SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
จัดทาโดย
นายเรวัต สวัสดิ์กิตติ เลขที่12 ม.5/3
เสนอ
คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ก
คานา
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการจัดการระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลด้วยธุรกิจด้วย
คอมพิวเตอร์เพื่อศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานในระบบเรือข่ายเห็นคุณค่าในเรื่องการสื่อสารข้อมูลบนระบบเครือข่ายและ
การศึกษาเกี่ยวกับมาตรฐานการสื่อสารข้อมูล โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โปรโตคอล ระบบ
เครือข่ายบนอินเตอร์เน็ต
หากรายงานฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใดทางผู้จัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
นายเรวัต สวัสดิ์กิตติ
ข
สารบัญ
คำนำ.........................................................................................................................................................ก
สำรบัญตำรำง.............................................................................................................................................ค
ประวัติของกำรคำนวณโดยใช้คอมพิวเตอร์ .......................................................................................................1
ประเภทของคอมพิวเตอร์...........................................................................................................................2
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) ..................................................................................................2
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer).....................................................................................3
มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer).........................................................................................................3
ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC).........................................3
กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ ...........................................................................................................................5
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์........................................................................................................................6
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์.......................................................................................6
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ.......................................................................................................7
คอมพิวเตอร์กับกำรแปลงค่ำเลขฐำน............................................................................................................. 12
คอมพิวเตอร์กับเลขฐำน.......................................................................................................................... 12
ระบบเลขฐำน 2 (Binary Number System)......................................................................................... 13
ระบบเลขฐำน 8 (Octal Number System) .......................................................................................... 13
ระบบเลขฐำน 10 (Decimal Number System).................................................................................... 13
ตำรำงกำรแปลงเลขระหว่ำงระบบเลขฐำน...................................................................................................... 14
กำรแปลงค่ำเลขฐำน................................................................................................................................... 15
กำรคำนวณ.......................................................................................................................................... 15
1. กำรแปลงค่ำเลขฐำนสิบให้เป็นเลขฐำนสอง ฐำนแปด.......................................................................... 15
2. กำรแปลงเลขฐำนสอง ฐำนแปด...................................................................................................... 15
3. กำรแปลงค่ำเลขฐำนสองให้เป็นเลขฐำนแปด....................................................................................... 15
4. กำรแปลงค่ำเลขฐำนสองให้เป็นเลขฐำนสิบหก..................................................................................... 15
ค
5. กำรแปลงค่ำเลขฐำนแปดให้เป็นเลขฐำนสอง....................................................................................... 15
7. กำรแปลงค่ำเลขฐำนสิบหกให้เป็นเลขฐำนสอง..................................................................................... 16
8. กำรแปลงเลขฐำนสิบหกให้เป็นเลขฐำนแปด........................................................................................ 16
สำระน่ำรู้เกี่ยวกับกำรแปลงค่ำเลขฐำน........................................................................................................... 16
บรรณานุกรม ............................................................................................................................................ 17
สารบัญรูปภาพ
รูปภำพที่ 1 ขั้นตอนกำรทำงำน......................................................................................................................5
รูปภำพที่ 2จอภำพ......................................................................................................................................7
รูปภำพที่ 3 เคส (case)................................................................................................................................8
รูปภำพที่ 4พำวเวอร์ซัพพลำย (Power Supply) ..............................................................................................8
รูปภำพที่ 5 คีย์บอร์ดหรือแป้นพิมพ์ (Keyboard)...............................................................................................9
รูปภำพที่ 6ฮำร์ดดิสก์ (Harddisk)...................................................................................................................9
รูปภำพที่ 7เมนบอร์ด (Main board)............................................................................................................. 10
รูปภำพที่ 8ซีพียู (CPU)................................................................................................................................ 10
รูปภำพที่ 9กำร์ดแสดงผล (Display Card)..................................................................................................... 10
รูปภำพที่ 10 เมำส์ (Mouse) ........................................................................................................................ 11
รูปภำพที่ 11 แรม (RAM)........................................................................................................................... 11
รูปภำพที่ 12CD Drive / DVD Drive / CD-RW Drive / DVD-RW Drive ........................................................ 12
สารบัญตาราง
ตำรำงที่ 1ขั้นตอนกำรทำงำน..........................................................................................................................6
ตำรำงที่ 2ตำรำงกำรแปลงเลขระหว่ำงระบบเลขฐำน ........................................................................................ 14
ประวัติของการคานวณโดยใช้คอมพิวเตอร์
มีการบันทึกไว้ว่า ครั้งแรกที่มีการใช้คาว่า "คอมพิวเตอร์" คือเมื่อ ค.ศ. 1613 ซึ่งหมายถึงบุคคลที่ทาหน้าที่
คาดการณ์ หรือคิดคานวณ และมีความหมายเช่นนี้เรื่อยมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 และตั้งแต่ปลาย
คริสต์ศตวรรษที่ 19 มา ความหมายของคาว่าคอมพิวเตอร์นี้เริ่มมีใช้กับเครื่องจักรที่ทาหน้าที่คิดคานวณมาก
ขึ้น
คอมพิวเตอร์ยุคแรกที่มีฟังก์ชันจากัด
ประวัติของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่นั้นเริ่มต้นจากเทคโนโลยีสองชนิดที่แตกต่างกัน ได้แก่ การคานวณโดย
อัตโนมัติ กับการคานวณที่สามารถโปรแกรมได้ (หมายถึงสร้างวิธีการทางานและปรับแต่งได้) แต่ระบุแน่
ชัดไม่ได้ว่าเทคโนโลยีชนิดใดเกิดขึ้นก่อน ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการคานวณแต่ละชนิดนั้นไม่มีความ
สอดคล้องกัน อุปกรณ์บางชนิดก็มีความสาคัญที่จะเอ่ยถึง อย่างเช่นเครื่องมือเชิงกลเพื่อการคานวณบางชนิด
