SlideShare a Scribd company logo
ความหมายของวิทยาศาสตร์
      คาว่า วิทยาศาสตร์ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า "Science" ซึ่ งมาจากศัพท์ภาษาลาตินว่า "Scientia" แปลว่า ความรู ้
(Knowledge) ได้มีผให้ความหมายไว้หลากหลายดังนี้
                           ู้
                                                                                           ่
      ผดุงยศ ดวงมาลา (2523 : 1) กล่าวว่า ถ้าจะให้นิยามความหมายของวิทยาศาสตร์ วา "ความรู้" ตามความหมายที่
แปลมาจากภาษาลาติน ดูเหมือนว่าจะมีความหมายที่ส้ ันและแคบจนเกินไป เพราะธรรมชาติหรื อแก่นสารที่แท้จริ ง
ของวิทยาศาสตร์ น้ นไม่ได้หมายถึงความรู ้เนื้ อหาวิทยาศาสตร์ แต่เพียงอย่างเดียว แต่หมายถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์
                       ั
และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ดวย ซึ่ งหมายความว่าในการเรี ยนวิทยาศาสตร์ น้ นผูเ้ รี ยนจะต้องได้ท้ งตัวความรู ้
                                    ้                                          ั                    ั
วิทยาศาสตร์ วิธีการ และเจตคติวทยาศาสตร์ ไปพร้อม ๆ กัน
                                      ิ
      พัชราภรณ์ พสุ วต (2522 : 3) อธิ บายว่า วิทยาศาสตร์ คือ วิชาที่มีเนื้อหาสาระซึ่ งเป็ นเรื่ องราวของสิ่ งแวดล้อม
                              ั
ปรากฎการณ์ธรรมชาติ ซึ่งมนุษย์ได้รวบรวมความจริ ง (facts) เหล่านั้นเพื่อนามาประมวลเป็ นความรู ้ (knowledge)
และตั้งเป็ นกฎเกณฑ์ (principles) ขึ้น
                                                                             ่
      ชานาญ เชาวกีรติพงศ์ . (2534 : 5) ได้ให้ความหมายของวิทยาศาสตร์ วาหมายถึง ความรู้ที่แสดงหรื อพิสูจน์ได้
ว่าถูกต้องเป็ นความจริ ง จัดไว้เป็ นหมวดหมู่ มีระเบียบและขั้นตอน สรุ ปได้เป็ นกฎเกณฑ์สากล เป็ นความรู้ที่ได้มา
โดยวิธีการที่เริ่ มต้นด้วยการสังเกต และ/หรื อ การจัดที่เป็ นระเบียบมีข้ นตอน และปราศจากอคติ ซึ่ งสอดคล้องกับ
                                                                        ั
การให้ความหมายของ The Columbia Encyclopedia (อ้างถึงใน สมจิต สวธนไพบูลย์ 2535 : 93) ซึ่ งอธิ บายว่า
วิทยาศาสตร์ เป็ นการรวบรวมความรู ้อย่างมีระบบ ความรู ้ที่ได้รวบรวมไว้น้ ี เป็ นความรู ้เกี่ยวกับปรากฏการณ์
ธรรมชาติ ความเจริ ญก้าวหน้าทาง วิทยาศาสตร์ ที่เกิดขึ้นนั้น มิได้หมายถึงเฉพาะการรวบรวมข้อเท็จจริ งเพียงสภาพ
พลวัต หรื อมีการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาและตามสภาพการกระตุนจากภายในหรื อจากสภาพภายนอก ความรู้ทาง
                                                                     ้
วิทยาศาสตร์ เกิดจากการสังเกตธรรมชาติและการวิเคราะห์วจย วิทยาศาสตร์จึงเป็ นสากลเพราะเป็ นปรากฏการณ์ทาง
                                                                ิั
ธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นด้วยหลักการเดียวกัน วิทยาศาสตร์ จึงไม่ถูกจากัดด้วยเวลา สถานที่ และวัฒนธรรม
      อีกท่านหนึ่งที่ได้ให้ความหมายของวิทยาศาสตร์ ไว้อย่างละเอียดและชัดเจน คือ มังกร ทองสุ ขดี (ม.ป.ป. : 1-2)
ว่า วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู ้เกี่ยวกับธรรมชาติที่อยูรอบ ๆ ตัวเรา ซึ่ งมนุษย์ได้ศึกษาค้นคว้าสะสมมาตั้งแต่อดีต
                                                           ่
จนกระทังถึงปั จจุบน และจะศึกษาต่อไปในอนาคตอย่างไม่รู้จกจบสิ้ น มนุษย์ได้พยายามศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อม
            ่            ั                                         ั
ว่า
      1. สิ่ งต่าง ๆ มีความเป็ นมาอย่างไร
      2. สิ่ งเหล่านั้นมีความสัมพันธ์ต่อกันอย่างไรบ้าง
      3. พัฒนาการของสิ่ งเหล่านั้นมีระเบียบแบบแผน หรื อมีหลักเกณฑ์อย่างไร และ
จะบังเกิดขึ้นในอนาคตอย่างไร
      4. มนุษย์จะนาความรู ้ท้ งหลายมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง
                                  ั
ยิงกว่านั้นวิทยาศาสตร์ ยงเป็ นความรู ้เกี่ยวกับข้อเท็จจริ งที่ทดสอบได้เป็ นความรู ้ที่มีขอบเขต มีระเบียบ กฎเกณฑ์
  ่                             ั
เป็ นความรู้ที่มีรากฐาน มาจาการสังเกต การจดบันทึก การตั้งสมมุติฐาน โดยใช้หลักฐานทางปรัชญา และ

เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา                                                                             หน้า 1
ตรรกศาสตร์ แล้วพยายามวัดหรื อหาค่าออกมาทั้งในด้านคุณค่า (นามธรรม) และปริ มาณ (รู ปธรรม) ถ้าจะเปรี ยบ
วิทยาศาสตร์ เสมือนต้นไม้ใหญ่แล้วรากแก้วที่สาคัญ 3 ราก คือ วิชาปรัชญา ตรรกศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์
พร้อมกันนี้ สุ วฒก์ นิยมค้า (2531 : 105-107) ได้รวบรวมทัศนะต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับความหมายของวิทยาศาสตร์ จาก
                  ั
นักวิทยาศาสตร์ และนักการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ไว้ดงนี้ คือ      ั
       1. แนช (Nash) นักเคมีกล่าวว่า วิทยาศาสตร์ เป็ นวิถีทางอย่างหนึ่งของการเข้า
ไปสารวจโลก ซึ่งถือเป็ นการมองวิทยาศาสตร์ในฐานะกระบวนการ
       2. วิกเนอร์์ (Wigner) นักฟิ สิ กส์กล่าวว่า วิทยาศาสตร์ คือ ความรู ้ของ ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ได้สะสมไว้
ซึ่งถือเป็ นการมองวิทยาศาสตร์ในฐานะตัวความรู้
       3. บูเบ์้ (Bube) นักฟิ สิ กส์ กล่าวว่า วิทยาศาสตร์ คือ ความรู ้ของโลกธรรมชาติ
                                          ั
ซึ่ งได้มาโดยผ่านการปะทะสังสรรค์กบประสาทสัมผัส ซึ่ งถือเป็ นการมองวิทยาศาสตร์ ในฐานะตัวความรู ้กบ       ั
กระบวนการ โดยเน้นว่า กระบวนการที่ขาดไม่ได้ คือ การสังเกต
       4. ฟิ ชเชอร์ (Fischer) คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและคณิ ตศาสตร์
วิทยาลัยแห่งรัฐแคลิฟอเนีย กล่าวว่า วิทยาศาสตร์คือ องค์ของความรู้ ซึ่งได้มาโดยวิธีการวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยการ
สังเกตเป็ นพื้นฐาน
       5. สแตฟฟอร์ ด และคณะ (Stafford and others) นักการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ได้ให้ความหมายของ
วิทยาศาสตร์ไว้ 6 ประการ ดังนี้ คือ
             5.1 วิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับการมีประสบการณ์ตรงกับปรากฏการณ์ของ
ธรรมชาติ (วัตถุและเหตุการณ์ที่แวดล้อมเราอยู) แล้วมีการรวบรวมรายละเอียดปลีกย่อยเกี่ยวกับวัตถุและเหตุการณ์
                                                   ่
นั้น ๆ
             5.2 วิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับการจัดกระทาข้อมูลและการตีความหมาย
ข้อมูลที่ได้
             5.3 วิทยาศาสตร์ มีธรรมชาติเป็ นคู่แฝด ด้านหนึ่ งนั้นเป็ นการสะสมความรู ้ที่ได้ผานการทดลองแล้ว และอีก
                                                                                            ่
ด้านหนึ่งจะเป็ นวิธีการค้นหาความรู้
             5.4 วิทยาศาสตร์มีธรรมชาติที่ทาทายความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์
                                              ้
             5.5 วิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับความพยายาม ที่จะอธิ บายปรากฏการณ์ที่
เกิดขึ้น หรื ออธิบายกฎเกณฑ์ที่ได้จากปรากฏการณ์น้ น รวมทั้งการขยายความรู ้ให้กว้างออกไปเลยจากประสบการณ์
                                                          ั
ที่ได้รับ
             5.6 ความรู ้วทยาศาสตร์ ที่ได้รับเพิ่มนั้น มีลกษณะสื บต่อจากความรู ้เก่าที่มี
                          ิ                                 ั
คนค้นพบไว้แล้ว นักวิทยาศาสตร์ คนใหม่ จะอาศัยความรู้และความคิดของนักวิทยาศาสตร์ คนก่อน ๆ เป็ นบันได
ก้าวไปหาความรู ้ใหม่ต่อไป



เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา                                                                           หน้า 2
6. จาคอบสั นและเบอร์ กแมน (Jacobson & Bergman) ได้อธิบายธรรมชาติและ
                                ่
โครงสร้างของวิทยาศาสตร์ วา ประกอบด้วย 3 ส่ วน คือ
          6.1 ส่ วนที่เป็ นความจริ งพื้นฐาน ที่ไม่ตองพิสูจน์ (assumptions in science)
                                                    ้
          6.2 ส่ วนที่เป็ นวิธีการ และกระบวนการวิทยาศาสตร์ (methods and
processes of science)
          6.3 ส่ วนที่เป็ นตัวความรู ้ (broad generalizations of science)

จากการทีมีผ้ ูให้ ความหมายของวิทยาศาสตร์ ไว้ หลากหลายสรุ ปได้ 4 ประเด็นดังนี้ คือ
           ่
      1. จากความหมายของรากศัพท์ของวิทยาศาสตร์ จากภาษาลาติน หมายถึง
องค์ความรู ้ที่มีระบบและจัดไว้อย่างเป็ นระเบียบแบบแผน
      2. จากการวิเคราะห์ประวัติการค้นพบของนักวิทยาศาสตร์ น้ น วิทยาศาสตร์
                                                                  ั
ประกอบด้วยส่ วนที่เป็ นตัวความรู ้ของธรรมชาติที่คนพบกับส่ วนที่เป็ นวิธีการเฉพาะที่ใช้ในการสื บเสาะหาความรู ้
                                                      ้
นั้นมา
      3. จากการให้ความหมายตามทัศนะของนักวิทยาศาสตร์ จะมี 3 ประเด็น คือ
             3.1 มองวิทยาศาสตร์ในฐานะที่เป็ นกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ของ
ธรรมชาติ
             3.2 มองวิทยาศาสตร์ในฐานะที่เป็ นองค์ความรู้ธรรมชาติ
             3.3 มองวิทยาศาสตร์ เป็ นทั้งองค์ความรู ้ของธรรมชาติ และกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ของธรรมชาติ
      4. จากการให้ความหมายตามทัศนะของนักการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ น้ น วิทยา ั
ศาสตร์มีลกษณะเป็ น 2 มิติ ควบคู่กนไป คือ มิติทางด้านองค์ความรู้ของธรรมชาติ และ มิติทางด้านกระบวนการที่ใช้
             ั                       ั
สื บเสาะหาความรู ้น้ นั




เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา                                                                       หน้า 3
ความหมายของเทคโนโลยี
      คาว่า เทคโนโลยี ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า "Technology" ซึ่ งมาจากภาษากรี กว่า "Technologia" แปลว่า การ
กระทาที่มีระบบ อย่างไรก็ตามคาว่า เทคโนโลยี มักนิยมใช้ควบคู่กบคาว่า วิทยาศาสตร์ โดยเรี ยกรวม ๆ ว่า
                                                                     ั
"วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" ซึ่งพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน (2539 : 406) ได้ให้ความหมายของ
เทคโนโลยี คือ วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนาเอาวิทยาศาสตร์ ประยุกต์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบติและ  ั
อุตสาหกรรม นอกจากนั้นยังมีผให้ความหมายของเทคโนโลยีไว้หลากหลาย ดังนี้ คือ
                                ู้
                                                                       ่
      ผดุงยศ ดวงมาลา (2523 : 16) ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยีวาปั จจุบนมีความหมายกว้างกว่ารากศัพท์เดิม
                                                                                ั
คือ หมายถึงกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องจักรกล สิ่ งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ทาง อุตสาหกรรม ถ้าในแง่ของความรู ้
เทคโนโลยีจะหมายถึง ความรู ้หรื อศาสตร์ ที่เกี่ยวกับเทคนิ คการผลิตในอุตสาหกรรม และกิจกรรมอื่น ๆ ที่จะ
เอื้ออานวยต่อการดารงชีวตของมนุษย์ หรื ออาจสรุ ปว่า เทคโนโลยี คือ ความรู ้ที่มนุษย์ใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ให้เกิด
                          ิ
                                              ่
ประโยชน์แก่มนุษย์เอง ทั้งในแง่ความเป็ นอยูและการควบคุมสิ่ งแวดล้อม
      สิ ปปนนท์ เกตุทต (ม.ป.ป. 81) อธิ บายว่า เทคโนโลยี คือ การนาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ และศาสตร์ อื่น ๆ มา
                      ั
ผสมผสานประยุกต์ เพื่อสนองเป้ าหมายเฉพาะตามความต้องการของมนุษย์ดวยการนาทรัพยากรต่าง ๆ มาใช้ในการ
                                                                              ้
ผลิตและจาหน่ายให้ต่อเนื่ องตลอดทั้งกระบวนการ เทคโนโลยีจึงมักจะมีคุณประโยชน์และเหมาะสมเฉพาะเวลา
และสถานที่ และหากเทคโนโลยีน้ นสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม
                                     ั
เทคโนโลยีน้ นจะเกื้อกูลเป็ นประโยชน์ท้ งต่อบุคคลและส่ วนรวม หากไม่สอดคล้องเทคโนโลยี นั้น ๆ จะก่อให้เกิด
                 ั                       ั
ปัญหาตามมามหาศาล
      ธรรมนูญ โรจนะบุรานนท์ (2531 : 170) กล่าวว่า เทคโนโลยี คือ ความรู ้วชาการรวมกับความรู ้วธีการ และ
                                                                                  ิ               ิ
ความชานาญที่สามารถนาไปปฏิบติภารกิจให้มีประสิ ทธิ ภาพสู ง โดยปกติเทคโนโลยีน้ นมีความรู ้วทยาศาสตร์
                                   ั                                                ั         ิ
         ่ ้
รวมอยูดวย นั้นคือวิทยาศาสตร์ เป็ นความรู้ เทคโนโลยีเป็ นการนาความรู้ไปใช้ในทางปฏิบติ จึงมักนิยมใช้สองคา
                                                                                        ั
ด้วยกัน คือ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อเน้นให้เข้าใจว่า ทั้งสองอย่างนี้ตองควบคู่กนไปจึงจะมีประสิ ทธิ ภาพสู ง
                                                                            ้         ั
                                                                                                ่
      ส่ วน ชานาญ เชาวกีรติพงศ์ (2534 : 5) ได้ให้ความหมายสั้น ๆ ว่า เทคโนโลยี หมายถึง วิชาที่วาด้วยการ
ประกอบวัตถุเป็ นอุตสาหกรรม หรื อวิชาช่างอุตสาหกรรม หรื อการนาเอาวิทยาศาสตร์ มาใช้ในทางปฏิบติ        ั
                                                                   ่
จากการที่มีผให้ความหมายของเทคโนโลยีไว้หลากหลาย สรุ ปได้วา เทคโนโลยี หมายถึง วิชาที่นาเอาวิทยาการทาง
              ู้
วิทยาศาสตร์และศาสตร์ อื่น ๆ มาประยุกต์ใช้ตามความต้องการของมนุษย์ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม เป็ นต้น ซึ่ง
                            ่ ั
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงกล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยีเป็ นภาษาง่าย ๆ ว่า หมายถึง การรู้จกนามาทา     ั
ให้เป็ นประโยชน์นนเอง (เย็นใจ เลาหวณิ ช. 2530 : 67)
                   ั่




เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา                                                                         หน้า 4
องค์ ประกอบของวิทยาศาสตร์
       เพื่อที่จะให้เข้าใจความหมายของวิทยาศาสตร์ ได้ชดเจนเพิมขึ้นจาเป็ นที่จะต้องรู ้ถึง องค์ประกอบของ
                                                        ั       ่
วิทยาศาสตร์ ซึ่งเครื อวัลย์ โพธิพนธ์ (2542 : 4) ได้แบ่งองค์ประกอบเป็ น 3 ส่ วน ดังนี้คือ
                                    ั
1. ส่ วนทีเ่ ป็ นผลจากผลงานของนักวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็ นผลที่ยติแล้วและได้ถูกสะสมเรี ยบเรี ยงเป็ นระบบความรู้
                                                              ุ
เกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมทางภาพของมนุษย์
2. เป็ นองค์ แห่ งความรู้ หรือองค์ เนือหาของวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้ วย
                                      ้
       2.1 ข้อเท็จจริ ง (Fact)
       2.2 หลักการ (Principle)
       2.3 แนวคิด (Concept)
       2.4 สมมติฐาน (Hypothesis)
       2.5 ทฤษฎี (Theory)
       2.6 กฎ (Law)
3. เป็ นความรู้ ทได้ จากการค้ นหาความลีลบทางธรรมชาติ โดยใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
                  ี่                      ้ั                                                      ซึ่งความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ เกิดจากการตั้งปั ญหาถามตัวเองอยู่ 3 ประการคือ มีอะไรเกิดขึ้นบ้าง เกิดขึ้นได้อย่างไรและทาไมจึงเกิด
และใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการค้นหาคาตอบซึ่ งได้มาจากองค์แห่งความรู ้

                                       ลักษณะเฉพาะของวิทยาศาสตร์
       ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ มีลกษณะเฉพาะบางประการที่ไม่เหมือนศาสตร์ อื่น ๆ ดังเช่นที่ได้มีผกล่าวถึงลักษณะ
                                   ั                                                             ู้
ของวิทยาศาสตร์ ไว้ต่อไปนี้
 เฮิร์ด (Hurd 1971 : 18-19) กล่าวถึงลักษณะเฉพาะของวิทยาศาสตร์ สรุ ปได้ดงนี้   ั
       1. ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ ถือเป็ นเพียงความจริ งชัวคราวที่จะต้องแก้ไขขัดเกลาอยูเ่ สมอ ไม่มีความจริ งทาง
                                                          ่
วิทยาศาสตร์ กฎ มโนทัศน์ หรื อทฤษฎีใด ๆ ที่ถูกต้องแน่นอนจนไม่สามารถจะแก้ไขปรับปรุ งได้
       2. มีความคิดขัดแย้งกันตลอดเวลาในผลงานทางวิทยาศาสตร์ อันเป็ นเหตุให้มีแนวคิด ผลิตผล สิ่ งประดิษฐ์
หรื อข้อค้นพบใหม่ ๆ ทางวิทยาศาสตร์ เกิดขึ้นอยูเ่ สมอ
โซวอลเตอร์ และคณะ (Showalter and others อ้างถึงใน สุ เทพ อุสาหะ 2526 :15-16) ได้กล่าวถึงลักษณะของความรู้
                       ่
ทางวิทยาศาสตร์ วาประกอบไปด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
       1. เป็ นความจริ งชัวคราว ไม่มีความเป็ นอมตะในวิทยาศาสตร์
                           ่
       2. เป็ นสาธารณะ ทุกคนสามารถสังเกตหรื อทดสอบได้
                                                        ่
       3. ทาให้เกิดขึ้นใหม่ได้ ภายในภาวะคล้ายกัน แม้วาเวลาและสถานที่จะเปลี่ยนไป
       4. เป็ นเรื่ องของโอกาสที่จะเป็ นไปได้
       5. เป็ นผลของความพยายามของมนุษย์ที่จะทาความเข้าใจหรื อหาแบบแผนของธรรมชาติ

เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา                                                                           หน้า 5
6. ความรู ้วทยาศาสตร์ ในอดีตเป็ นพื้นฐานในการพบความรู ้ใหม่ ๆ ในปั จจุบน และความรู้ในปัจจุบนจะเป็ น
                  ิ                                                            ั                 ั
พื้นฐานในการค้นพบสิ่ งใหม่ ในอนาคต
      7. มีลกษณะเฉพาะตัวคือได้จากวิธีการเสาะแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
            ั
      8. มีความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันคือ ความรู ้วทยาศาสตร์ จะช่วยเสริ มมโนทัศน์อื่น ๆ
                                                    ิ
      9. วิทยาศาสตร์ ในการแสวงหาความรู ้อย่างมีระบบ ปราศจากอคติ ปราศจากผลตอบแทน ส่ วนคาว่า
"เทคโนโลยี" เป็ นเรื่ องของการนาความรู้ ความเข้าใจธรรมชาติ มาใช้ให้เป็ นประโยชน์ต่อการดารงชี วตของมนุษย์
                                                                                               ิ
โดยมุ่งแสวงหากระบวนการและรู ปแบบในการประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ
สภาพแวดล้อม เพื่อประโยชน์ท้ งต่อบุคคลและส่ วนรวม ข้อแตกต่างอีกประการหนึ่งก็คือ วิทยาศาสตร์ ไม่ตกอยู่
                                 ั
ภายใต้อิทธิ พลของปั จจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่ งแวดล้อม มากเท่ากับเทคโนโลยี ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็ น
ส่ วนรวมของชาวโลกที่เผยแพร่ ทวไปโดยไม่มีการซื้ อขาย ส่ วนความรู ้ทางเทคโนโลยีเป็ นสิ นค้าอย่างหนึ่งที่มีราคา
                                   ั่
ซื้ อขายกันในตลาด (เสริ มพล รัตสุ ข. 2526 : 3-4)

                                   ความสั มพันธ์ ของวิทยาศาสตร์ กบเทคโนโลยี
                                                                 ั
       จากความหมายของคาว่า "วิทยาศาสตร์ " และความหมายของคาว่า "เทคโนโลยี" ที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่า
                                                ่                                                 ่
วิทยาศาสตร์ เป็ นความรู ้ที่นาไปใช้อธิ บายได้วา ทาไมจึงเป็ นอย่างนั้น เช่น นักชีววิทยาจะอธิบายได้วา ทาไมเมื่อขวั้น
และขูดเปลือกของพืชยืนต้นออกจะมีรากงอกออกมาได้ นักฟิ สิ กส์ก็จะอธิ บายได้วา ทาไมเมื่อขดลวดตัด
                                                                                   ่
                                                                                     ่
สนามแม่เหล็ก จึงมีกระแสไฟฟ้ าเกิดขึ้น เป็ นต้น ส่ วนเทคโนโลยีน้ นจะเป็ นความรู ้วาจะทาอย่างไร ตัวอย่างเช่น จะ
                                                                     ั
ขยายพันธุ์พืชโดยการตอนได้อย่างไร จะผลิตกระแสไฟฟ้ านามาใช้ประโยชน์ได้อย่างไร จะผลิตอุปกรณ์เครื่ องใช้
เครื่ องอานวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ โดยนาไฟฟ้ ากระแสมาใช้ได้อย่างไร เหล่านี้ เป็ นต้น
                 ่
       จะเห็นได้วาวิทยาศาสตร์ เป็ นตัวความรู ้ ส่ วนเทคโนโลยีน้ นเป็ นการนาความรู ้ไปใช้ในทางปฏิบติให้เกิดสิ่ งที่
                                                                ั                                   ั
เป็ นรู ปธรรมได้ วัดได้ หรื อจับต้องได้ โดยการนาทรัพยากรธรรมชาติ ต่าง ๆ มาใช้ในทางปฏิบติ     ั

