SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
พนธะเคม
  พันธะเคมี
* Chem. - Bond *
บทนํา
      การศึกษาเกี่ยวกับพันธะเคมีสามารถช่วยให้เราเข้าใจได้วามีแรงอะไรที่
                                                            ่
สามารถยึดอะตอมหรื อไอออนเข้าไว้ดวยกันได้ภายในโมเลกุล โดยเราจะใช้
                                        ้                 ุ
ความรู ้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการจัดเรี ยงตัวของอิเล็กตรอนและตาราธาตุมาทํานาย
ได พนธะเคมแบงเปน พวกใหญๆคอ
ได้ พันธะเคมีแบ่งเป็ น 2 พวกใหญ่ๆคือ
พันธะไอออนิก - พันธะไอออนิกเกิดจากการโยกย้ายของอิเล็กตรอนจาก
อะตอมหนงไปยงอกอะตอมหนง
อะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่ง
พันธะโควาเลนซ์ - พันธะโควาเลนซ์เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนร่ วมกัน
ระหว่างอะตอมทีี่จะเกิิดพันธะ
      ่                   ั
      การเกิดพันธะเคมีจะเกี่ยวข้องเฉพาะอิเล็กตรอนวงนอกของอะตอมที่จะ
                                    ่
เกิดพันธะเท่านั้นดังนั้นจะเห็นได้วาธาตุใดที่มีลกษณะการจัดเรี ยงตัว
                                                 ั
อิเล็กตรอนวงนอกคล้ายกันจะมีสมบัติทางเคมีคล้ายกันไปด้วย
พันธะเคมี
พันธะ มากจากคําว่า Bond ซึ่งหมายถึง แรงยึดเหนี่ยว ซึ่งอาจเป็ นได้ท้ งแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม
                                                                    ั
    ด้วยกัน และยังรวมถึงแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลด้วยกันให้เป็ นกลุุ่มก้อน ดังนั้น เราจึงสามารถแบ่ง
                                                   ุ
    แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารทางเคมีออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม (ภายในโมเลกุล) ได้แก่ พันธะโลหะ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์
2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล(เกิดในพันธะโคเวเลนต์)ได้แก่ พันธะไฮโดรเจน แรงดึงดูดระหว่างขั้ว แรง
    ลอนดอน
รูปแสดงแรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล และแรงระหว่ างโมเลกุล
                                          1. แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล (แข็งแรงกว่า)
                                                                     ุ (
                                          2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
                                          แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็ นแรงที่สามารถ
                                                นํามาบอกจุดเดือด จุดหลอมเหลวของนํ้ าได้
พันธะเคมี
           หมายถึงแรงดึงดูดระหว่างอะตอม โมเลกุล ไอออน ทําให้เสถียรกว่า
    อยู ดี่ยว หรออาจจะเปนการใหรบหรอใช เวเลนซอเลกตรอน (Valence
    อย่เดยว ๆ หรื ออาจจะเป็ นการให้รับหรื อใช้ เวเลนซ์อิเล็กตรอน (V l e-)
    ร่ วมกัน
    โดยพันธะเคมีประกอบด้วย
•   พนธะไอออนก
    พันธะไอออนิก
•   พันธะโควาเลนซ์
•   พันธะโลหะ
•   พนธะไฮโดรเจน
    พันธะไฮโดรเจน
•   พันธะ (แรง) แวนเดอร์วาล์ว
การเกิดพันธะ
การเกิดพันธะเกิดได้โดย
1. ให้อิเล็กตรอนแก่ธาตอื่น
   ใหอเลกตรอนแกธาตุอ
2. รับอิเล็กตรอนจากธาตุอื่น
3. ใชอเลกตรอนรวมกน
3 ใช้อิเล็กตรอนร่ วมกัน
             พันธะเคมีเกิดจาก แรงดึงดูดระหว่างอิเล็กตรอนกับโปรตอนในนิวเคลียส เมื่ออะตอมเคลื่อนที่
               ั
     เข้าใกล้กนจะเกิดแรงดึงดููดระหว่างนิวเคลียสของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง
                   อะตอมอยูห่างกันจะมีพลังงานค่าหนึ่ง ซึ่งมีพลังงานสู ง
                           ่
ั
เมื่ออะตอมทั้งสองเข้าใกล้กนจะเกิดแรงดึงดูดระหว่างกัน ทําให้พลังงานลดลง