ที่ประสบความสาเร็จและยังใช้กันอยู่หลายศตวรรษก่อนที่จะมีเครื่องคิดเลขอิเล็กทรอนิกส์ อาทิลูกคิดของ
ชาวสุเมเรียนที่ถูกออกแบบขึ้นราว 2,500 ปีก่อนคริสตกาล[6] ชนะการแข่งขันความเร็วในการคานวณต่อ
เครื่องคานวณตั้งโต๊ะเมื่อ ค.ศ. 1946 ที่ประเทศญี่ปุ่น[7] ต่อมาในคริสต์ทศวรรษ 1620 มีการประดิษฐ์สไลด์
รูล ซึ่งถูกนาขึ้นยานอวกาศในภารกิจของโครงการอะพอลโลถึง 5 ครั้ง รวมถึงเมื่อครั้งที่สารวจดวงจันทร์
ด้วย[8] นอกจากนี้ยังมี เครื่องทานายตาแหน่งดาวฤกษ์ (Astrolabe) และ กลไกอันติคือเธรา ซึ่งเป็นเครื่อง
คานวณ (คอมพิวเตอร์) เกี่ยวกับดาราศาสตร์ยุคโบราณที่ชาวกรีกเป็นผู้สร้างขึ้นราว 80 ปีก่อนคริสตกาล[9]
ที่มาของระบบการสั่งการโปรแกรมเกิดขึ้นเมื่อ ฮีโรแห่งอเล็กซานเดรีย (c.10-70 AD) นักคณิตศาสตร์ชาว
กรีกสร้างโรงละครที่ประกอบด้วยเครื่องจักร ใช้แสดงละครความยาว 10 นาที และทางานโดยมีกลไกเชือก
และอิฐบล็อกทรงกระบอกที่ซับซ้อน ซึ่งสามารถตัดสินใจเลือกได้ว่าจะชิ้นส่วนกลไกใดใช้ในการแสดงฉาก
ใดและเมื่อไร
ราว ๆ ปลายศตวรรษที่ 10 สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2 นักบวชชาวฝรั่งเศส ได้นาลิ้นชักบรรจุ
อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่จะตอบคาถามได้ว่าใช่ หรือ ไม่ใช่ เมื่อถูกถามคาถาม (ด้วยเลขฐานสอง) [11] ซึ่งชาวมัวร์
ประดิษฐ์ไว้กลับมาจากประเทศสเปน ในศตวรรษที่ 13 นักบุญอัลแบร์ตุส มาญุส และโรเจอร์ เบคอน
นักปราชญ์ชาวอังกฤษ ได้สร้างหุ่นยนต์แอนดรอยด์ (android) พูดได้โดยไม่ได้พัฒนาใด ๆ ต่ออีก
(นักบุญอัลแบร์ตุส มาญุส บ่นออกมาว่าเขาเสียเวลาเปล่าไป 40 ปีในชีวิต เมื่อนักบุญโทมัส อควีนาสตกใจกับ
เครื่องนี้และได้ทาลายมันเสีย) [12]
2
ในปี ค.ศ. 1642 แห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา มีการประดิษฐ์เครื่องคานวณของปาสคาลซึ่งเป็นเครื่องคานวณ
ตัวเลขเชิงกล[13] เป็นอุปกรณ์ที่จะสามารถคานวณโดยใช้ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์โดยไม่ต้องพึ่ง
สติปัญญามนุษย์[14] เครื่องคานวณเชิงกลนี้ยังถือเป็นรากฐานของการพัฒนาคอมพิวเตอร์ในสองทาง
แรกเริ่มนั้น ความพยายามที่จะพัฒนาเครื่องคานวณที่มีสมรรถภาพสูงและยืดหยุ่น[15] ซึ่งทฤษฎีนี้ถูกสร้าง
โดยชาร์ลส แบบเบจ[16][17] และได้รับการพัฒนาในเวลาต่อมา[18] นาไปสู่การพัฒนา
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1960 และในขณะเดียวกัน อินเทล ก็
สามารถประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งถือเป็นจุดกาเนิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของคอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคล และเป็นหัวใจสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์หากไม่คานึงถึงขนาดและวัตถุประสงค์[19] ขึ้นได้โดย
บังเอิญ[20] ระหว่างการพัฒนาเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ บิซิคอม ที่พัฒนาสืบต่อจากเครื่องคานวณเชิงกล
โดยตรง
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้ใช้วงจรเบ็ดเสร็จขนาดใหญ่มาก (very large scale integrated circuit) ซึ่งสามารถ
บรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่าสิบล้านตัว เราสามารถแบ่งคอมพิวเตอร์ในรุ่นปัจจุบันออกเป็น 4 ประเภท
ดังต่อไปนี้
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer)
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วมาก และมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับ
คอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีราคาแพงมาก มีขนาดใหญ่ สามารถคานวณทาง
คณิตศาสตร์ได้หลายแสนล้านครั้งต่อวินาที และได้รับการออกแบบ เพื่อให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากทาง
วิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมศาสตร์ได้อย่างรวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน
การศึกษาผลกระทบของมลพิษกับสภาวะแวดล้อมซึ่งหากใช้คอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ แก้ไขปัญหาประเภทนี้
อาจจะต้องใช้เวลาในการคานวณหลายปีกว่าจะเสร็จสิ้น ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขปัญหา
ได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น เนื่องจากการแก้ปัญหาใหญ่ ๆ จะต้องใช้หน่วยความจาสูง ดังนั้น ซูเปอร์
คอมพิวเตอร์จึงมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ตั้งแต่รุ่นที่มีหน่วย
ประมวลผล (processing unit) 1 หน่วย จนถึงรุ่นที่มีหน่วยประมวลผลหลายหมื่นหน่วยซึ่งสามารถทางาน
หลายอย่างได้พร้อม ๆ กัน
3
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer)
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีสมรรถภาพที่ต่ากว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาก แต่ยังมีความเร็วสูง และมี
ประสิทธิภาพสูงกว่ามินิคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้
จานวนหลายร้อยคนพร้อม ๆ กัน ฉะนั้น จึงสามารถใช้โปรแกรมจานวนนับร้อยแบบในเวลาเดียวกันได้
โดยเฉพาะถ้าต่อเครื่องเข้าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถใช้ได้จากทั่วโลก ปัจจุบัน องค์กรใหญ่ ๆ เช่น
ธนาคาร จะใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ในการทาบัญชีลูกค้า หรือการให้บริการจากเครื่องฝากและถอนเงิน
แบบอัตโนมัติ (automatic teller machine) เนื่องจากเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ถูกใช้งานมากในการ
บริการผู้ใช้พร้อม ๆ กัน เมนเฟรมคอมพิวเตอร์จึงต้องมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก
มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)
มินิคอมพิวเตอร์ คือ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ซึ่งสามารถบริการผู้ใช้งานได้หลายคนพร้อม ๆ กัน
แต่จะไม่มีสมรรถภาพเพียงพอที่จะบริการผู้ใช้ในจานวนที่เทียบเท่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ จึงทาให้
มินิคอมพิวเตอร์เหมาะสาหรับองค์กรขนาดกลาง หรือสาหรับแผนกหนึ่งหรือสาขาหนึ่งขององค์กรขนาด
ใหญ่เท่านั้น
ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC)
ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบขนาดตั้งโต๊ะ (desktop computer) หรือขนาดเล็กกว่านั้น
เช่น ขนาดสมุดบันทึก (notebook computer) และขนาดฝ่ามือ (palmtop computer) ไมโครคอมพิวเตอร์ได้
เริ่มมีขึ้นในปีพ.ศ. 2518 ถึงแม้ว่าในระยะหลัง เครื่องชนิดนี้จะมีประสิทธิภาพที่สูง แต่เนื่องจากมีราคาไม่แพง
และมีขนาดกะทัดรัด ไมโครคอมพิวเตอร์จึงยังเหมาะสาหรับใช้ส่วนตัว ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ถูกออกแบบ
สาหรับใช้ที่บ้าน โรงเรียน และสานักงานสาหรับที่บ้าน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการทา
งบประมาณรายรับรายจ่ายของครอบครัวช่วยทาการบ้านของลูก ๆ การค้นคว้าข้อมูลและข่าวสาร การ
สื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail หรือ E - mail) หรือโทรศัพท์ทางอินเทอร์เน็ต (internet phone)
ในการติดต่อทั้งในและนอกประเทศ หรือแม้กระทั่งทางบันเทิง เช่น การเล่นเกมบนเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ สาหรับที่โรงเรียน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยสอนนักเรียนในการ
ค้นคว้าข้อมูลจากทั่วโลกสาหรับที่สานักงาน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยพิมพ์จดหมาย
และข้อมูลอื่น ๆ เก็บและค้นข้อมูล วิเคราะห์และทานายยอดซื้อขายล่วงหน้า
โน้ตบุ๊ค (notebook or laptop)
4
โน้ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ถูกออกแบบไว้เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่าง ๆ
มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา ในปัจจุบันมีขนาดพอ ๆ กับสมุดที่ทาด้วยกระดาษ
เน็ตบุ๊ค (netbook or laptop)เน็ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คและเล็กกว่า
โน้ตบุ๊ค ไม่มีไดรฟ์สาหรับอ่านและเขียนแผ่น และใช้ฮาร์ดดิสแบบ SSD ทาให้น้าหนักเบา ถูกออกแบบไว้
เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่าง ๆ มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา ปัจจุบันไม่ได้รับความนิยมอัลตร้าบุ๊ค
(Ultrabook)
อัลตร้าบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์และมีขนาดเท่ากับโน้ตบุ๊ค ถูกออกแบบไว้
เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่าง ๆ และน้าหนักเบากว่าโน้ตบุ๊ค และเน้นความสวยงาม ทันสมัย แปลกใหม่
แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ (tablet computer)
แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แท็บเล็ต คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ในขณะเคลื่อนที่ได้
ขนาดกลางและใช้หน้าจอสัมผัสในการทางานเป็นอันดับแรก มีคีย์บอร์ดเสมือนจริงหรือปากกาดิจิตอลใน
การใช้งานแทนที่แป้นพิมพ์คีย์บอร์ด และมีความหมายครอบคลุมถึงโน๊คบุ๊คแบบ convertible ที่มีหน้าจอ
แบบสัมผัสและมีแป้นพิมพ์คีย์บอร์ดติดมาด้วยไม่ว่าจะเป็นแบบหมุนหรือแบบสไลด์ก็ตาม [21]
ตัวอย่างประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์มีประโยชน์กับเรามากมาย เช่น
การใช้งานภาครัฐ งานทะเบียนราษฎร์ของรัฐบาล เช่น การแจ้งเกิด ตาย ย้ายที่อยู่ การทาบัตรประจาตัว