ความสั มพันธ์ ระหว่างวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แสดงด้ วยภาพดังต่ อไปนี้
     ความรู้ทางวิทยาศาสตร์              + ทรัพยากรธรรมชาติ                   --------------> เทคโนโลยี


                        ภาพที่ 2 แผนภูมิความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
                                          (เพียร ซ้ ายขวัญ. 2536. 111)
<       ธรรมนูญ โรจนะบุรานนท์ (2531 : 171-172) กล่าวว่า เทคโนโลยีสมัยใหม่จาเป็ นต้องมีความรู ้วทยาศาสตร์
                                                                                                ิ
เป็ นระบบต่อเนื่องเป็ นฐานรองรับมิใช่แต่เพียงอาศัยประสบการณ์หรื อวิทยาศาสตร์ สังเกตเท่านั้น และความรู้หรื อ
                                             ่
ทฤษฎีใหม่ทางวิทยาศาสตร์ ที่ถูกค้นพบก็มิใช่วาจะถูกนาไปพัฒนาเป็ นเทคโนโลยีใหม่ตามมาเสมอไป ความรู้และ
ทฤษฎีวทยาศาสตร์ บางอย่างแม้จะถูกค้นพบมานานก็ยงคงเป็ นความรู ้พ้ืนฐานสะสมไว้เหมือนเดิม ทั้งนี้เพราะความรู ้
        ิ                                             ั
เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา                                                                            หน้า 6
วิทยาศาสตร์ บางอย่างเป็ นไปเพื่อความรู ้ความสนใจจริ ง ๆ ไม่ได้เกิดมาจากปั ญหาเฉพาะหน้า หรื อสถานการณ์
บังคับเพื่อแก้ปัญหาสังคมและเศรษฐกิจ ไม่มีแรงผลักดันให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีข้ ึนมา ความรู้วทยาศาสตร์ิ
บางอย่างเกิดขึ้นมานานกว่าจะถูกพัฒนาขึ้นมาเป็ นเทคโนโลยี เช่น ความรู ้ทางฟิ สิ กส์สุริยะมีมานานก่อนที่จะพัฒนา
                                                                                            ่
เป็ นเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ ทั้งนี้เพราะแต่เดิมโลกไม่ขาดแคลนพลังงาน จึงเห็นได้วา ช่วงเวลาระหว่างการ
                                  ั
ค้นพบความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ กบเทคโนโลยีที่ได้พฒนาขึ้นมานั้น อาจสั้นหรื อยาว ก็แล้วแต่ความเร่ งด่วนทาง
                                                        ั
เศรษฐกิจและสังคมและความยากง่ายของความรู ้วทยาศาสตร์ น้ น ๆ บางครั้งเทคโนโลยีใหม่ก็พฒนามาจากความรู ้
                                                    ิ             ั                           ั
ทางวิทยาศาสตร์ ด้ งเดิมได้ เช่น พวกอุปกรณ์เครื่ องไฟฟ้ าบางอย่าง เช่นกระทะไฟฟ้ า หม้อหุงข้าวไฟฟ้ าอัตโนมัติ
                       ั
เป็ นต้น และความรู ้วทยาศาสตร์ จะไม่สามารถใช้ประโยชน์ดานปฏิบติได้ ถ้าไม่มีการนาความรู ้น้ นไปประยุกต์ใช้
                         ิ                                    ้         ั                       ั
      เมื่อก่อนวิทยาศาสตร์ ไม่ตองอาศัยเทคโนโลยีมากนัก แต่ปัจจุบนทั้งสองวิชานี้ ตองพึ่งพาซึ่ งกันและกัน
                                ้                                     ั                ้
วิทยาศาสตร์ตอนแรก ๆ ใช้เพียงวิธีสังเกตและเหตุผล เมื่อต้องทดลองบ้างก็เริ่ มใช้เครื่ องมือ เมื่อการทดลองยุงยาก ่
ขึ้น ความต้องการเครื่ องมือก็มีมากขึ้น เครื่ องมือจะต้องดีและมีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้นด้วย การทดลองทางวิทยาศาสตร์
ในระยะสั้น ๆ นี้ ต้องอาศัยเทคโนโลยี เช่น การวิจยเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ และอวกาศ เป็ นต้น จึงกล่าวได้วา
                                                      ั                                                        ่
ปัจจุบนวิทยาศาสตร์พ่ ึงเทคโนโลยี ไม่นอยกว่าเทคโนโลยีพ่ ึงวิทยาศาสตร์ ปัจจุบนความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ได้กาวไป
       ั                                  ้                                        ั                             ้
ไกลและกว้างขวางมาก ปี หนึ่ง ๆ มีรายงานเสนอผลของการวิจยพิมพ์ออกมาไม่นอยกว่าล้านเรื่ อง ใครต้องการ
                                                                ั                    ้
ความรู ้เหล่านั้นก็หาได้ง่าย ผิดกับความรู ้ทางเทคโนโลยี ซึ่ งหาได้ยากกว่ามาก เทคโนโลยีสร้างขึ้นมาต้องอาศัย
                                                                                                      ั
วิทยาศาสตร์ แต่วทยาศาสตร์ เกิดขึ้นโดยไม่ได้อาศัยเทคโนโลยี ต่อมาทั้งสองวิชาเริ่ มมีความสัมพันธ์กนมากขึ้น
                     ิ
ถึงแม้บางเรื่ องต่างเจริ ญด้วยตนเอง แต่เทคโนโลยีก็ตองอาศัยวิทยาศาสตร์ มากกว่าและมีความเจริ ญก้าวหน้าตาม
                                                          ้
วิทยาศาสตร์ ไม่ทน (ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์ และ ธนกาญจน์ ภัทรากาญจน์, 2530 : 11)
                   ั
               ่
      ถึงแม้วาเทคโนโลยีจะถือกาเนิดมาจากวิทยาศาสตร์ ดังกล่าวข้างต้นก็ตาม แต่มีขอควรพิจารณาที่สาคัญหลาย
                                                                                         ้
ประการดังที่ เพียร ซ้ายขวัญ (2536 : 111-112) กล่าวไว้ดงนี้ คือ
                                                            ั
      1. เมื่อมีการค้นพบความรู ้ใหม่ทางวิทยาศาสตร์ ก็มิได้หมายความว่า จะต้องมี
เทคโนโลยีใหม่เกิดขึ้นเสมอ โดยปกติจะมีช่วงเวลาเหลื่อมระหว่างการค้นพบความรู ้ใหม่ทางวิทยาศาสตร์ น้ น         ั
ช่วงเวลาดังกล่าวจะสั้นหรื อยาวหลายสิ บปี หรื อ 100 ปี ก็ได้ สุ ดแท้แต่ความยากง่ายของความรู ้ใหม่ ความต้องการ
ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ ทางสังคมและอื่น ๆ ซึ่งจะเป็ นปัจจัยหรื อแรงผลักดันที่ทาให้มีการพยายามพัฒนา
เทคโนโลยี
      2. เทคโนโลยีใหม่ ๆ นั้น อาจอาศัยความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ ด้ งเดิมก็ได้ เช่น
                                                                    ั
หม้อหุ งข้าวไฟฟ้ า เครื่ องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เกี่ยวกับแสงเลเซอร์ เป็ นเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับไฟฟ้ าอิเล็กทรอนิคส์
และคลื่นแสง ซึ่ งไม่ใช่ความรู ้ใหม่ทางวิทยาศาสตร์ แต่อย่างใด