                  ั
    เมื่อเข้าใกล้กนระยะหนึ่งพลังงานจะตํ่าที่สุด ขณะนั้นระบบจะเสถียร
โครงสร้ างแบบจุด (electron-dot structure)
           หรื อเรี ยกว่าโครงสร้างลิวอิส (Lewis structure) เป็ นการสร้างพันธะโดยการ
      นําเอาเวเลนซ์อิเล็กตรอน Valence e- มาใช้ร่วมกัน หรื อการให้หรื อ/และรับ
      อิเล็กตรอนของอะตอมทั้งสองอะตอมให้เป็ นไปตาม กฎออกเตต (octet rule)

      หลักการเขียนสู ตรแบบจุด
1 ใ ้ ี              ้ั   ใ ้       ี่ ิ ั
1. ใหเขยนอะตอมทงหมดใหอะตอมทเกดพนธะกนอยูใกลกน   ั ่ ้ั
2. หาจํานวน Valence e- ทั้งหมด ซึ่งก็คือ ผลรวมของ Valence e- ของอะตอมทุกอะตอมรวมกัน
และให้พิจารณา ไอออนบวก ซึ่งต้องนําจํานวนประจุุไปลบออก ไอออนลบ ซึ่งต้องนําจํานวนประจุุไปเพิม   ่
3.      ใส่ จุดแทน Valence e- รอบอะตอมเป็ นคู่ ๆ โดยจัดให้แต่ละอะตอม มีจานวนอิเล็กตรอนล้อมรอบครบ 8 ตัว
                                                                        ํ
(ยกเว้น H = 2 Be = 4 B = 6 )
4.      ในกรณี ที่ใช้ Valence e- จนหมดแล้ว แต่อะตอมยังไม่ครบ 8 ตัว จะหมายถึงได้วา อาจต้องมีพนธะคู่
                                                                                  ่         ั
หรื อพันธะสามเกิดขึ้น
5. กรณทมอะตอม ตว อะตอมทจะตองอยู าแหนงกลาง คอ อะตอมที่มีค่าอิเล็กโตรเนกะติวต้ ีต่า
5 กรณี ที่มีอะตอม 3 ตัว อะตอมที่จะต้องอย่ตาแหน่งกลาง คือ อะตอมทมคาอเลกโตรเนกะตวตตา
                                           ํ                                         ิ ํ
พันธะที่เกิดขึ้นหนึ่งพันธะแทนด้วยจุด 2 จุด
        หรืื อหนึ่ ึงเส้น (
                        ้        )
อิเล็กตรอนที่เกี่ยวกับการสร้างพันธะ เรี ยกว่า bonding electron
      อิิเล็กตรอนที่ีไม่่เกี่ียวกับการสร้้างพันธะ เรีี ยกว่า non-bonding electron
            ็                     ั           ั            ่




ไม่ตรงตามกฎออกเตด
เรโซแนนซ์ (resonance)
การเขียนสูตรโครงสร้างแบบจุดของลิวอิสที่มีมากกว่า 1 แบบ O3 มีโครงสร้างเรโซแนนซ์ 2 แบบ
คือ




NO3 มีโครงสร้างเรโซแนนซ์ 3 แบบ คือ
ชนดของพนธะเคม
                                     ชนิดของพันธะเคมี
การปรับตัวให้เสถียรที่เกิดจาก ⇒      การให้-รับ Valance e-
    A + B → A+B- ⇒ เกิดแรงดึงดดทางไฟฟ้ าระหว่างประจต่างชนดกอใหเกดแรงยดเหนยวทเรยกวา พนธะไอออนก
                              เกดแรงดงดูดทางไฟฟาระหวางประจุตางชนิดก่อให้เกิดแรงยึดเหนี่ยวที่เรี ยกว่า พันธะไอออนิก
    (ionic bond)
    A + B → A-B ⇒ เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมที่เรี ยกว่า พันธะโควาเลนซ์(covalent bond)
การเขียนจํานวน Valance e- ของอะตอมของธาตุ ⇒ ใช้จุดแทน Valance e-
                                                   ้