ประชาชน งานภาษี เช่น ยื่นแบบประเมินภาษีภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต เก็บทะเบียนประวัติผู้เสียภาษี ตรวจสอบ
การเสียภาษี
งานสายการบิน การสารองที่นั่งผู้โดยสาร การลดงานเอกสาร
ทางด้านการศึกษา สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนออนไลน์ให้กับผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล
ธุรกิจการนาเข้าสินค้าและส่งออก การทาธุรกิจแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ธุรกิจธนาคาร ช่วยด้านงานข้อมูลธนาคาร รับ-จ่ายเงิน เก็บประวัติลูกค้า ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ การทา
ธุรกรรมผ่านโทรศัพท์มือถือ
5
วิทยาศาสตร์และการแพทย์การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการรักษาของคนไข้วิจัย คานวณ และ การจาลอง
แบบงานสถาปนิก ช่วยออกแบบ เขียนแบบ หรือทาแบบจาลองสามมิติ
งานภาพยนตร์ การ์ตูน แอนิเมชัน ช่วยสร้างตัวการ์ตูนเคลื่อนไหว ออกแบบตัวการ์ตูน จาลองตัวการ์ตูนสาม
มิติ การตัดต่อภาพยนตร์
งานด้านสถิติ ช่วยเก็บบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ จาลองแบบข้อมูล และการเผยแพร่ข้อมูล
ด้านนันทนาการ ช่วยให้ความบันเทิง ดูหนัง ฟังเพลง ร้องคาราโอเกะ เล่นเกม
การทางานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อช่วยให้
o การทางานเอกสารที่ซ้าๆ ได้อย่างรวดเร็ว
o การคานวณตัวเลข ถูกต้อง แม่นยา
o สามารถเก็บข้อมูล ปรับปรุงแก้ไข ได้โดยง่าย
o การจัดเก็บข้อมูลให้เป็นฐานข้อมูล แล้วสืบค้นได้
o การติดต่อสื่อสาร เพื่อสืบค้นข้อมูล เพื่อบันเทิง
ขั้นตอนการทางานที่สาคัญของคอมพิวเตอร์ 4 ขั้นตอน
รูปภาพที่ 1 ขั้นตอนการทางาน
6
ตารางที่ 1ขั้นตอนการทางาน
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ด้วยควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยีและเป็นยุคสำรสนเทศ ไม่ว่ำเรำจะทำอะไรก็สะดวกสบำยไปเสียหมด จะ
ติดตำมข่ำวสำรต่ำงๆ ก็สะดวกสบำยขึ้น กำรติดต่อสื่อสำรก็ง่ำยขึ้น ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้ทุกอย่ำง
นั้นสะดวกขึ้นเป็นอย่ำงมำก แม้กระทั่งกำรทำงำนของเรำก็ สะดวกขึ้น เพรำะปัจจุบันนี้ในกำรทำงำนก็มี
เทคโนโลยีเข้ำมำเกี่ยวข้อง ที่เห็นง่ำยๆ เลย ก็คือ กำรนำคอมพิวเตอร์เข้ำมำใช้ในหน่วยงำน ไม่ว่ำจะเป็น
หน่วยงำนรำชกำรหรือหน่วยงำนเอกชนล้วนแล้วแต่นำคอมพิวเตอร์เข้ำมำเป็นส่วนหนึ่งในกำรทำงำนทั้งนั้น
แล้วรู้กันหรือไหมว่ำ คอมพิวเตอร์ที่เรำใช้กันอยู่ทุกวันนั้นมีส่วนประกอบอะไรบ้ำง และมีควำมสำคัญ
อย่ำงไร วันนี้เรำมำรู้จักกับคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่เรำใช้งำน
ขั้นตอนที่ การทางาน ตัวอย่างอุปกรณ์
1. การรับข้อมูลและ
คาสั่ง (Input)
คอมพิวเตอร์รับข้อมูลและคาสั่งผ่าน
อุปกรณ์นาเข้าข้อมูล
Mouse, Keyboard, Scanner,
Microphone
2. การประมวลผล
หรือคิด
คานวณ (Processing)
ข้อมูลที่คอมพิวเตอร์รับเข้ามา จะถูก
ประมวลผลโดยการทางานของ
หน่วยประมวลผลกลาง (CPU :
Central Processing Unit) ตามคาสั่ง
ของโปรแกรม หรือซอฟต์แวร์
CPU
3. การแสดง
ผลลัพธ์ (Output)
คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ของ
ข้อมูลที่ป้อน หรือแสดงผลจากการ
ประมวลผล ทางอุปกรณ์แสดงผล
Monitor, Printer, Speaker
4. การเก็บ
ข้อมูล (Storage)
ผลลัพธ์จากการประมวลผลสามารถ
เก็บไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล
hard disk, floppy disk, CD-ROM
7
กันอยู่ดีกว่ำ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์หลักๆรู้กันมั้ยว่ำส่วนประกอบของ
คอมพิวเตอร์มีอะไรบ้ำง คอมพิวเตอร์นั้นมีส่วนประกอบหลักๆ อยู่ 4 ส่วนด้วยกัน เริ่มจำก
1. โปรเซสเซอร์ (Processor) นั่นก็คือหน่วยประผลกลางหรือที่รู้จักกันในนามของซีพียู (CPU) นั่นเอง หรือ
เรียกว่าซิป ซึ่งส่วนนี้มีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะว่ามีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้
ป้อนเข้ามา ซึ่งซีพียูนั้นมีรุ่นต่างๆ ออกมาวางขายตามท้องตลาดมากมาย ซึ่งแต่ละรุ่นก็ราคาแตกต่างกัน
ออกไป
2. หน่วยความจา (Memory) หรือ RAM นั่นเอง ซึ่ง RAM นั้นเป็นหน่วยความจาหลักที่จาเป็นในการเก็บ
ข้อมูลต่างๆ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าหน่วยความจาสารองนั่นเอง ก็คือจะเก็บข้อมูลชั่วคราว ซึ่ง
หน่วยความจาแรมจะทาหน้าที่เก็บชุดคาสั่งและข้อมูลที่ระบบคอมพิวเตอร์กาลังทางานอยู่ด้วย
3. ส่วนอินพุต/เอาต์พุต (Input/Output) ก็คืออุปกรณ์ที่ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถสัมผัสและรับรู้สิ่งต่าง ๆ
เช่น เครื่องอ่านบัตร คีย์บอร์ด เมาส์ สแกนเนอร์ และอุปกรณ์ Output ก็ได้แก่พวก เครื่องพิมพ์ จอภาพ
4. สื่อจัดเก็บข้อมูล (Storage) นั่นก็คือสื่อที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
รูปภาพที่ 2จอภาพ
จอภาพ หรือ monitor เป็นอุปกรณ์การแสดงผลที่สาคัญที่สุด จะเป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง เพราะเรา
สามารถมองเห็นข้อมูลที่ที่แสดงผลได้โดยผ่านจอภาพของเรา จอภาพของคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ
8
คือจอแบบซีอาร์ที และจอแบบแอลซีดี ซึ่งจอภาพ 2 แบบนี้มีลักษณะที่แตกต่างกันในเรื่องของรูปแบบ นั้นก็
คือจอแบบซีอาร์ที (CRT) ส่วนใหญ่เป็นจอภาพที่นิยมใช้สาหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ มีขนาดใหญ่คล้าย
โทรทัศน์ เมื่อก่อนได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แต่เมื่อจอภาพแบบแอลซีดี (LCD) เข้ามาแทน จอภาพแบบ
ซีอาร์ทีก็เริ่มมีน้อยลงจนในปัจจุบันนี้เราแทบไม่เห็นร้านขายคอมพิวเตอร์มีจอแบบนี้วางขายอีกแล้ว ส่วน
จอภาพแบบแอลซีดีนั้นมีทั้งแบบที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและในแบบของโน๊ตบุ๊ค เนื่องจากเป็นจอภาพที่
มีขนาดรูปร่างที่บางทาให้สะดวกสาหรับการพกพาไปไหนมาไหน แต่จอภาพแบบแอลซีดีนี้ก็มีราคาที่แพง
กว่าจอภาพแบบซีอาร์ที
รูปภาพที่ 3 เคส (case)
เคส (case) คือ กล่องหรือโครงสร้ำงสำหรับเก็บประกอบอุปกรณ์ต่ำงๆ คอมพิวเตอร์ไว้ภำยในนั้น ซึ่งขนำดของเคสก็จะ
แตกต่ำงกันออกไป แล้วแต่กำรใช้งำนหรือควำมเหมำะสมในกำรใช้งำนของแต่ละคนรวมทั้งสถำนที่เก็บอุปกรณ์เหล่ำนั้น
ด้วยว่ำมีขนำดพื้นที่มำกน้อยเพียงใด และในตัวเคสก็จะมีในส่วนของพำวเวอร์ซัพพลำยติดมำด้วย
รูปภาพที่ 4พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply)
9
พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวงเยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือก
พาวเวอร์ซัพพลายที่มีจานวนวัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแสไฟได้เพียงพอต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
รูปภาพที่ 5 คีย์บอร์ดหรือแป้นพิมพ์ (Keyboard)
คีย์บอร์ดหรือแป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมี เนื่องจากตัว
คีย์บอร์ดใช้สาหรับการพิมพ์หรือป้อมข้อมูลต่างลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ ในตัวคีย์บอร์ดจะมีทั้งที่เป็น
ตัวอักษรที่เป็นภาษาหลักของแต่ละประเทศรวมทั้งภาษาหลักอย่างภาษาอังกฤษอยู่ด้วย และยังมีข้อมูลทั้งตัว
เลขและฟังก์ชันต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับการใช้งานและอื่นๆ อีก เพื่อใช้สาหรับลงข้อมูลในตัวเครื่องของเรา
โดยส่วนใหญ่แล้วคีย์บอร์ดมีลักษณะที่เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือมีลักษณะที่ใกล้เคียงกัน แต่ในปัจจุบันก็อาจมี
ลักษณะที่แตกต่างกันออกไป แล้วแต่ความคิดสร้างสรรค์ของคนออกแบบนั้นเอง
รูปภาพที่ 6ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk)
ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับบันทึกข้อมูลหรือเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ และเป็น
อุปกรณ์ที่ติดมาพร้อมกันกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งตัวฮาร์ดดิสก์จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมและมี
แผงวงจรสาหรับควบคุมการทางานอยู่ด้านล่างและช่องสาหรับเสียบสายไฟเลี้ยงและสายสัญญาณต่างๆ โดย
ที่ส่วนประกอบภายในจะปิดไว้อย่างมิดชิดเพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น
10
รูปภาพที่ 7เมนบอร์ด (Main board)
เมนบอร์ด (Main board) เป็นแผ่นวงจรไฟฟ้าแผ่นใหญ่ที่รวมเอาชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญๆ ไว้
ด้วยกัน ซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุม การทางานของ อุปกรณ์ต่างๆ ภายในพีชีทั้งหมด
รูปภาพที่ 8ซีพียู (CPU)
ซีพียู (CPU) มีหน้าที่ในการประมวลผลหรือเรียกว่าโปรเซสเซอร์หรือชิป เป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมาก
เนื่องจากมีหน้าที่ในการประมวลผลจากการป้อนข้อมูลลงไป
รูปภาพที่ 9การ์ดแสดงผล (Display Card)
การ์ดแสดงผล (Display Card) หลักการทางานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้น เมื่อโปรแกรมต่างๆ
ส่งข้อมูลมาประมวลผลที่ ซีพียูเมื่อซีพียูประมวลผล เสร็จแล้ว ก็จะส่งข้อมูลที่จะนามาแสดงผลบนจอภาพมา
11
ที่การ์ดแสดงผล จากนั้น การ์ดแสดงผล ก็จะส่งข้อมูลนี้มาที่จอภาพ ตามข้อมูลที่ได้รับมา การ์ดแสดงผลรุ่น
