้ใช้งานหรือโปรแกรมแล้วก็จะเริ่มทาการประมวลผล เมื่อซีพียูประมวลผลเสร็จแล้ว ก็จะส่ง ต่อข้อมูลที่ประมวลผลเสร็จแล้วเก็บไปไว้ที่แรมก่อนจะถูกส่งต่อไปยังอุปกรณ์ต่างๆต่อไป 11. CD-ROM / CD-RW /DVD / DVD-RW ใช้สาหรับการอ่านแผ่น CD หรือ DVD โดยหากต้องการที่จะเขียนข้อมูลลงไปในแผ่นจะต้อง เป็นไดร์ฟที่มี RW ด้วย โดยการทางานนั้นจะอ่านข้อมูลจาก CD/DVD โดยใช้หัวอ่านเลเซอร์ที่ จะยิงแสงเลเซอร์ลงบนซีดีรอม ซึ่งบนซีดีรอมนั้นจะแบ่งเป็นแทร็กและเซกเตอร์เช่นเดียวกับ ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ แต่จะมีขนาดเท่ากันทุกเซกเตอร์ เมื่อเริ่มทางานมอเตอร์จะหมุนแผ่นด้วย ความเร็วต่าางๆกันทาให้แต่ละเซกเตอร์มีอัตราเร็วในการอ่านคงที่
  • 16. 13 12. ฟล็อปปี้ ดิสก์(Floppy Disk) เป็นอุปกรณ์ที่มีมาก่อนคอมพิวเตอร์เสียอีก ฟล็อปปี้ ดิสก์ยุคแรกๆมีขนาดตั้งแต่ 8 นิ้ว 5.25 นิ้ว จนปัจจุบันอยู่ที่ 3.5 นิ้ว มีความจาอยู่ที่ไม่กี่ร้อยกิโลไบต์จนถึง 2.88 เมกกะไบต์ปัจจุบัน คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่นั้นแทบจะไม่มี Floppy Disk Drive อีกแล้ว เนื่องจากแผ่น ฟล็อปปี้ ดิสก์นั้น จุความจาได้น้อย แถมยังพังง่าย ปัจจุบันถูกทดแทนด้วย Flash Drive เสียมากกว่า 13. เน็ตเวิร์คการ์ด (Lan card) เน็ตเวิร์คการ์ดหรือการ์ดแลน เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และเครือข่าย โดยส่วนใหญ่ จะเรียกว่า NIC (Network Interface Card) โดยจะทาการแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณไฟฟ้าที่ สามารถส่งไปตามสายสัญญาณได้ซึ่งก็จะมีความเร็วในการส่งข้อมูลหลายระดับตั้งแต่ 10 Mbps, 100Mbps หรือ 1000Mbps ซึ่งการ์ดบางรุ่นก็สามารถเลือกระดับความเร็วในการทางานได้ ปัจจุบันเมนบอร์ดส่วนใหญ่มักจะมีชิพที่เป็นช่องเน็ตเวิร์คการ์ดในตัวอยู่แล้ว ทาให้ เน็ตเวิร์ค การ์ด นั้นไม่ค่อยมีเห็นใช้กันแล้ว
  • 17. 14 ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ ลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์เครื่องพิมพ์เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย -หน่วยรับข้อมูล ( input unit ) -หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรือ CPU -หน่วยความจาหลัก -หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit ) -หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (secondary storage unit ) หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วย ประมวลผลกลาง จะนาไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทาง หน่วยแสดงผลลัพธ์ หน่วยความจาหลัก จะทาหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก การที่ ฮาร์ดแวร์จะทาหน้าที่ได้มีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส่วนการ ทางานได้มากน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับหน่วยความจาหลักของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของ หน่วยความจาหลักคือ หากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยความจาหลักจะหายไป ในขณะ
  • 18. 15 ที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสารอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทาการลบข้อมูลนั้น รวมทั้ง หน่วยเก็บข้อมูลสารองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสาหรับการเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ หรือ เก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูลสารองคือการเรียกใช้ข้อมูลจะช้ากว่า หน่วยความจาหลักมาก 2. ซอฟต์แวร์ (Software) คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานใดๆ เนื่องจากต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็นชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่าง ๆ ตาม ต้องการ โดยชุดคาสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็น ผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมา ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ -ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software ) -ซอฟต์แวร์ประยุกต์( Application Software ) ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบ เป็นส่วนควบคุมทางานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่มต้นการทางานอื่น ๆ ที่ผู้ใช้ ต้องการได้ต่อไป ส่วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์จะเป็นซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทางานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ซึ่งแตกต่างกันไปตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน
  • 19. 16 3. บุคลากร (Peopleware) เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทางาน เรียกบุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้ หรือ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถทางานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคงต้องถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ ทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่ สูงขึ้น ทาให้มีความชานาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่า เพาเวอร์ยูส เซอร์ (power user) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ที่ได้ศึกษาวิชาการ ทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและระดับสูง ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนาความรู้ที่ได้ ศึกษามาประยุกต์และพัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทางานในขั้น สูงขึ้นไปได้อีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทางคอมพิวเตอร์ เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้และเป็นเส้นทางหนึ่งที่จะนาไปสู่การเป็น ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ต่อไป บุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบ คอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้ดังนี้ -การดาเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล หรือควบคุมการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เป็นต้น -การพัฒนาและบารุงรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application Programmer) เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรม (System Programmer) เป็นต้น
  • 20. 17 -การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เช่น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และ ออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล (Database Adminstrator)เป็นต้น -การพัฒนาและบารุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น เจ้าหน้าที่ควบคุมการทางานระบบ คอมพิวเตอร์ (Computer Operator) เป็นต้น -การบริหารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่น ผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (EDP Manager) เป็นต้น 4. ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information) ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บ รวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ซึ้งในปัจจุบันมีการนาเอา ระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ 5. กระบวนการทางาน (Procedure) กระบวนการทางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งาน เฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทางานพื้นฐานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงิน อัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงินจะต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้ (ธีรเวช, 2556)
  • 21. 18 1. จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทางาน 2. สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้ 3. เลือกรายการ 4. ใส่จานวนเงินที่ต้องการ 5. รับเงิน 6. รับใบบันทึกรายการ และบัตร
  • 22. 19 บรรณานุกรม ธีรเวช, น. (2556). ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น. พระนครศรีอยุธยา : ออนไลน์.