 หมู
 หม่ A          1           2        3                4     5                 6             7           8
               Li ⋅       ⋅ Be ⋅ ⋅ B ⋅                ⋅  ⋅⋅                 ⋅⋅          ⋅⋅            ⋅⋅
                                   ⋅                ⋅C⋅ ⋅N⋅                ⋅O⋅         :F:          : Ne :
                                                      ⋅   ⋅                 ⋅⋅          ⋅⋅            ⋅⋅
               2,1          2,2         2,3          2,4   2,5               2,6         2,7           2,8
พลังงานแลตติช (Lattice energy)
                                            สารประกอบ   Lattice energy (kJ/mol)
                                               LiF               1036
พลังงานแลตติิชเป็ นพลังงานทีี่ใช้แยกผลึึก
   ั           ป็ ั              ้            LiCl               853
ไอออนหนึ่งโมล ออกเป็ นก๊าซไอออน               LiBr               807
                                               LiI               732
โดยที่ค่าของพลังงานแลตติชจะขึ้นอยูกบ
                                   ่ ั        NaF                923
ประจุและขนาดของไอออน ถาไอออนนนม
ประจและขนาดของไอออน ถ้าไอออนนั้นมี            NaCl               788
                  ่
ประจุสูงกว่า จะมีคาพลังงานแลตติชมาก           NaBr               736
กว่า และถ้าขนาดของประจุุน้ นเล็กกว่าก็จะ
                           ั                   NaI               686
มีค่าพลังงานแลตติช มากกว่า เช่น               MgF2               2957
                                              MgCl2              2527
                                              MgBr2              2440
                                              MgI2               2327
                                              Na2O               2570
                                              MgO                3938

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมีบทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมีGawewat Dechaapinun
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมีTharit Khumon
 
พันธะเคมี
 พันธะเคมี พันธะเคมี
พันธะเคมีnn ning
 
พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1areerd
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidNaynui Cybernet
 
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิกรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิกJ K
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsDr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมTutor Ferry
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 

What's hot (20)

บทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมีบทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
Chemical bond
Chemical bondChemical bond
Chemical bond
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
 พันธะเคมี พันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
Study 1
Study 1Study 1
Study 1
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
 
Bond
BondBond
Bond
 
Chemical bonding1
Chemical bonding1Chemical bonding1
Chemical bonding1
 
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิกรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงส้างสารประกอบไออนิก
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 

Similar to Chembond

State of matter
State of matterState of matter
State of matteradriamycin
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matteradriamycin
 
พันธะเคมี1
พันธะเคมี1พันธะเคมี1
พันธะเคมี1She's Bee
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำKatewaree Yosyingyong
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุchemnpk
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
Chemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfChemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfsensei48
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1kasidid20309
 

Similar to Chembond (20)

Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
พันธะเคมี1
พันธะเคมี1พันธะเคมี1
พันธะเคมี1
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
Punmanee study 9
Punmanee study 9Punmanee study 9
Punmanee study 9
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
Chemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfChemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdf
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
 
Punmanee study 1
Punmanee study 1Punmanee study 1
Punmanee study 1
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
Physic 2-boonya
Physic 2-boonyaPhysic 2-boonya
Physic 2-boonya
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 