ใหม่ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่ ก็จะมีวงจร ในการเร่งความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติ และมีหน่วยความจามา
ให้มากพอสมควร
โดยที่การ์ดบางรุ่นสามารถประมวลผลได้ในตัวการ์ด ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระการประมวลผลให้ซีพียู จึงทา
ให้การทางานของคอมพิวเตอร์นั้นเร็วขึ้นด้วย ซึ่งตัวการ์ดแสดงผลนั้นจะมีหน่วยความจาในตัวของมันเอง ถ้า
ตัวการ์ดมีหน่วยความจามาก ก็จะรับข้อมูลจากซีพียูได้มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพมี
ความเร็วสูงขึ้นด้วย
รูปภาพที่ 10 เมาส์ (Mouse)
เมาส์ (Mouse) จะเป็นอุปกรณ์ที่ให้ความรู้สึกที่ดีต่อการใช้งาน ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์
เลื่อนตัวชี้ไปยังตาแหน่งต่าง ๆ บนจอภาพ หรือเรียกง่ายๆ ว่าตัวชี้ตาแหน่งนั่นเอง ในขณะที่สายตาจับอยู่ที่
จอภาพก็สามารถใช้มือลากเมาส์ไปมาได้ระยะทางและทิศตจะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทางเดียวกับการ
เลื่อนเมาส์เมาส์แบ่งได้เป็นสองแบบคือ แบบทางกลและแบบใช้แสง แบบทางกลเป็นแบบที่ใช้ลูกกลิ้งกลม
ที่มีน้าหนักและแรงเสียดทานพอดี เมื่อเลื่อนเมาส์ไปในทิศทางใดจะทาให้ลูกกลิ้งเคลื่อนไปมาในทิศทางนั้น
แต่ในปัจจุบันเมาส์แบบลูกกลิ้งไม่ค่อยนิยมนามาใช้กันแล้ว
รูปภาพที่ 11 แรม (RAM)
แรม (RAM)
12
เป็นหน่วยความจาของระบบ มีหน้าที่รับข้อมูลเพื่อส่งไปให้ CPU ประมวลผล แรมเป็นหน่วยความจาหลัก
ของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเก็บข้อมูลเมื่อมีกระแสไฟหล่อเลี้ยงเท่านั้น โดยถ้าเกิดไฟฟ้ากระพริบหรือดับ
ข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ในหน่วยความจาจะหายไปทันที
รูปภาพที่ 12CD Drive / DVD Drive / CD-RW Drive / DVD-RW Drive
CD Drive / DVD Drive / CD-RW Drive / DVD-RW Drive เป็นไดรฟ์ สาหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอม
หรือดีวีดีรอม ซึ่งถ้าหากต้องการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นจะต้องใช้ไดรฟ์ที่สามารถเขียนแผ่นได้
เมื่อไดรฟ์ซีดีรอมเริ่มทางานมอเตอร์จะเริ่มหมุนด้วยความเร็ว หลายค่า ทั้งนี้เพื่อให้อัตราเร็วในการอ่านข้อมูล
จากซีดีรอมคงที่สม่าเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกหรือวงในก็ตาม จากนั้นแสง
เลเซอร์จะฉายลงซีดีรอม โดยลาแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตาแหน่งได้โดยการทางานของขดลวด
ลาแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปที่ซีดีรอมแล้วถูกสะท้อนกลับCD-ROM / DVD-ROM ภายในซีดีรอม หรือดีวีดี
รอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่เซ็กเตอร์ในซีดีรอม หรือดีวีดีรอมจะมีขนาด
เท่ากัน ทุกเซ็กเตอร์ ทาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น (วสุวัติ, 4 เมษายน พ.ศ. 2556)
คอมพิวเตอร์กับการแปลงค่าเลขฐาน
คอมพิวเตอร์กับเลขฐาน
ระบบเลขฐานที่มีความเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ คือ ช่วยในเรื่องการจัดการระบบดิจิตอลหรือระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ใน คอมพิวเตอร์ หรือแทนรหัสข้อมูลในระบบ BCD, EBCDIC, ASCII โดยส่วนใหญ่ระบบ
เลขฐานที่ใช้ในคอมพิวเตอร์เป็น ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขฐานแปดและระบบเลขฐานสิบหก โดยจะต้อง
มีการนาระบบเลขฐานดังกล่าวมาคานวณผลด้วย ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ ตลอดจนกระทั่งการเปลี่ยน
ระบบเลขฐาน เพื่อให้มนุษย์เกิดความเข้าใจระบบการทางานของ คอมพิวเตอร์ซึ่งในการประมวลผลข้อมูล
13
ด้วยคอมพิวเตอร์นั้นข้อมูลต่าง ๆ จะถูกนาเข้าเป็นลาดับของบิต(Bit) หรือเลขฐานสองก่อน เช่น
110100110110 110101100110 110110110110
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานประกอบด้วยเลขฐาน 2 เลขฐาน 8 เลขฐาน 10 เลขฐาน 16
ระบบเลขฐาน 2 (Binary Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 2 ตัว ได้แก่เลข 0 กับ เลข 1
ซึ่งเป็นเลขฐานที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ง่าย เพราะว่าอุปกรณ์ทางไฟฟ้าก็มีสถานะเพียง 2 สถานะ คือ
เปิด กับ ปิด ซึ่งก็เทียบได้กับ 0 กับ 1 แต่ถ้าใช้เลขฐาน 10 ในคอมพิวเตอร์อาจจะเกิดปัญหาอย่างอื่นตามมา
หรือแม้แต่อุปกรณ์ทางไฟฟ้า ก็ต้องแบ่งสถานะออกเป็น 10 สถานะ ซึ่งไม่เป็นที่นิยมนัก การเก็บข้อมูลใน
ระบบของคอมพิวเตอร์ก็จะจัดเก็บเป็นกลุ่มตัวเลขฐานสองหลายบิต ขึ้นอยู่กับขนาดของสิ่งที่ต้องการเก็บ
และหน่วยความจาที่ใช้
ระบบเลขฐาน 8 (Octal Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 8 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1,
2, 3, 4, 5, 6, 7 ซึ่งเป็นเลขฐานที่เพิ่มเนื้อที่หน่วยความจาในการเก็บให้มากขึ้น การเก็บข้อมูลเป็นเลขฐาน 8
จะทาให้เก็บข้อมูลได้มากขึ้น
ระบบเลขฐาน 10 (Decimal Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยตัวเลข 10 ตัว ซึ่ง
ประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ซึ่งระบบเลขฐาน 10 เป็นระบบเลขฐานที่คนทั่วไปสามารถเข้าใจ
ได้เป็นอย่างดี เพราะเป็นตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันซึ่งใช้มาตลอด สามารถจาได้และคานวณได้ง่าย
กว่าเลขฐานอื่น ๆระบบเลขฐาน 16 (Hexadecimal Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยตัวเลข
10 ตัวและตัวอักษรแทนตัวเลขอีก 6 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 และตัวอักษร
ภาษาอังกฤษแทน 10 ถึง 15 ได้แก่ A, B, C, D, E, F ซึ่งก็จะเก็บข้อมูลได้มากกว่าระบบเลขฐาน 2 ฐาน 8
14
ตารางการแปลงเลขระหว่างระบบเลขฐาน
เลขฐาน2 เลขฐาน8 เลขฐาน10
เลขฐาน
16
0 0 0 0
1 1 1 1
10 2 2 2
11 3 3 3
100 4 4 4
101 5 5 5
110 6 6 6
111 7 7 7
1000 10 8 8
1001 11 9 9
1010 12 10 A
1011 13 11 B
1100 14 12 C
1101 15 13 D
1110 16 14 E
1111 17 15 F
ตารางที่ 2ตารางการแปลงเลขระหว่างระบบเลขฐาน
15
การแปลงค่าเลขฐาน
การแปลงเลขฐานใดๆ เป็น ฐาน 10
การแปลงเลขฐาน 10 เป็น ฐานใดๆ
การแปลงเลขฐาน 2 เป็น ฐาน 8 ฐาน 16
การแปลงเลขฐาน 8 ฐาน 16 เป็น ฐาน 2
การคานวณ
1. การแปลงค่าเลขฐานสิบให้เป็นเลขฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหก สามารถคานวณได้จาก
การหารสั้นด้วยเลขฐานที่ต้องการแปลงค่า แล้วนาผลลัพธ์และเศษที่ได้มาเรียงต่อกันจากล่างขึ้นบน
2. การแปลงเลขฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหกให้เป็นเลขฐานสิบ สามารถคานวณได้จากการนาเลข
ฐานที่ต้องการแปลงในหลักนั้นมาคูณกับค่าประจาหลักของฐาน แล้วนาแต่ละหลักมารวมกัน
3. การแปลงค่าเลขฐานสองให้เป็นเลขฐานแปด สามารถคานวณได้จากการแบ่งกลุ่มเลขฐานสอง กลุ่มละ
สามหลัก จากด้านขวาไปด้านซ้ายแล้วแปลงเลขฐานสองแต่ละกลุ่มให้เป็นเลขฐานสิบ จากนั้นจึงนาตัวเลข
ที่ได้มาเรียงต่อกัน ซึ่งการแปลงเลขฐานสองให้เป็นเลขฐานสิบนั้นสามารถคานวณได้จากข้อ 2 หรือเทียบ
จาก ตารางเลขฐาน
4. การแปลงค่าเลขฐานสองให้เป็นเลขฐานสิบหก สามารถคานวณได้จากการแบ่งกลุ่มเลขฐานสอง
กลุ่มละสี่หลักจากด้านขวาไปด้านซ้าย แล้วแปลงเลขฐานสองแต่ละกลุ่มให้เป็นเลขฐานสิบ จากนั้นนา
ตัวเลขที่ได้มาเรียงต่อกัน
5. การแปลงค่าเลขฐานแปดให้เป็นเลขฐานสอง สามารถคานวณได้จากการแบ่งเลขฐานแปดทีละหลัก
แปลงเลขฐานแปดให้เป็นเลขฐานสองสามหลักด้วยการเปรียบเทียบจากตารางเลขฐาน หากเลขฐานสองนั้น
มีไม่ถึงสามหลัก ให้เติม 0 ด้านหน้าของหลักนั้น แล้วจึงนาค่าที่ได้มาเรียงต่อกัน
6. การแปลงค่าเลขฐานแปดให้เป็นเลขฐานสิบหก สามารถคานวณได้จากการบ่งเลขฐานแปดทีละหลัก
16
แปลงเลขฐานแปดให้เป็นเลขฐานสองด้วยการเปรียบเทียบจากตารางเลขฐาน แล้วนาเลขฐานสองที่ได้แปลง
ให้เป็น เลขฐานสิบหกอีกครั้งหนึ่ง
7. การแปลงค่าเลขฐานสิบหกให้เป็นเลขฐานสอง สามารถคานวณได้จากการแบ่งเลขฐานสิบหกทีละหลัก
แปลงเลขฐานสิบหกให้เป็นเลขฐานสองสี่หลักด้วยการเปรียบเทียบจากตารางเลขฐาน หากเลขฐานสองนั้น
มีไม่ถึงสี่หลัก ให้เติม 0 ด้านหน้าของหลักนั้นแล้วจึงนาค่าที่ได้มาเรียงต่อกัน
8. การแปลงเลขฐานสิบหกให้เป็นเลขฐานแปด สามารถคานวณได้จากการแปลงเลขฐานสิบหกให้เป็น
เลขฐานสอง แล้วแปลงจากเลขฐานสองให้เป็นเลขฐานแปดอีกครั้งหนึ่ง
สาระน่ารู้เกี่ยวกับการแปลงค่าเลขฐาน
การแปลงเลขฐานที่เป็นตัวเลขที่มีหลักเดียวสามารถนามาเทียบกับตารางเลขฐานได้ โดยไม่
ต้องคานวณค่าใหม่
เนื่องจากตารางเลขฐานเกิดจากการเรียงลาดับเลขของเลขฐานนั้น ๆ ซึ่งจะมีผลลัพธ์เท่ากับการคานวณ
(หวังทอง, 2557)
17
บรรณานุกรม
http://jaratphim.blogspot.com/. (2559, กรกฎาคม 20). โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง วัยรุ่นไทยห่างไกลยาเสพติด.
Retrieved กุมภาพันธ์ 20, 2560, from โครงงานคอมพิวเตอร์.
http://jaratphim.blogspot.com/2016/07/blog-post.html. (วันพุธที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2559). โครงงาน
คอมพิวเตอร์เรื่อง วัยรุ่นไทยห่างไกลยาเสพติด. Retrieved from โครงงานคอมพิวเตอร์.
โครงงานคอมพิวเตอร์. (2560). กาญจนบุรี: เรวัต สวัสดิ์กิตติ.
วสุวัติ, ม. (4 เมษายน พ.ศ. 2556). การทางานของคอมพิวเตอร์ . กาญจนบุรี: กาญจนบุรี:โรงเรียน มงฟอร์ตวิทยาลัย.
หวังทอง, ค. (2557). คอมพิวเตอร์กับการแปลงค่าเลขฐาน. กาญจนบุรี: กาญจนบุรี:โรงเรียนสตรีวัดระฆัง.