    สรุ ปได้ ว่า ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ จะไม่มีคุณค่า ถ้าหากปราศจากเทคโนโลยีมาเชื่อมโยง และเทคโนโลยีที่
ปราศจากความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ เป็ นพื้นฐานก็ไม่สามารถจะนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างสู งสุ ด


เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา                                                                            หน้า 7
ขอบเขตและสาขาวิชาของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
       ขอบเขตและสาขาวิชาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่ วนใหญ่แล้วจะมีผแบ่งไว้ไม่แตกต่างกันมากนัก สรุ ป
                                                                                   ู้
ได้เป็ นสาขาใหญ่ได้ 3 สาขา ดังนี้ คือ
       1. วิทยาศาสตร์ ธรรมชาต์ิ (Natural Sciences) เป็ นวิทยาศาสตร์ บริ สุทธิ์ (Pure
                                                                                                            ่
Science) หรื อวิทยาศาสตร์ ข้ นมูลฐาน (Basic Science) เป็ นวิชาที่กล่าวถึงเรื่ องราวและสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดอยูใน
                                 ั
ธรรมชาติทวไป ซึ่ งแวดล้อมตัวเรา ซึ่ งเกี่ยวข้องกับสิ่ งมีชีวิตและไม่มีชีวต พลังงาน และวัตถุต่าง ๆ ที่มีในเอกภาพ
              ั่                                                         ิ
ซึ่ งแบ่งออกเป็ นสาขาต่าง ๆ ดังนี้
             1.1 ฟิ สิ กส์ (Physics)
             1.2 เคมี (Chemistry)
             1.3 ชีววิทยา (Biology)
             1.4 ดาราศาสตร์ (Astronomy)
บางตาราแบ่งสาขาย่อยของวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ ออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
       ก. วิทยาศาสตร์ทางกายภาพ (Physical Science) ได้แก่ เคมี ฟิ สิ กส์ คณิ ตศาสตร์ ธรณี วทยา เป็ นต้น
                                                                                             ิ
       ข. วิทยาศาสตร์ทางชีวภาพ (Biological Science) ได้แก่ การศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งมีชีวต เช่น พฤกษศาสตร์
                                                                                        ิ
(Botany) และสัตวศาสตร์ (Zoology) เป็ นต้น
       2. วิทยาศาสตร์ สังคม (Social Sciences) เป็ นวิทยาศาสตร์ ที่กล่าวถึงชีวตที่เกี่ยว
                                                                              ิ
ข้องกับทางสังคมต่าง ๆ หรื อเรื่ องราวของการสังคมในมวลมนุษย์โดยเฉพาะ ซึ่ งแบ่งออกเป็ นสาขาต่าง ๆ ดังนี้
             2.1 จิตวิทยาและพฤติกรรมศาสตร์ (Psychology and Behavioral Science)
             2.2 เศรษฐศาสตร์ (Economics)
             2.3 รัฐศาสตร์ (Political Science)
             2.4 ศึกษาศาสตร์ (Education)
             2.5 สังคมวิทยา (Sociology) เป็ นต้น
       3. วิทยาศาสตร์ ประยุกต์ (Applied Science) หรื อ วิชา เทคโนโลยี
(Technology) คือวิชาที่นาเอาผลของวิชาวิทยาศาสตร์ทางธรรมชาติและสังคมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในการดารง
ชีพของมนุษย์ ซึ่ งแบ่งออกเป็ นสาขาต่าง ๆ ดังนี้
             3.1 แพทย์ศาสตร์ (Medicine)
             3.2 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering)
             3.3 เกษตรศาสตร์ (Agriculture Science)
             3.4 วิทยาศาสตร์การแพทย์ (Medical Science)
             3.5 เภสัชศาสตร์ (Pharmacology)
             3.6 ทันตแพทยศาสตร์ (Dentistry)

เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา                                                                          หน้า 8
3.7 สัตวแพทยศาสตร์ (Veterinary)
         3.8 วนศาสตร์ (Agrotorestry)
         3.9 การประมง (Fisheries)
    ส่ วน ปรี ชา วงศ์ชูศิริ (2532 : 16) ได้แบ่งแยกวิทยาศาสตร์ เป็ นสาขาต่าง ๆ โดยใช้เหตุผลในเชิงวิธีวทยา ตาม
                                                                                                     ิ
หลักข้อเท็จจริ ง ซึ่ งมีทฤษฎีเชิงแบบแผนเป็ นข้อสมมติฐานล่วงหน้าไว้ ดังนี้




     สาหรับทบวงมหาวิทยาลัย (2529 : ไม่ มีเลขหน้ า) ได้จดกลุ่มสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริ ญญาตรี ใน
                                                       ั
สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน ในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัยตามหลักการจาแนกการศึกษาตามมาตรฐานสากล
ขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ โดยแบ่งเป็ น 10 กลุ่มสาขาวิชา สาหรับกลุ่ม
สาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มีสาขาย่อยดังนี้
    - กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ คณิ ตศาสตร์ /สถิติ วิทยาการคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ
    - กลุ่มสาขาวิชาแพทยศาสตร์ และวิชาที่เกี่ยวกับสุ ขภาพอนามัย ได้แก่ แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัช
ศาสตร์ เทคนิคการแพทย์
    - สาธารณสุ ขศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ กายภาพบาบัด วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    - กลุ่มสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ได้แก่ วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์
    - กลุ่มสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ วนศาสตร์ และการประมง ได้แก่ สัตวแพทย์ศาสตร์ / สัตวบาล ประมง/วาริ ช
ศาสตร์ เกษตรศาสตร์ วนศาสตร์ /เทคโนโลยีวนผลิตภัณฑ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
เทคโนโลยีการเกษตร ธุ รกิจการเกษตร/ส่ งเสริ มการเกษตรและสหกรณ์



เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา                                                                          หน้า 9
ประโยชน์ ของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
           สิ ปปนนท์ เกตุทต (ม.ป.ป. : 80) กล่าวว่า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความจาเป็ นและเพิ่มความสาคัญเป็ น
                           ั
                                                  ่
ลาดับมากขึ้นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์แม้วาการพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีจะเอื้ออานวยในด้านชีวตความ           ิ
              ่
เป็ นอยูที่สะดวกสบายและอายุยนนานขึ้น หากการการนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ โดยมิได้พิจารณาอย่าง
                                      ื
สุ ขมรอบคอบและกว้างไกลแล้ว ย่อมเกิดผลเสี ยต่อสภาพแวดล้อมและสมดุลทางธรรมชาติอย่างมหันต์ เมื่อมองไป
         ุ
ข้างหน้า วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีควรช่วยเตรี ยมให้มนุษย์มีความพร้อมที่จะเผชิญกับปั จจัยพื้นฐานในการ
ดารงชีวิต และปั ญหาอันเกี่ยวเนื่องกับมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม ข้อที่พึงตระหนัก คือ การดารงชีวตของมนุษย์มิใช่เพื่อ
                                                                                                   ิ
กอบโกยผลประโยชน์จากธรรมชาติ หรื อการทาตนอยูเ่ หนื อธรรมชาติ หากแต่มนุษย์ตองเรี ยนรู ้ธรรมชาติที่จะ
                                                                                          ้
ดารงชีวิตอย่างสันติร่วมกับผูอื่น กับสังคมวัฒนธรรม และกับธรรมชาติ
                                  ้
ดังนั้นในชีวิตประจาวันของมนุษย์ทุกคน จะต้องเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอยูตลอดเวลา เกี่ยวข้องกับ
                                                                                                 ่
วิวฒนาการทางด้านความรู้ ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ ด้าน จึงมีความจาเป็ นอย่างยิงที่จะทาให้บุคคลในสังคม
       ั                                                                                       ่
รู ้จกวิธีการคิดอย่างมีเหตุผล มีวธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่มีระบบ อันจะส่ งผลให้เกิดการพัฒนาด้านสติปัญญาซึ่ ง
     ั                              ิ
                                            ่
วิธีการคิดนั้นเป็ นวิธีเดียวกันกับที่ใช้อยูในกระบวนการแสวงหาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์
                                                                                    ่
           สุ เทพ อุสาหะ (2526 : 10-11) กล่าวว่า คงเป็ นที่ยอมรับกันว่า ขณะนี้เราอยูในยุคที่วทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
                                                                                             ิ
เจริ ญสู งสุ ด ทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับตัวเรานั้นเป็ นผลมาจากการพัฒนาของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท้ งสิ้ น อย่างไร
                                                                                                          ั
ก็ตามอิทธิ พลของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีส่วนใหญ่ที่มีต่อเศรษฐกิจ และการเสาะแสวงหาความรู ้น้ นยังไม่เป็ น    ั
ที่เด่นชัดสาหรับประชาชนส่ วนใหญ่ เฮอร์ ด (Hurd. 1970 : 13-15) ได้ช้ ีให้เห็นว่า ประชาชนส่ วนใหญ่ได้รับข้อมูล
ผิดพลาดเกี่ยวกับความหมาย และอิทธิ พลของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่มีต่อ วัตถุ สังคม และชีวตความเป็ นอยู่
                                                                                                        ิ
ดังนั้นการให้ความรู ้หรื อการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ จะเป็ นการเตรี ยมคนเพื่อแก้ปัญหา ต่าง ๆ ในสังคมที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วในอนาคต และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ จะยิงเกิดขึ้นมากเรื่ อย ๆ ขณะเดียวกัน
                                                                          ่
วิทยาศาสตร์ ก็จะเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับสังคมมากขึ้น จึงเป็ นสิ่ งที่แน่นอนว่าความสาคัญของวิชาวิทยาศาสตร์ ใน
ฐานะที่เป็ นส่ วนหนึ่งของการให้การศึกษาพื้นฐานทัวไป (general education) จะมีมากขึ้น
                                                         ่
จะเห็นได้วาทุกคนจาเป็ นที่จะต้องเรี ยนรู ้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่ งระดับของการศึกษาของแต่ละคน
                 ่
                     ่ ั
นั้นย่อมขึ้นอยูกบเป้ าหมายและความสนใจของแต่ละบุคคล ดังที่ เอกิน (Agin. 1974 : 404) ได้ช้ ีให้เห็นถึงความ
จาเป็ นของบุคคลกลุ่มต่าง ๆ ที่ตองเรี ยนรู้วทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีตามภาพที่ 3
                                        ้       ิ