Chembond

  • 2. บทนํา การศึกษาเกี่ยวกับพันธะเคมีสามารถช่วยให้เราเข้าใจได้วามีแรงอะไรที่ ่ สามารถยึดอะตอมหรื อไอออนเข้าไว้ดวยกันได้ภายในโมเลกุล โดยเราจะใช้ ้ ุ ความรู ้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการจัดเรี ยงตัวของอิเล็กตรอนและตาราธาตุมาทํานาย ได พนธะเคมแบงเปน พวกใหญๆคอ ได้ พันธะเคมีแบ่งเป็ น 2 พวกใหญ่ๆคือ พันธะไอออนิก - พันธะไอออนิกเกิดจากการโยกย้ายของอิเล็กตรอนจาก อะตอมหนงไปยงอกอะตอมหนง อะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่ง พันธะโควาเลนซ์ - พันธะโควาเลนซ์เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนร่ วมกัน ระหว่างอะตอมทีี่จะเกิิดพันธะ ่ ั การเกิดพันธะเคมีจะเกี่ยวข้องเฉพาะอิเล็กตรอนวงนอกของอะตอมที่จะ ่ เกิดพันธะเท่านั้นดังนั้นจะเห็นได้วาธาตุใดที่มีลกษณะการจัดเรี ยงตัว ั อิเล็กตรอนวงนอกคล้ายกันจะมีสมบัติทางเคมีคล้ายกันไปด้วย
  • 3. พันธะเคมี พันธะ มากจากคําว่า Bond ซึ่งหมายถึง แรงยึดเหนี่ยว ซึ่งอาจเป็ นได้ท้ งแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม ั ด้วยกัน และยังรวมถึงแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลด้วยกันให้เป็ นกลุุ่มก้อน ดังนั้น เราจึงสามารถแบ่ง ุ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารทางเคมีออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม (ภายในโมเลกุล) ได้แก่ พันธะโลหะ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ 2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล(เกิดในพันธะโคเวเลนต์)ได้แก่ พันธะไฮโดรเจน แรงดึงดูดระหว่างขั้ว แรง ลอนดอน รูปแสดงแรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล และแรงระหว่ างโมเลกุล 1. แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล (แข็งแรงกว่า) ุ ( 2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็ นแรงที่สามารถ นํามาบอกจุดเดือด จุดหลอมเหลวของนํ้ าได้
  • 4. พันธะเคมี หมายถึงแรงดึงดูดระหว่างอะตอม โมเลกุล ไอออน ทําให้เสถียรกว่า อยู ดี่ยว หรออาจจะเปนการใหรบหรอใช เวเลนซอเลกตรอน (Valence อย่เดยว ๆ หรื ออาจจะเป็ นการให้รับหรื อใช้ เวเลนซ์อิเล็กตรอน (V l e-) ร่ วมกัน โดยพันธะเคมีประกอบด้วย • พนธะไอออนก พันธะไอออนิก • พันธะโควาเลนซ์ • พันธะโลหะ • พนธะไฮโดรเจน พันธะไฮโดรเจน • พันธะ (แรง) แวนเดอร์วาล์ว
  • 5. การเกิดพันธะ การเกิดพันธะเกิดได้โดย 1. ให้อิเล็กตรอนแก่ธาตอื่น ใหอเลกตรอนแกธาตุอ 2. รับอิเล็กตรอนจากธาตุอื่น 3. ใชอเลกตรอนรวมกน 3 ใช้อิเล็กตรอนร่ วมกัน พันธะเคมีเกิดจาก แรงดึงดูดระหว่างอิเล็กตรอนกับโปรตอนในนิวเคลียส เมื่ออะตอมเคลื่อนที่ ั เข้าใกล้กนจะเกิดแรงดึงดููดระหว่างนิวเคลียสของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง อะตอมอยูห่างกันจะมีพลังงานค่าหนึ่ง ซึ่งมีพลังงานสู ง ่