More Related Content

What's hot

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ Por Oraya
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีKhunakon Thanatee
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่Thunrada Sukkaseam
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมScott Tape
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3Nattipong Siangyen
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordpeter dontoom
 

What's hot (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 

Similar to เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28babiesawalee
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)pimmeesri
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1Siriporn Roddam
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnitszy151
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตpatchu0625
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
รายงาน 4 2
รายงาน 4 2รายงาน 4 2
รายงาน 4 2Varid Tunyamat
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์Wannapaainto8522
 
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์SoawakonJujailum
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2Budsaya Chairat
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27sawalee kongyuen
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์delloov
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองกนกศักดิ์ บัวทอง
 

Similar to เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น (20)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน[1]
รายงาน[1]รายงาน[1]
รายงาน[1]
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน 4 2
รายงาน 4 2รายงาน 4 2
รายงาน 4 2
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 

More from พัน พัน

เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนพัน พัน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนพัน พัน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนพัน พัน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษพัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษ
 

เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

  • 1. รายงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์เบื้องต้น จัดทาโดย นายเรวัต สวัสดิ์กิตติ เลขที่12 ม.5/3 เสนอ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 2. ก คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการจัดการระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลด้วยธุรกิจด้วย คอมพิวเตอร์เพื่อศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานในระบบเรือข่ายเห็นคุณค่าในเรื่องการสื่อสารข้อมูลบนระบบเครือข่ายและ การศึกษาเกี่ยวกับมาตรฐานการสื่อสารข้อมูล โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โปรโตคอล ระบบ เครือข่ายบนอินเตอร์เน็ต หากรายงานฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใดทางผู้จัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย นายเรวัต สวัสดิ์กิตติ
  • 3. ข สารบัญ คำนำ.........................................................................................................................................................ก สำรบัญตำรำง.............................................................................................................................................ค ประวัติของกำรคำนวณโดยใช้คอมพิวเตอร์ .......................................................................................................1 ประเภทของคอมพิวเตอร์...........................................................................................................................2 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) ..................................................................................................2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer).....................................................................................3 มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer).........................................................................................................3 ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC).........................................3 กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ ...........................................................................................................................5 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์........................................................................................................................6 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์.......................................................................................6 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ.......................................................................................................7 คอมพิวเตอร์กับกำรแปลงค่ำเลขฐำน............................................................................................................. 12 คอมพิวเตอร์กับเลขฐำน.......................................................................................................................... 12 ระบบเลขฐำน 2 (Binary Number System)......................................................................................... 13 ระบบเลขฐำน 8 (Octal Number System) .......................................................................................... 13 ระบบเลขฐำน 10 (Decimal Number System).................................................................................... 13 ตำรำงกำรแปลงเลขระหว่ำงระบบเลขฐำน...................................................................................................... 14 กำรแปลงค่ำเลขฐำน................................................................................................................................... 15 กำรคำนวณ.......................................................................................................................................... 15 1. กำรแปลงค่ำเลขฐำนสิบให้เป็นเลขฐำนสอง ฐำนแปด.......................................................................... 15 2. กำรแปลงเลขฐำนสอง ฐำนแปด...................................................................................................... 15 3. กำรแปลงค่ำเลขฐำนสองให้เป็นเลขฐำนแปด....................................................................................... 15 4. กำรแปลงค่ำเลขฐำนสองให้เป็นเลขฐำนสิบหก..................................................................................... 15
  • 4. ค 5. กำรแปลงค่ำเลขฐำนแปดให้เป็นเลขฐำนสอง....................................................................................... 15 7. กำรแปลงค่ำเลขฐำนสิบหกให้เป็นเลขฐำนสอง..................................................................................... 16 8. กำรแปลงเลขฐำนสิบหกให้เป็นเลขฐำนแปด........................................................................................ 16 สำระน่ำรู้เกี่ยวกับกำรแปลงค่ำเลขฐำน........................................................................................................... 16 บรรณานุกรม ............................................................................................................................................ 17 สารบัญรูปภาพ รูปภำพที่ 1 ขั้นตอนกำรทำงำน......................................................................................................................5 รูปภำพที่ 2จอภำพ......................................................................................................................................7 รูปภำพที่ 3 เคส (case)................................................................................................................................8 รูปภำพที่ 4พำวเวอร์ซัพพลำย (Power Supply) ..............................................................................................8 รูปภำพที่ 5 คีย์บอร์ดหรือแป้นพิมพ์ (Keyboard)...............................................................................................9 รูปภำพที่ 6ฮำร์ดดิสก์ (Harddisk)...................................................................................................................9 รูปภำพที่ 7เมนบอร์ด (Main board)............................................................................................................. 10 รูปภำพที่ 8ซีพียู (CPU)................................................................................................................................ 10 รูปภำพที่ 9กำร์ดแสดงผล (Display Card)..................................................................................................... 10 รูปภำพที่ 10 เมำส์ (Mouse) ........................................................................................................................ 11 รูปภำพที่ 11 แรม (RAM)........................................................................................................................... 11 รูปภำพที่ 12CD Drive / DVD Drive / CD-RW Drive / DVD-RW Drive ........................................................ 12 สารบัญตาราง ตำรำงที่ 1ขั้นตอนกำรทำงำน..........................................................................................................................6 ตำรำงที่ 2ตำรำงกำรแปลงเลขระหว่ำงระบบเลขฐำน ........................................................................................ 14
  • 5. ประวัติของการคานวณโดยใช้คอมพิวเตอร์ มีการบันทึกไว้ว่า ครั้งแรกที่มีการใช้คาว่า "คอมพิวเตอร์" คือเมื่อ ค.ศ. 1613 ซึ่งหมายถึงบุคคลที่ทาหน้าที่ คาดการณ์ หรือคิดคานวณ และมีความหมายเช่นนี้เรื่อยมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 และตั้งแต่ปลาย คริสต์ศตวรรษที่ 19 มา ความหมายของคาว่าคอมพิวเตอร์นี้เริ่มมีใช้กับเครื่องจักรที่ทาหน้าที่คิดคานวณมาก ขึ้น คอมพิวเตอร์ยุคแรกที่มีฟังก์ชันจากัด ประวัติของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่นั้นเริ่มต้นจากเทคโนโลยีสองชนิดที่แตกต่างกัน ได้แก่ การคานวณโดย อัตโนมัติ กับการคานวณที่สามารถโปรแกรมได้ (หมายถึงสร้างวิธีการทางานและปรับแต่งได้) แต่ระบุแน่ ชัดไม่ได้ว่าเทคโนโลยีชนิดใดเกิดขึ้นก่อน ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการคานวณแต่ละชนิดนั้นไม่มีความ สอดคล้องกัน อุปกรณ์บางชนิดก็มีความสาคัญที่จะเอ่ยถึง อย่างเช่นเครื่องมือเชิงกลเพื่อการคานวณบางชนิด ที่ประสบความสาเร็จและยังใช้กันอยู่หลายศตวรรษก่อนที่จะมีเครื่องคิดเลขอิเล็กทรอนิกส์ อาทิลูกคิดของ ชาวสุเมเรียนที่ถูกออกแบบขึ้นราว 2,500 ปีก่อนคริสตกาล[6] ชนะการแข่งขันความเร็วในการคานวณต่อ เครื่องคานวณตั้งโต๊ะเมื่อ ค.ศ. 1946 ที่ประเทศญี่ปุ่น[7] ต่อมาในคริสต์ทศวรรษ 1620 มีการประดิษฐ์สไลด์ รูล ซึ่งถูกนาขึ้นยานอวกาศในภารกิจของโครงการอะพอลโลถึง 5 ครั้ง รวมถึงเมื่อครั้งที่สารวจดวงจันทร์ ด้วย[8] นอกจากนี้ยังมี เครื่องทานายตาแหน่งดาวฤกษ์ (Astrolabe) และ กลไกอันติคือเธรา ซึ่งเป็นเครื่อง คานวณ (คอมพิวเตอร์) เกี่ยวกับดาราศาสตร์ยุคโบราณที่ชาวกรีกเป็นผู้สร้างขึ้นราว 80 ปีก่อนคริสตกาล[9] ที่มาของระบบการสั่งการโปรแกรมเกิดขึ้นเมื่อ ฮีโรแห่งอเล็กซานเดรีย (c.10-70 AD) นักคณิตศาสตร์ชาว กรีกสร้างโรงละครที่ประกอบด้วยเครื่องจักร ใช้แสดงละครความยาว 10 นาที และทางานโดยมีกลไกเชือก และอิฐบล็อกทรงกระบอกที่ซับซ้อน ซึ่งสามารถตัดสินใจเลือกได้ว่าจะชิ้นส่วนกลไกใดใช้ในการแสดงฉาก ใดและเมื่อไร ราว ๆ ปลายศตวรรษที่ 10 สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2 นักบวชชาวฝรั่งเศส ได้นาลิ้นชักบรรจุ อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่จะตอบคาถามได้ว่าใช่ หรือ ไม่ใช่ เมื่อถูกถามคาถาม (ด้วยเลขฐานสอง) [11] ซึ่งชาวมัวร์ ประดิษฐ์ไว้กลับมาจากประเทศสเปน ในศตวรรษที่ 13 นักบุญอัลแบร์ตุส มาญุส และโรเจอร์ เบคอน นักปราชญ์ชาวอังกฤษ ได้สร้างหุ่นยนต์แอนดรอยด์ (android) พูดได้โดยไม่ได้พัฒนาใด ๆ ต่ออีก (นักบุญอัลแบร์ตุส มาญุส บ่นออกมาว่าเขาเสียเวลาเปล่าไป 40 ปีในชีวิต เมื่อนักบุญโทมัส อควีนาสตกใจกับ เครื่องนี้และได้ทาลายมันเสีย) [12]
  • 6. 2 ในปี ค.ศ. 1642 แห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา มีการประดิษฐ์เครื่องคานวณของปาสคาลซึ่งเป็นเครื่องคานวณ ตัวเลขเชิงกล[13] เป็นอุปกรณ์ที่จะสามารถคานวณโดยใช้ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์โดยไม่ต้องพึ่ง สติปัญญามนุษย์[14] เครื่องคานวณเชิงกลนี้ยังถือเป็นรากฐานของการพัฒนาคอมพิวเตอร์ในสองทาง แรกเริ่มนั้น ความพยายามที่จะพัฒนาเครื่องคานวณที่มีสมรรถภาพสูงและยืดหยุ่น[15] ซึ่งทฤษฎีนี้ถูกสร้าง โดยชาร์ลส แบบเบจ[16][17] และได้รับการพัฒนาในเวลาต่อมา[18] นาไปสู่การพัฒนา เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1960 และในขณะเดียวกัน อินเทล ก็ สามารถประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งถือเป็นจุดกาเนิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล และเป็นหัวใจสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์หากไม่คานึงถึงขนาดและวัตถุประสงค์[19] ขึ้นได้โดย บังเอิญ[20] ระหว่างการพัฒนาเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ บิซิคอม ที่พัฒนาสืบต่อจากเครื่องคานวณเชิงกล โดยตรง ประเภทของคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้ใช้วงจรเบ็ดเสร็จขนาดใหญ่มาก (very large scale integrated circuit) ซึ่งสามารถ บรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่าสิบล้านตัว เราสามารถแบ่งคอมพิวเตอร์ในรุ่นปัจจุบันออกเป็น 4 ประเภท ดังต่อไปนี้ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วมาก และมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับ คอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีราคาแพงมาก มีขนาดใหญ่ สามารถคานวณทาง คณิตศาสตร์ได้หลายแสนล้านครั้งต่อวินาที และได้รับการออกแบบ เพื่อให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากทาง วิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมศาสตร์ได้อย่างรวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน การศึกษาผลกระทบของมลพิษกับสภาวะแวดล้อมซึ่งหากใช้คอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ แก้ไขปัญหาประเภทนี้ อาจจะต้องใช้เวลาในการคานวณหลายปีกว่าจะเสร็จสิ้น ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขปัญหา ได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น เนื่องจากการแก้ปัญหาใหญ่ ๆ จะต้องใช้หน่วยความจาสูง ดังนั้น ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์จึงมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ตั้งแต่รุ่นที่มีหน่วย ประมวลผล (processing unit) 1 หน่วย จนถึงรุ่นที่มีหน่วยประมวลผลหลายหมื่นหน่วยซึ่งสามารถทางาน หลายอย่างได้พร้อม ๆ กัน
  • 7. 3 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีสมรรถภาพที่ต่ากว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาก แต่ยังมีความเร็วสูง และมี ประสิทธิภาพสูงกว่ามินิคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้ จานวนหลายร้อยคนพร้อม ๆ กัน ฉะนั้น จึงสามารถใช้โปรแกรมจานวนนับร้อยแบบในเวลาเดียวกันได้ โดยเฉพาะถ้าต่อเครื่องเข้าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถใช้ได้จากทั่วโลก ปัจจุบัน องค์กรใหญ่ ๆ เช่น ธนาคาร จะใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ในการทาบัญชีลูกค้า หรือการให้บริการจากเครื่องฝากและถอนเงิน แบบอัตโนมัติ (automatic teller machine) เนื่องจากเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ถูกใช้งานมากในการ บริการผู้ใช้พร้อม ๆ กัน เมนเฟรมคอมพิวเตอร์จึงต้องมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer) มินิคอมพิวเตอร์ คือ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ซึ่งสามารถบริการผู้ใช้งานได้หลายคนพร้อม ๆ กัน แต่จะไม่มีสมรรถภาพเพียงพอที่จะบริการผู้ใช้ในจานวนที่เทียบเท่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ จึงทาให้ มินิคอมพิวเตอร์เหมาะสาหรับองค์กรขนาดกลาง หรือสาหรับแผนกหนึ่งหรือสาขาหนึ่งขององค์กรขนาด ใหญ่เท่านั้น ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC) ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบขนาดตั้งโต๊ะ (desktop computer) หรือขนาดเล็กกว่านั้น เช่น ขนาดสมุดบันทึก (notebook computer) และขนาดฝ่ามือ (palmtop computer) ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ เริ่มมีขึ้นในปีพ.ศ. 2518 ถึงแม้ว่าในระยะหลัง เครื่องชนิดนี้จะมีประสิทธิภาพที่สูง แต่เนื่องจากมีราคาไม่แพง และมีขนาดกะทัดรัด ไมโครคอมพิวเตอร์จึงยังเหมาะสาหรับใช้ส่วนตัว ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ถูกออกแบบ สาหรับใช้ที่บ้าน โรงเรียน และสานักงานสาหรับที่บ้าน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการทา งบประมาณรายรับรายจ่ายของครอบครัวช่วยทาการบ้านของลูก ๆ การค้นคว้าข้อมูลและข่าวสาร การ สื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail หรือ E - mail) หรือโทรศัพท์ทางอินเทอร์เน็ต (internet phone) ในการติดต่อทั้งในและนอกประเทศ หรือแม้กระทั่งทางบันเทิง เช่น การเล่นเกมบนเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ สาหรับที่โรงเรียน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยสอนนักเรียนในการ ค้นคว้าข้อมูลจากทั่วโลกสาหรับที่สานักงาน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยพิมพ์จดหมาย และข้อมูลอื่น ๆ เก็บและค้นข้อมูล วิเคราะห์และทานายยอดซื้อขายล่วงหน้า โน้ตบุ๊ค (notebook or laptop)