  • 6. ั เมื่ออะตอมทั้งสองเข้าใกล้กนจะเกิดแรงดึงดูดระหว่างกัน ทําให้พลังงานลดลง ั เมื่อเข้าใกล้กนระยะหนึ่งพลังงานจะตํ่าที่สุด ขณะนั้นระบบจะเสถียร
  • 7. โครงสร้ างแบบจุด (electron-dot structure) หรื อเรี ยกว่าโครงสร้างลิวอิส (Lewis structure) เป็ นการสร้างพันธะโดยการ นําเอาเวเลนซ์อิเล็กตรอน Valence e- มาใช้ร่วมกัน หรื อการให้หรื อ/และรับ อิเล็กตรอนของอะตอมทั้งสองอะตอมให้เป็ นไปตาม กฎออกเตต (octet rule) หลักการเขียนสู ตรแบบจุด 1 ใ ้ ี ้ั ใ ้ ี่ ิ ั 1. ใหเขยนอะตอมทงหมดใหอะตอมทเกดพนธะกนอยูใกลกน ั ่ ้ั 2. หาจํานวน Valence e- ทั้งหมด ซึ่งก็คือ ผลรวมของ Valence e- ของอะตอมทุกอะตอมรวมกัน และให้พิจารณา ไอออนบวก ซึ่งต้องนําจํานวนประจุุไปลบออก ไอออนลบ ซึ่งต้องนําจํานวนประจุุไปเพิม ่ 3. ใส่ จุดแทน Valence e- รอบอะตอมเป็ นคู่ ๆ โดยจัดให้แต่ละอะตอม มีจานวนอิเล็กตรอนล้อมรอบครบ 8 ตัว ํ (ยกเว้น H = 2 Be = 4 B = 6 ) 4. ในกรณี ที่ใช้ Valence e- จนหมดแล้ว แต่อะตอมยังไม่ครบ 8 ตัว จะหมายถึงได้วา อาจต้องมีพนธะคู่ ่ ั หรื อพันธะสามเกิดขึ้น 5. กรณทมอะตอม ตว อะตอมทจะตองอยู าแหนงกลาง คอ อะตอมที่มีค่าอิเล็กโตรเนกะติวต้ ีต่า 5 กรณี ที่มีอะตอม 3 ตัว อะตอมที่จะต้องอย่ตาแหน่งกลาง คือ อะตอมทมคาอเลกโตรเนกะตวตตา ํ ิ ํ
  • 8.
  • 10. อิเล็กตรอนที่เกี่ยวกับการสร้างพันธะ เรี ยกว่า bonding electron อิิเล็กตรอนที่ีไม่่เกี่ียวกับการสร้้างพันธะ เรีี ยกว่า non-bonding electron ็ ั ั ่ ไม่ตรงตามกฎออกเตด
  • 11. เรโซแนนซ์ (resonance) การเขียนสูตรโครงสร้างแบบจุดของลิวอิสที่มีมากกว่า 1 แบบ O3 มีโครงสร้างเรโซแนนซ์ 2 แบบ คือ NO3 มีโครงสร้างเรโซแนนซ์ 3 แบบ คือ
  • 12. ชนดของพนธะเคม ชนิดของพันธะเคมี การปรับตัวให้เสถียรที่เกิดจาก ⇒ การให้-รับ Valance e- A + B → A+B- ⇒ เกิดแรงดึงดดทางไฟฟ้ าระหว่างประจต่างชนดกอใหเกดแรงยดเหนยวทเรยกวา พนธะไอออนก เกดแรงดงดูดทางไฟฟาระหวางประจุตางชนิดก่อให้เกิดแรงยึดเหนี่ยวที่เรี ยกว่า พันธะไอออนิก (ionic bond) A + B → A-B ⇒ เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมที่เรี ยกว่า พันธะโควาเลนซ์(covalent bond) การเขียนจํานวน Valance e- ของอะตอมของธาตุ ⇒ ใช้จุดแทน Valance e- ้ หมู หม่ A 1 2 3 4 5 6 7 8 Li ⋅ ⋅ Be ⋅ ⋅ B ⋅ ⋅ ⋅⋅ ⋅⋅ ⋅⋅ ⋅⋅ ⋅ ⋅C⋅ ⋅N⋅ ⋅O⋅ :F: : Ne : ⋅ ⋅ ⋅⋅ ⋅⋅ ⋅⋅ 2,1 2,2 2,3 2,4 2,5 2,6 2,7 2,8
  • 13. พลังงานแลตติช (Lattice energy) สารประกอบ Lattice energy (kJ/mol) LiF 1036 พลังงานแลตติิชเป็ นพลังงานทีี่ใช้แยกผลึึก ั ป็ ั ้ LiCl 853 ไอออนหนึ่งโมล ออกเป็ นก๊าซไอออน LiBr 807 LiI 732 โดยที่ค่าของพลังงานแลตติชจะขึ้นอยูกบ ่ ั NaF 923 ประจุและขนาดของไอออน ถาไอออนนนม ประจและขนาดของไอออน ถ้าไอออนนั้นมี NaCl 788 ่ ประจุสูงกว่า จะมีคาพลังงานแลตติชมาก NaBr 736 กว่า และถ้าขนาดของประจุุน้ นเล็กกว่าก็จะ ั NaI 686 มีค่าพลังงานแลตติช มากกว่า เช่น MgF2 2957 MgCl2 2527 MgBr2 2440 MgI2 2327 Na2O 2570 MgO 3938