  • 8. 4 โน้ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ถูกออกแบบไว้เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่าง ๆ มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา ในปัจจุบันมีขนาดพอ ๆ กับสมุดที่ทาด้วยกระดาษ เน็ตบุ๊ค (netbook or laptop)เน็ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คและเล็กกว่า โน้ตบุ๊ค ไม่มีไดรฟ์สาหรับอ่านและเขียนแผ่น และใช้ฮาร์ดดิสแบบ SSD ทาให้น้าหนักเบา ถูกออกแบบไว้ เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่าง ๆ มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา ปัจจุบันไม่ได้รับความนิยมอัลตร้าบุ๊ค (Ultrabook) อัลตร้าบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์และมีขนาดเท่ากับโน้ตบุ๊ค ถูกออกแบบไว้ เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่าง ๆ และน้าหนักเบากว่าโน้ตบุ๊ค และเน้นความสวยงาม ทันสมัย แปลกใหม่ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ (tablet computer) แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แท็บเล็ต คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ในขณะเคลื่อนที่ได้ ขนาดกลางและใช้หน้าจอสัมผัสในการทางานเป็นอันดับแรก มีคีย์บอร์ดเสมือนจริงหรือปากกาดิจิตอลใน การใช้งานแทนที่แป้นพิมพ์คีย์บอร์ด และมีความหมายครอบคลุมถึงโน๊คบุ๊คแบบ convertible ที่มีหน้าจอ แบบสัมผัสและมีแป้นพิมพ์คีย์บอร์ดติดมาด้วยไม่ว่าจะเป็นแบบหมุนหรือแบบสไลด์ก็ตาม [21] ตัวอย่างประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์มีประโยชน์กับเรามากมาย เช่น การใช้งานภาครัฐ งานทะเบียนราษฎร์ของรัฐบาล เช่น การแจ้งเกิด ตาย ย้ายที่อยู่ การทาบัตรประจาตัว ประชาชน งานภาษี เช่น ยื่นแบบประเมินภาษีภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต เก็บทะเบียนประวัติผู้เสียภาษี ตรวจสอบ การเสียภาษี งานสายการบิน การสารองที่นั่งผู้โดยสาร การลดงานเอกสาร ทางด้านการศึกษา สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนออนไลน์ให้กับผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล ธุรกิจการนาเข้าสินค้าและส่งออก การทาธุรกิจแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจธนาคาร ช่วยด้านงานข้อมูลธนาคาร รับ-จ่ายเงิน เก็บประวัติลูกค้า ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ การทา ธุรกรรมผ่านโทรศัพท์มือถือ
  • 9. 5 วิทยาศาสตร์และการแพทย์การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการรักษาของคนไข้วิจัย คานวณ และ การจาลอง แบบงานสถาปนิก ช่วยออกแบบ เขียนแบบ หรือทาแบบจาลองสามมิติ งานภาพยนตร์ การ์ตูน แอนิเมชัน ช่วยสร้างตัวการ์ตูนเคลื่อนไหว ออกแบบตัวการ์ตูน จาลองตัวการ์ตูนสาม มิติ การตัดต่อภาพยนตร์ งานด้านสถิติ ช่วยเก็บบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ จาลองแบบข้อมูล และการเผยแพร่ข้อมูล ด้านนันทนาการ ช่วยให้ความบันเทิง ดูหนัง ฟังเพลง ร้องคาราโอเกะ เล่นเกม การทางานของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อช่วยให้ o การทางานเอกสารที่ซ้าๆ ได้อย่างรวดเร็ว o การคานวณตัวเลข ถูกต้อง แม่นยา o สามารถเก็บข้อมูล ปรับปรุงแก้ไข ได้โดยง่าย o การจัดเก็บข้อมูลให้เป็นฐานข้อมูล แล้วสืบค้นได้ o การติดต่อสื่อสาร เพื่อสืบค้นข้อมูล เพื่อบันเทิง ขั้นตอนการทางานที่สาคัญของคอมพิวเตอร์ 4 ขั้นตอน รูปภาพที่ 1 ขั้นตอนการทางาน
  • 10. 6 ตารางที่ 1ขั้นตอนการทางาน ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ด้วยควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยีและเป็นยุคสำรสนเทศ ไม่ว่ำเรำจะทำอะไรก็สะดวกสบำยไปเสียหมด จะ ติดตำมข่ำวสำรต่ำงๆ ก็สะดวกสบำยขึ้น กำรติดต่อสื่อสำรก็ง่ำยขึ้น ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้ทุกอย่ำง นั้นสะดวกขึ้นเป็นอย่ำงมำก แม้กระทั่งกำรทำงำนของเรำก็ สะดวกขึ้น เพรำะปัจจุบันนี้ในกำรทำงำนก็มี เทคโนโลยีเข้ำมำเกี่ยวข้อง ที่เห็นง่ำยๆ เลย ก็คือ กำรนำคอมพิวเตอร์เข้ำมำใช้ในหน่วยงำน ไม่ว่ำจะเป็น หน่วยงำนรำชกำรหรือหน่วยงำนเอกชนล้วนแล้วแต่นำคอมพิวเตอร์เข้ำมำเป็นส่วนหนึ่งในกำรทำงำนทั้งนั้น แล้วรู้กันหรือไหมว่ำ คอมพิวเตอร์ที่เรำใช้กันอยู่ทุกวันนั้นมีส่วนประกอบอะไรบ้ำง และมีควำมสำคัญ อย่ำงไร วันนี้เรำมำรู้จักกับคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่เรำใช้งำน ขั้นตอนที่ การทางาน ตัวอย่างอุปกรณ์ 1. การรับข้อมูลและ คาสั่ง (Input) คอมพิวเตอร์รับข้อมูลและคาสั่งผ่าน อุปกรณ์นาเข้าข้อมูล Mouse, Keyboard, Scanner, Microphone 2. การประมวลผล หรือคิด คานวณ (Processing) ข้อมูลที่คอมพิวเตอร์รับเข้ามา จะถูก ประมวลผลโดยการทางานของ หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit) ตามคาสั่ง ของโปรแกรม หรือซอฟต์แวร์ CPU 3. การแสดง ผลลัพธ์ (Output) คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ของ ข้อมูลที่ป้อน หรือแสดงผลจากการ ประมวลผล ทางอุปกรณ์แสดงผล Monitor, Printer, Speaker 4. การเก็บ ข้อมูล (Storage) ผลลัพธ์จากการประมวลผลสามารถ เก็บไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล hard disk, floppy disk, CD-ROM
  • 11. 7 กันอยู่ดีกว่ำ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์หลักๆรู้กันมั้ยว่ำส่วนประกอบของ คอมพิวเตอร์มีอะไรบ้ำง คอมพิวเตอร์นั้นมีส่วนประกอบหลักๆ อยู่ 4 ส่วนด้วยกัน เริ่มจำก 1. โปรเซสเซอร์ (Processor) นั่นก็คือหน่วยประผลกลางหรือที่รู้จักกันในนามของซีพียู (CPU) นั่นเอง หรือ เรียกว่าซิป ซึ่งส่วนนี้มีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะว่ามีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ ป้อนเข้ามา ซึ่งซีพียูนั้นมีรุ่นต่างๆ ออกมาวางขายตามท้องตลาดมากมาย ซึ่งแต่ละรุ่นก็ราคาแตกต่างกัน ออกไป 2. หน่วยความจา (Memory) หรือ RAM นั่นเอง ซึ่ง RAM นั้นเป็นหน่วยความจาหลักที่จาเป็นในการเก็บ ข้อมูลต่างๆ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าหน่วยความจาสารองนั่นเอง ก็คือจะเก็บข้อมูลชั่วคราว ซึ่ง หน่วยความจาแรมจะทาหน้าที่เก็บชุดคาสั่งและข้อมูลที่ระบบคอมพิวเตอร์กาลังทางานอยู่ด้วย 3. ส่วนอินพุต/เอาต์พุต (Input/Output) ก็คืออุปกรณ์ที่ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถสัมผัสและรับรู้สิ่งต่าง ๆ เช่น เครื่องอ่านบัตร คีย์บอร์ด เมาส์ สแกนเนอร์ และอุปกรณ์ Output ก็ได้แก่พวก เครื่องพิมพ์ จอภาพ 4. สื่อจัดเก็บข้อมูล (Storage) นั่นก็คือสื่อที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ รูปภาพที่ 2จอภาพ จอภาพ หรือ monitor เป็นอุปกรณ์การแสดงผลที่สาคัญที่สุด จะเป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง เพราะเรา สามารถมองเห็นข้อมูลที่ที่แสดงผลได้โดยผ่านจอภาพของเรา จอภาพของคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ
  • 12. 8 คือจอแบบซีอาร์ที และจอแบบแอลซีดี ซึ่งจอภาพ 2 แบบนี้มีลักษณะที่แตกต่างกันในเรื่องของรูปแบบ นั้นก็ คือจอแบบซีอาร์ที (CRT) ส่วนใหญ่เป็นจอภาพที่นิยมใช้สาหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ มีขนาดใหญ่คล้าย โทรทัศน์ เมื่อก่อนได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แต่เมื่อจอภาพแบบแอลซีดี (LCD) เข้ามาแทน จอภาพแบบ ซีอาร์ทีก็เริ่มมีน้อยลงจนในปัจจุบันนี้เราแทบไม่เห็นร้านขายคอมพิวเตอร์มีจอแบบนี้วางขายอีกแล้ว ส่วน จอภาพแบบแอลซีดีนั้นมีทั้งแบบที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและในแบบของโน๊ตบุ๊ค เนื่องจากเป็นจอภาพที่ มีขนาดรูปร่างที่บางทาให้สะดวกสาหรับการพกพาไปไหนมาไหน แต่จอภาพแบบแอลซีดีนี้ก็มีราคาที่แพง กว่าจอภาพแบบซีอาร์ที รูปภาพที่ 3 เคส (case) เคส (case) คือ กล่องหรือโครงสร้ำงสำหรับเก็บประกอบอุปกรณ์ต่ำงๆ คอมพิวเตอร์ไว้ภำยในนั้น ซึ่งขนำดของเคสก็จะ แตกต่ำงกันออกไป แล้วแต่กำรใช้งำนหรือควำมเหมำะสมในกำรใช้งำนของแต่ละคนรวมทั้งสถำนที่เก็บอุปกรณ์เหล่ำนั้น ด้วยว่ำมีขนำดพื้นที่มำกน้อยเพียงใด และในตัวเคสก็จะมีในส่วนของพำวเวอร์ซัพพลำยติดมำด้วย รูปภาพที่ 4พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply)
  • 13. 9 พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวงเยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือก พาวเวอร์ซัพพลายที่มีจานวนวัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแสไฟได้เพียงพอต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ รูปภาพที่ 5 คีย์บอร์ดหรือแป้นพิมพ์ (Keyboard) คีย์บอร์ดหรือแป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมี เนื่องจากตัว คีย์บอร์ดใช้สาหรับการพิมพ์หรือป้อมข้อมูลต่างลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ ในตัวคีย์บอร์ดจะมีทั้งที่เป็น ตัวอักษรที่เป็นภาษาหลักของแต่ละประเทศรวมทั้งภาษาหลักอย่างภาษาอังกฤษอยู่ด้วย และยังมีข้อมูลทั้งตัว เลขและฟังก์ชันต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับการใช้งานและอื่นๆ อีก เพื่อใช้สาหรับลงข้อมูลในตัวเครื่องของเรา โดยส่วนใหญ่แล้วคีย์บอร์ดมีลักษณะที่เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือมีลักษณะที่ใกล้เคียงกัน แต่ในปัจจุบันก็อาจมี ลักษณะที่แตกต่างกันออกไป แล้วแต่ความคิดสร้างสรรค์ของคนออกแบบนั้นเอง รูปภาพที่ 6ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับบันทึกข้อมูลหรือเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ และเป็น อุปกรณ์ที่ติดมาพร้อมกันกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งตัวฮาร์ดดิสก์จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมและมี แผงวงจรสาหรับควบคุมการทางานอยู่ด้านล่างและช่องสาหรับเสียบสายไฟเลี้ยงและสายสัญญาณต่างๆ โดย ที่ส่วนประกอบภายในจะปิดไว้อย่างมิดชิดเพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น
  • 14. 10 รูปภาพที่ 7เมนบอร์ด (Main board) เมนบอร์ด (Main board) เป็นแผ่นวงจรไฟฟ้าแผ่นใหญ่ที่รวมเอาชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญๆ ไว้ ด้วยกัน ซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุม การทางานของ อุปกรณ์ต่างๆ ภายในพีชีทั้งหมด รูปภาพที่ 8ซีพียู (CPU) ซีพียู (CPU) มีหน้าที่ในการประมวลผลหรือเรียกว่าโปรเซสเซอร์หรือชิป เป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมาก เนื่องจากมีหน้าที่ในการประมวลผลจากการป้อนข้อมูลลงไป รูปภาพที่ 9การ์ดแสดงผล (Display Card) การ์ดแสดงผล (Display Card) หลักการทางานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้น เมื่อโปรแกรมต่างๆ ส่งข้อมูลมาประมวลผลที่ ซีพียูเมื่อซีพียูประมวลผล เสร็จแล้ว ก็จะส่งข้อมูลที่จะนามาแสดงผลบนจอภาพมา
  • 15. 11 ที่การ์ดแสดงผล จากนั้น การ์ดแสดงผล ก็จะส่งข้อมูลนี้มาที่จอภาพ ตามข้อมูลที่ได้รับมา การ์ดแสดงผลรุ่น ใหม่ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่ ก็จะมีวงจร ในการเร่งความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติ และมีหน่วยความจามา ให้มากพอสมควร โดยที่การ์ดบางรุ่นสามารถประมวลผลได้ในตัวการ์ด ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระการประมวลผลให้ซีพียู จึงทา ให้การทางานของคอมพิวเตอร์นั้นเร็วขึ้นด้วย ซึ่งตัวการ์ดแสดงผลนั้นจะมีหน่วยความจาในตัวของมันเอง ถ้า ตัวการ์ดมีหน่วยความจามาก ก็จะรับข้อมูลจากซีพียูได้มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพมี ความเร็วสูงขึ้นด้วย รูปภาพที่ 10 เมาส์ (Mouse) เมาส์ (Mouse) จะเป็นอุปกรณ์ที่ให้ความรู้สึกที่ดีต่อการใช้งาน ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์ เลื่อนตัวชี้ไปยังตาแหน่งต่าง ๆ บนจอภาพ หรือเรียกง่ายๆ ว่าตัวชี้ตาแหน่งนั่นเอง ในขณะที่สายตาจับอยู่ที่ จอภาพก็สามารถใช้มือลากเมาส์ไปมาได้ระยะทางและทิศตจะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทางเดียวกับการ เลื่อนเมาส์เมาส์แบ่งได้เป็นสองแบบคือ แบบทางกลและแบบใช้แสง แบบทางกลเป็นแบบที่ใช้ลูกกลิ้งกลม ที่มีน้าหนักและแรงเสียดทานพอดี เมื่อเลื่อนเมาส์ไปในทิศทางใดจะทาให้ลูกกลิ้งเคลื่อนไปมาในทิศทางนั้น แต่ในปัจจุบันเมาส์แบบลูกกลิ้งไม่ค่อยนิยมนามาใช้กันแล้ว รูปภาพที่ 11 แรม (RAM) แรม (RAM)
  • 16. 12 เป็นหน่วยความจาของระบบ มีหน้าที่รับข้อมูลเพื่อส่งไปให้ CPU ประมวลผล แรมเป็นหน่วยความจาหลัก ของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเก็บข้อมูลเมื่อมีกระแสไฟหล่อเลี้ยงเท่านั้น โดยถ้าเกิดไฟฟ้ากระพริบหรือดับ ข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ในหน่วยความจาจะหายไปทันที รูปภาพที่ 12CD Drive / DVD Drive / CD-RW Drive / DVD-RW Drive CD Drive / DVD Drive / CD-RW Drive / DVD-RW Drive เป็นไดรฟ์ สาหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอม หรือดีวีดีรอม ซึ่งถ้าหากต้องการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นจะต้องใช้ไดรฟ์ที่สามารถเขียนแผ่นได้ เมื่อไดรฟ์ซีดีรอมเริ่มทางานมอเตอร์จะเริ่มหมุนด้วยความเร็ว หลายค่า ทั้งนี้เพื่อให้อัตราเร็วในการอ่านข้อมูล จากซีดีรอมคงที่สม่าเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกหรือวงในก็ตาม จากนั้นแสง เลเซอร์จะฉายลงซีดีรอม โดยลาแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตาแหน่งได้โดยการทางานของขดลวด ลาแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปที่ซีดีรอมแล้วถูกสะท้อนกลับCD-ROM / DVD-ROM ภายในซีดีรอม หรือดีวีดี รอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่เซ็กเตอร์ในซีดีรอม หรือดีวีดีรอมจะมีขนาด เท่ากัน ทุกเซ็กเตอร์ ทาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น (วสุวัติ, 4 เมษายน พ.ศ. 2556) คอมพิวเตอร์กับการแปลงค่าเลขฐาน คอมพิวเตอร์กับเลขฐาน ระบบเลขฐานที่มีความเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ คือ ช่วยในเรื่องการจัดการระบบดิจิตอลหรือระบบ อิเล็กทรอนิกส์ใน คอมพิวเตอร์ หรือแทนรหัสข้อมูลในระบบ BCD, EBCDIC, ASCII โดยส่วนใหญ่ระบบ เลขฐานที่ใช้ในคอมพิวเตอร์เป็น ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขฐานแปดและระบบเลขฐานสิบหก โดยจะต้อง มีการนาระบบเลขฐานดังกล่าวมาคานวณผลด้วย ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ ตลอดจนกระทั่งการเปลี่ยน ระบบเลขฐาน เพื่อให้มนุษย์เกิดความเข้าใจระบบการทางานของ คอมพิวเตอร์ซึ่งในการประมวลผลข้อมูล
  • 17. 13 ด้วยคอมพิวเตอร์นั้นข้อมูลต่าง ๆ จะถูกนาเข้าเป็นลาดับของบิต(Bit) หรือเลขฐานสองก่อน เช่น 110100110110 110101100110 110110110110 ระบบเลขฐาน ระบบเลขฐานประกอบด้วยเลขฐาน 2 เลขฐาน 8 เลขฐาน 10 เลขฐาน 16 ระบบเลขฐาน 2 (Binary Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 2 ตัว ได้แก่เลข 0 กับ เลข 1 ซึ่งเป็นเลขฐานที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ง่าย เพราะว่าอุปกรณ์ทางไฟฟ้าก็มีสถานะเพียง 2 สถานะ คือ เปิด กับ ปิด ซึ่งก็เทียบได้กับ 0 กับ 1 แต่ถ้าใช้เลขฐาน 10 ในคอมพิวเตอร์อาจจะเกิดปัญหาอย่างอื่นตามมา หรือแม้แต่อุปกรณ์ทางไฟฟ้า ก็ต้องแบ่งสถานะออกเป็น 10 สถานะ ซึ่งไม่เป็นที่นิยมนัก การเก็บข้อมูลใน ระบบของคอมพิวเตอร์ก็จะจัดเก็บเป็นกลุ่มตัวเลขฐานสองหลายบิต ขึ้นอยู่กับขนาดของสิ่งที่ต้องการเก็บ และหน่วยความจาที่ใช้ ระบบเลขฐาน 8 (Octal Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 8 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ซึ่งเป็นเลขฐานที่เพิ่มเนื้อที่หน่วยความจาในการเก็บให้มากขึ้น การเก็บข้อมูลเป็นเลขฐาน 8 จะทาให้เก็บข้อมูลได้มากขึ้น ระบบเลขฐาน 10 (Decimal Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยตัวเลข 10 ตัว ซึ่ง ประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ซึ่งระบบเลขฐาน 10 เป็นระบบเลขฐานที่คนทั่วไปสามารถเข้าใจ ได้เป็นอย่างดี เพราะเป็นตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันซึ่งใช้มาตลอด สามารถจาได้และคานวณได้ง่าย กว่าเลขฐานอื่น ๆระบบเลขฐาน 16 (Hexadecimal Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยตัวเลข 10 ตัวและตัวอักษรแทนตัวเลขอีก 6 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 และตัวอักษร ภาษาอังกฤษแทน 10 ถึง 15 ได้แก่ A, B, C, D, E, F ซึ่งก็จะเก็บข้อมูลได้มากกว่าระบบเลขฐาน 2 ฐาน 8
  • 18. 14 ตารางการแปลงเลขระหว่างระบบเลขฐาน เลขฐาน2 เลขฐาน8 เลขฐาน10 เลขฐาน 16 0 0 0 0 1 1 1 1 10 2 2 2 11 3 3 3 100 4 4 4 101 5 5 5 110 6 6 6 111 7 7 7 1000 10 8 8 1001 11 9 9 1010 12 10 A 1011 13 11 B 1100 14 12 C 1101 15 13 D 1110 16 14 E 1111 17 15 F ตารางที่ 2ตารางการแปลงเลขระหว่างระบบเลขฐาน
  • 19. 15 การแปลงค่าเลขฐาน การแปลงเลขฐานใดๆ เป็น ฐาน 10 การแปลงเลขฐาน 10 เป็น ฐานใดๆ การแปลงเลขฐาน 2 เป็น ฐาน 8 ฐาน 16 การแปลงเลขฐาน 8 ฐาน 16 เป็น ฐาน 2 การคานวณ 1. การแปลงค่าเลขฐานสิบให้เป็นเลขฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหก สามารถคานวณได้จาก การหารสั้นด้วยเลขฐานที่ต้องการแปลงค่า แล้วนาผลลัพธ์และเศษที่ได้มาเรียงต่อกันจากล่างขึ้นบน 2. การแปลงเลขฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหกให้เป็นเลขฐานสิบ สามารถคานวณได้จากการนาเลข ฐานที่ต้องการแปลงในหลักนั้นมาคูณกับค่าประจาหลักของฐาน แล้วนาแต่ละหลักมารวมกัน 3. การแปลงค่าเลขฐานสองให้เป็นเลขฐานแปด สามารถคานวณได้จากการแบ่งกลุ่มเลขฐานสอง กลุ่มละ สามหลัก จากด้านขวาไปด้านซ้ายแล้วแปลงเลขฐานสองแต่ละกลุ่มให้เป็นเลขฐานสิบ จากนั้นจึงนาตัวเลข ที่ได้มาเรียงต่อกัน ซึ่งการแปลงเลขฐานสองให้เป็นเลขฐานสิบนั้นสามารถคานวณได้จากข้อ 2 หรือเทียบ จาก ตารางเลขฐาน 4. การแปลงค่าเลขฐานสองให้เป็นเลขฐานสิบหก สามารถคานวณได้จากการแบ่งกลุ่มเลขฐานสอง กลุ่มละสี่หลักจากด้านขวาไปด้านซ้าย แล้วแปลงเลขฐานสองแต่ละกลุ่มให้เป็นเลขฐานสิบ จากนั้นนา ตัวเลขที่ได้มาเรียงต่อกัน 5. การแปลงค่าเลขฐานแปดให้เป็นเลขฐานสอง สามารถคานวณได้จากการแบ่งเลขฐานแปดทีละหลัก แปลงเลขฐานแปดให้เป็นเลขฐานสองสามหลักด้วยการเปรียบเทียบจากตารางเลขฐาน หากเลขฐานสองนั้น มีไม่ถึงสามหลัก ให้เติม 0 ด้านหน้าของหลักนั้น แล้วจึงนาค่าที่ได้มาเรียงต่อกัน 6. การแปลงค่าเลขฐานแปดให้เป็นเลขฐานสิบหก สามารถคานวณได้จากการบ่งเลขฐานแปดทีละหลัก
  • 20. 16 แปลงเลขฐานแปดให้เป็นเลขฐานสองด้วยการเปรียบเทียบจากตารางเลขฐาน แล้วนาเลขฐานสองที่ได้แปลง ให้เป็น เลขฐานสิบหกอีกครั้งหนึ่ง 7. การแปลงค่าเลขฐานสิบหกให้เป็นเลขฐานสอง สามารถคานวณได้จากการแบ่งเลขฐานสิบหกทีละหลัก แปลงเลขฐานสิบหกให้เป็นเลขฐานสองสี่หลักด้วยการเปรียบเทียบจากตารางเลขฐาน หากเลขฐานสองนั้น มีไม่ถึงสี่หลัก ให้เติม 0 ด้านหน้าของหลักนั้นแล้วจึงนาค่าที่ได้มาเรียงต่อกัน 8. การแปลงเลขฐานสิบหกให้เป็นเลขฐานแปด สามารถคานวณได้จากการแปลงเลขฐานสิบหกให้เป็น เลขฐานสอง แล้วแปลงจากเลขฐานสองให้เป็นเลขฐานแปดอีกครั้งหนึ่ง สาระน่ารู้เกี่ยวกับการแปลงค่าเลขฐาน การแปลงเลขฐานที่เป็นตัวเลขที่มีหลักเดียวสามารถนามาเทียบกับตารางเลขฐานได้ โดยไม่ ต้องคานวณค่าใหม่ เนื่องจากตารางเลขฐานเกิดจากการเรียงลาดับเลขของเลขฐานนั้น ๆ ซึ่งจะมีผลลัพธ์เท่ากับการคานวณ (หวังทอง, 2557)
  • 21. 17 บรรณานุกรม http://jaratphim.blogspot.com/. (2559, กรกฎาคม 20). โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง วัยรุ่นไทยห่างไกลยาเสพติด. Retrieved กุมภาพันธ์ 20, 2560, from โครงงานคอมพิวเตอร์. http://jaratphim.blogspot.com/2016/07/blog-post.html. (วันพุธที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2559). โครงงาน คอมพิวเตอร์เรื่อง วัยรุ่นไทยห่างไกลยาเสพติด. Retrieved from โครงงานคอมพิวเตอร์. โครงงานคอมพิวเตอร์. (2560). กาญจนบุรี: เรวัต สวัสดิ์กิตติ. วสุวัติ, ม. (4 เมษายน พ.ศ. 2556). การทางานของคอมพิวเตอร์ . กาญจนบุรี: กาญจนบุรี:โรงเรียน มงฟอร์ตวิทยาลัย. หวังทอง, ค. (2557). คอมพิวเตอร์กับการแปลงค่าเลขฐาน. กาญจนบุรี: กาญจนบุรี:โรงเรียนสตรีวัดระฆัง.