                                   ภาพที่ 3 แสดงการแยกสาขาของวิทยาศาสตร์

เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา                                                                           หน้า 10
1. เตรี ยมนักวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในสาขาต่าง ๆ
2. ให้พ้ืนฐานของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สาหรับผูที่จะประกอบอาชีพ หรื อ
                                                             ้
วิชาชีพที่อาศัยเทคโนโลยี
3. ให้การศึกษาพื้นฐานเพื่อเป็ นพลเมืองที่มีประสิ ทธิ ภาพ
ภาพที่ 3 ระดับของกลุ่มบุคคลที่เรี ยนรู ้วทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                                            ิ
      จากภาพที่ 3 จะเห็นได้วาพลเมืองกลุ่มที่ 3 ซึ่ งเป็ นกลุ่มใหญ่สุดมีความจาเป็ นต้องศึกษาวิทยาศาสตร์ และ
                                 ่
เทคโนโลยี เพื่อจะเป็ นพลเมืองที่มีประสิ ทธิภาพ พร้อมกับนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ในการแก้ปัญหาใน
ชีวตประจาวันของพวกเขา ซึ่งประโยชน์ของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สรุ ปได้พอสังเขป ดังนี้คือ
    ิ
ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี1. การแก้ปัญหาในชีวตประจาวัน ในชีวตประจาวันเมื่อมีปัญหา หรื อข้อ
                                                                   ิ                ิ
สงสัย
อย่างใดเกิดขึ้นเราต้องใช้เหตุผลเพื่อหาคาตอบหรื อแก้ขอสงสัยต่าง ๆ เสมอมา ในชีวิตประจาวันเราคงจะประสบกับ
                                                           ้
ปั ญหาในด้านต่าง ๆ ทั้งกับตัวเราเองหรื อบุคคลใกล้ชิด การพยายามหาข้อมูล ต่าง ๆ เพื่อหาสาเหตุของปั ญหานั้น
อย่างมีเหตุผล สามารถทาให้เราแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
      2. วิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์ที่เป็ นจริ งในชี วตประจาวันเพื่อการแก้ปัญหา
                                                         ิ
วิทยาศาสตร์นาบุคคลไปสู่ การมีทกษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะเป็ น
                                       ั
กระบวนการของการค้นพบสิ่ งใหม่ ๆ เพื่อนาไปสู่ คุณภาพชีวตที่ดีและการแก้ปัญหา
                                                               ิ
      3. สร้างคนให้มีกระบวนการคิด มีเหตุมีผล ไม่หลงงมงายในสิ่ งที่ไร้สาระ
                                                ื ่                                                 ่
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็ นวิธีการที่ยดหยุนที่แต่ละบุคคลจะปรับเอาไปใช้แก้ปัญหาของตน แม้วามันจะชื่ อว่า
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แต่จริ ง ๆ แล้ว ศาสตร์ ไหน ๆ ก็ใช้ได้ท้ งนั้น เรื่ องการสังเกต การจดบันทึกและแปร
                                                                      ั
ความ การพยากรณ์ สร้างคนให้มีเหตุผล ไม่ให้เชื่ อถือโชคลางหรื อหลงงมงาย เหล่านี้นาไปใช้ได้ท้ งหมด  ั
         ลิขิต ธีรเวคิน (2535 : 10) กล่าวว่า ประเทศใดก็ตามจะพัฒนาไปเป็ นประเทศมหาอานาจ จะต้องประกอบด้วย
ตัวแปรสาคัญ ๆ ห้าตัวแปร และในห้าตัวแปรนั้นตัวแปรสาคัญหนึ่งคือการมีจิตวิทยาอันทันสมัยหมายความว่ามีการ
คิดแบบมีเหตุมีผล ไม่หลงงมงาย ไม่เชื่ออะไรที่เกิดจากศรัทธาแต่อย่างเดียวพูดง่าย ๆ คือ "มีจิตวิทยาศาสตร์ "
      ชั ยวัฒน์ คุประตกุล (2528 : 87-88) ได้กล่าวถึงบทบาทของวิทยาศาสตร์ ที่สร้างคนให้มีมานะอดทน เป็ นคนไม่
หลงงมงาย เป็ นคนมีเหตุผล เป็ นคนที่ไม่ถูกชักจูงไปในทางเสื่ อมทรามได้ง่าย ๆ นอกจากนี้วทยาศาสตร์ ยงช่วยให้
                                                                                           ิ            ั
สมาชิกในสังคม ตระหนักถึงความสาคัญของการทางานเป็ นระบบเป็ นทีมหรื อเป็ นหมู่คณะ ตระหนักถึงผลกระทบ
ที่จะเกิดขึ้นกับสังคมส่ วนรวมจากพฤติกรรม หรื อการกระทาของสมาชิกแม้เพียงคนเดียวหรื อกลุ่มหนึ่ง
                                   ่
      จากที่กล่าวมา จะเห็นได้วามีความจาเป็ นอย่างยิงที่จะต้องนาวิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อสร้างคนให้มีเหตุผล มีความ
                                                      ่
เชื่อมันในตนเองมากขึ้น เมื่อมีความเชื่อมันในตนเองมากขึ้น ความเชื่ อ งมงาย ความเชื่อในโชคลาง ชะตาราศี ดวง
       ่                                      ่
และเรื่ องพรหมลิขิตจะจางหายไป ความลุ่มหลงในการพนัน หวังรวยทางลัด และการวิเคราะห์สภาพการณ์หรื อ
                                     ่
ปัญหาในชีวิตประจาวันก็จะอยูในแนวของเหตุและผล ตามหลักตรรกวิทยาศาสตร์ เป็ นคุณลักษณะของพลเมืองใน
เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา                                                                      หน้า 11
สังคมประชาธิปไตย เป็ นสังคมที่เราทุกคนต้องการ เป็ นสังคมที่นามาซึ่งความมีสิทธิ เสรี ภาพ อย่างมีเหตุมีผล
        4. ปรับปรุ งคุณภาพของชีวต วิทยาศาสตร์ จะเกี่ยวพันกับมนุษย์ทุกคนตลอดชีพ
                                        ิ
ในชีวตประจาวัน ตั้งแต่ลืมตาตื่นจนกระทังเข้านอนจะเกี่ยวพันกับวิทยาศาสตร์ คงจะไม่มีใครปฏิเสธได้วา
         ิ                                        ่                                                          ่
วิทยาศาสตร์ได้นาความสุ ข ความสะดวกสบายมาสู่ การดารงชีวตในเรื่ องต่าง ๆ ต่อไปนี้
                                                                      ิ
             4.1 อาหาร ได้รู้จกวิธีรักษาอาหารไม่ให้บูดเสี ย รู ้จกคุณค่าของอาหารว่า
                                  ั                                ั
มนุษย์เราต้องการ แป้ ง ไขมัน โปรตีน วิตามิน แร่ ธาตุต่าง ๆ อย่างเพียงพอได้อย่างไรและคิดประดิษฐ์อาหารขึ้นได้
เสาะแสวงหาอาหารให้พอเลี้ยงพลโลกจากแหล่งที่มาจากทะเล อากาศ บนพื้นโลก จากทะเล ได้ผลิตเกลือ
รับประทาน (NaCI) ผลิตไอโอดีนจากสาหร่ ายทะเล ซึ่งเอามาทาวุนและแยกไอโอดีนออก ได้โปรตีนจากสัตว์และ
                                                                            ้
พืชเช่น Algae ในทะเลนามาเป็ นอาหาร
             4.2 เครื่ องนุ่งหุ่ม ได้รู้จกสี ยอมผ้า สมัยก่อนมักใช้สีจากพืชมาย้อมผ้า แต่พอถึง ค.ศ. 1856 William Perkin
                                          ั ้
ได้เริ่ มใช้สีที่เตรี ยมจากถ่านหิ นหรื อสี สังเคราะห์ นอกจากนั้นนักเคมียงรู ้จกวิธีทาไหมเทียม ทาปลาสติก ทาไนลอน
                                                                                ั ั
เพื่อทาเสื้ อผ้าสวย ๆ ใช้ เช่น และสารสังเคราะห์ใช้แทนยาง เป็ นต้น
             4.3 สุ ขภาพอนามัย แต่ก่อนนี้อตราคนตายมีมาก แต่ต่อมาจนปั จจุบนอัตรานั้นได้ลดน้อยลงไป ทั้งนี้เพราะ
                                                ั                                   ั
กินอาหารดีข้ ึน มีที่อยูอาศัยและน้ าบริ โภคดีข้ ึน เช่น น้ าประปาก็ตองใช้ความรู ้ของวิชาเคมีทาให้บริ สุทธิ์ โดยฆ่าเชื่อ
                          ่                                               ้
โรคด้วย CI2 ทาให้ฟันแข็งโดยเติมฟลูออไรด์ลงไปในน้ าดื่ม นอกจากนี้ยงมียาใหม่ ๆ ที่ใช้เป็ นผลดีเป็ นอันมาก เช่น
                                                                                  ั
ยาปฏิชีวนะ ยาพวกซัลฟา ยาสาหรับฆ่าเชื้ อโรค การต้นพบยาชา (Anesthetic) ช่วยให้ศลยกรรมเป็ นผลดียงขึ้น การ
                                                                                           ั                   ิ่
พบคลอโรฟอร์ม โคเคน ก๊าซหัวเราะ อีเทอร์ (ซึ่งเป็ นยาชา) ได้ช่วยชีวตและบรรเทาความปวดทรมานของคนไข้ไว้
                                                                              ิ
เป็ นอันมาก
             4.4 ที่อยูอาศัยและเครื่ องใช้ มีไม้ขีดไฟที่ใช้อยูในปั จจุบนนี้ สบู่ หม้อ
                        ่                                      ่        ั
เครื่ องภาชนะ เครื่ องใช้ไม้สอยที่ทาด้วยโลหะและปลาสติก ก๊าซถ่านหิ น รถยนต์ น้ ามัน ผงซักฟอก เครื่ องก่อสร้าง
เช่นเหล็ก เหล็กกล้า Stainless Steel (Fe + Cr) อะลูมิเนียม ซี เมนต์ คอนกรี ต กระจกแตกไม่บาด (Nonsplintered
glass) ข้อเสื อในเครื่ องยนต์ก็ใช้ทาด้วย Alloy ของเหล็ก (เหล็กผสมกับแมงกานีส) เป็ นต้น
             4.5 การสังเคราะห์ใช้เทียมของจริ ง ยางเทียม ไหมเทียม การบูร ยาควินิน ยารักษาโรค แกรไฟต์ ฯลฯ ล้วน
แต่เป็ นผลิตภัณฑ์ซ่ ึ งทาขึ้นโดยอาศัยวิทยาศาสตร์ ท้ งนั้น ั
             4.6 เครื่ องอานวยความบันเทิง เช่น ภาพยนตร์ โทรทัศน์ การถ่ายรู ป
เป็ นต้น เกิดมีข้ ึนได้เพราะวิทยาศาสตร์ วิชาเคมีสอนให้รู้จกการถ่ายรู ป วิทยุน้ นก็อาศัยความรู ้จากวิทยาศาสตร์
                                                                 ั                    ั
กระดาษ หนังสื อ ฟุตบอล ลูกเทนนิส ลูกปิ งปอง ฯลฯ ล้วนแต่เป็ นผลิตพันธุ์ข้ ึนมาได้โดยอาศัยมาจากวิทยาศาสตร์
ทั้งนั้น (ทองสุ ข พงศทัตและคณะ. 2525 : 7-8)




เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา                                                                               หน้า 12
เสริมพล รัตสุ ข (2526 : 12) ได้กล่าวถึงความจาเป็ นและเหตุผลที่มนุษย์จาเป็ นที่จะต้องนาวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี (โดยเฉพาะเทคโนโลยี) มาใช้ คือ
      1. มีความต้องการที่จะแก้ปัญหาในการดารงชีวิตประจาวัน หรื อปั ญหาในด้าน
                                                                 ่
การประกอบอาชีพ ทั้งนี้เพื่อปรับปรุ งยกระดับฐานะความเป็ นอยูหรื อเพื่อแสวงหากาไรในการค้า ตัวอย่างเช่น
เจ้าของโรงงานสนใจที่จะนาเทคโนโลยีใหม่เข้ามาใช้ เพื่อลดต้นทุนการผลิตและลดปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ชาวนาสนใจ
ที่จะนาก๊าซชีวภาพมาใช้เพราะต้องการทุ่นเวลาในการไปหาฟื น ชาวนาสนใจที่จะใช้รถไถนาเอนกประสงค์เพราะ
ต้องการเพิ่มผลผลิต เป็ นต้น
      2. เล็งเห็นโอกาสในการลงทุน (investment opportunity) เช่นคาดว่าจะมีตลาด
มากสาหรับกะทิสาเร็ จรู ป จึงต้องการเทคโนโลยีการผลิตกะทิสาเร็ จรู ป ฯลฯ
      3. เตรี ยมการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ในอนาคตคาดว่าราคาน้ ามันที่สูงขึ้น
ทุกปี จะทาให้เกิดความต้องการเครื่ องยนต์ ที่ขบเคลื่อนด้วยก๊าซจากถ่านหรื อไม้ (wood gasifier) มากขึ้นจึงต้องการ
                                               ั
พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตก๊าซจากถ่านหรื อไม้
      4. การแข่งขันในด้านการตลาดทาให้ตองเร่ งพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อลดต้นทุนการ
                                             ้
ผลิตพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ปรับปรุ งคุณภาพ ฯลฯ
                               ่
      ในปั จจุบนจึงกล่าวได้วา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมีความสาคัญ และมีความจาเป็ นต่อการพัฒนาในด้านต่าง
                     ั
ๆ ของประเทศ มีขอบเขตการใช้อย่างกว้างขวาง มีผลให้ชิวตมนุษย์ และสิ่ งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มนุษย์
                                                             ิ
                   ่
มีความเป็ นอยูที่สุขสบายขึ้น โรคภัยลดลงหรื อสามารถแก้ปัญหาได้ การเดินทางและการติดต่อสะดวกและรวดเร็ ว
ขึ้น การศึกษาก้าวหน้ากว่าอดีตมากมายนัก ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้เป็ นผลมาจากวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแทบทั้งสิ้ น
      สุ ดท้ าย โชว์วอลเตอร์ (showalter. 1974 : 2) ได้กล่าวถึงคุณสมบัติของการเป็ นผูรู้วิทยาศาสตร์ (scientific
                                                                                    ้
literacy) ซึ่ งสามารถนามาเชื่อมโยงกับประโยชน์ของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีได้ ดังนี้คือ
      1. เข้าใจธรรมชาติความรู้ทางวิทยาศาสตร์
      2. สามารถนามโนทัศน์ หลักสาคัญ กฎ และทฤษฎีที่เหมาะสมไปใช้อย่างถูกต้อง
      3. สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการแก้ปัญหา การตัดสิ นใจ และ
การศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมได้อย่างดี
      4. ยึดมันในค่านิยมที่มีรากฐานมาจากวิทยาศาสตร์
               ่
      5. เข้าใจและซาบซึ้ งในความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีและ
สังคม
      6. พัฒนาความคิดที่แปลกและน่าพอใจ เกี่ยวกับสังคมได้มากว่าคนอื่น อันเป็ น
ผลจากการศึกษาวิทยาศาสตร์ และใฝ่ ใจศึกษาอยูตลอดเวลา่
      7. ได้พฒนาทักษะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง
                 ั



เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา                                                                        หน้า 13
ประวัติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทางตะวันตก
      ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในปั จจุบนเป็ นผลสื บเนื่องมาจากการสะสมความรู้ของ
                                                                      ั
มนุษยชาติมาเป็ นเวลานาน เริ่ มตั้งแต่มนุษย์ยงดารงชีพโดยการล่าสัตว์ดวยอาวุธที่ทาด้วยหิ นจนกระทังพัฒนาวิถีใน
                                                    ั                        ้                             ่
การดารงชีพที่เปลี่ยนแปลงไปจากในอดีตมากมาย                         อมรา ทองปาน และวีระศักดิ์ อุดมโชค (2541 : 2) กล่าวว่า
       ่                                                                                    ่
นับตังแต่มนุษย์ Homo sapiens ได้ถือกาเนิ ดขึ้นมาในโลกนี้เมื่อประมาณ 40,000 ปี ที่ผานมา มนุษย์มีววฒนาการด้าน  ิั
                                      ั         ่
ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่ องมาจนถึงปั จจุบน แม้วาลักษณะโครงร่ างของมนุษย์มิได้มีการเปลี่ยนแปลงหรื อมีววฒนาการจน    ิั
แสดงความแตกต่างจากมนุษย์ในปั จจุบนมากนัก แต่มนุษย์มีววฒนาการด้านอื่น เช่น การเปลี่ยนแปลงด้าน
                                              ั                         ิั
วัฒนธรรมการศึกษาเพื่อหาความรู ้ดานต่าง ๆ จากวิวฒนาการด้านนี้ทาให้สามารถจาแนกการเกิดมนุษย์โบราณตาม
                                        ้                       ั
ลักษณะเครื่ องมือเครื่ องใช้ที่พบเป็ นยุคต่าง ๆ เช่น มนุษย์ยคหิ นเก่าและมนุษย์ยคหิ นใหม่ ดังแสดงในตารางที่ 3
                                                                   ุ                ุ
             ่
กล่าวได้วา การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ ของมนุษย์ยคเริ่ มแรกนั้นเป็ นการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ และ
                                                            ุ
วิทยาศาสตร์ บริ สุทธิ์ นับแต่สิ้นสุ ดยุคน้ าแข็งยุคสุ ดท้ายเมื่อประมาณ 10,000 ปี เป็ นต้นมา มนุษย์ได้เริ่ มศึกษาสังเกต
ธรรมชาติที่รอบ ๆ ตัวเอง โดยเฉพาะอย่างยิงการเกิดกลางวัน กลางคืน ข้างขึ้น ข้างแรม ฤดูกาลต่าง ๆ และการโคจร
                                                  ่
                          ั                 ิ           ่
ของดวงดาว นอกจากนี้ยงศึกษาสิ่ งมีชีวตที่อยูรอบ ๆ ตัวเราด้วย
      ดังนั้น วิทยาศาสตร์ สมัยโบราณเกิดขึ้นควบคู่กบการเกิดอารยธรรมโบราณต่าง ๆ ได้แก่ อารยธรรมเมโสโปเต
                                                              ั
เมีย อารยธรรมอียปต์ อารยธรรมในอเมริ กากลาง และอารยธรรมใน เอเชีย ต่อจากนี้ จึงเข้าสู่ ยคของวิทยาศาสตร์
                    ิ                                                                             ุ
ธรรมชาติ ดาราศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ ซึ่ งเริ่ มมีสูตร ทฤษฎี มีการทดลองนักวิทยาศาสตร์ ในยุคนี้เป็ นนักวิทยาศาสตร์
ในอาณาจักรกรี กทั้งสิ้ น ยุคสุ ดท้ายของวิทยาศาสตร์สมัยโบราณ คือ วิทยาศาสตร์ ที่พฒนาขึ้นในสมัยที่มีเมืองอเล็ก
                                                                                          ั
ซานเดรี ยเป็ นศูนย์กลางการปกครองซึ่งมีการสะสมตารา หนังสื อของวิชาความรู ้ดานต่าง ๆ อย่างมาก มีหอสมุดที่
                                                                                        ้
ใหญ่ที่สุดในโลกของยุคนั้น คือ หอสมุดอเล็กซานเดรี ย
เมื่อถึงสมัยกลาง (Middle Age) ประมาณปี ค.ศ. 476-1453 ความเจริ ญด้านวิทยาศาสตร์ ได้ชะงักงันไปชัวขณะ              ่
เรี ยกว่า "ยุคมืดทางวิทยาศาสตร์ " สื บเนื่องมาจากความเชื่อทางศาสนาที่ขดแย้งกับการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ หาก
                                                                               ั
ผูใดคัดค้านหรื อขัดแย้งกฎเกณฑ์ทางศาสนาก็จะมีโทษถึงตาย วิวฒนาการด้านวิทยาศาสตร์จึงหยุดชะงักไป จนถึง
    ้                                                                      ั
กลางคริ สต์ศตวรรษที่ 15 ซึ่ งเป็ นสมัยฟื้ นฟูศิลปวิทยา (Renaissance) การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ จึงเริ่ มต้นพัฒนาขึ้น
อีกครั้งหนึ่ง ต่อมาศตวรรษที่ 18 ได้มีการปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ ครั้งใหญ่ ทาให้วทยาศาสตร์ สาขาดาราศาสตร์
                                                          ั                           ิ
ภูมิศาสตร์ กายวิภาคศาสตร์ เคมี ฟิ สิ กส์ เจริ ญพัฒนาขึ้น อย่างมาก
ในยุคนี้วทยาศาสตร์ บริ สุทธ์สาขาต่าง ๆ ได้พฒนาขึ้นมาก และจัดเป็ นพื้นฐานของวิชาการสาขาต่าง ๆ อย่างแท้จริ ง
           ิ                                          ั
                                                                                 ั
ซึ่ งสามารถเปรี ยบเทียบความเจริ ญของมนุษย์ตามการศึกษาประวัติศาสตร์ กบการเจริ ญทางวิทยาศาสตร์
      ระยะเวลา สมัยความเจริ ญของมนุษย์ตามประวัติศาสตร์ สมัยความเจริ ญของวิทยาศาสตร์
ตั้งแต่โลกมีมนุษย์จนถึงยุคที่มนุษย์รู้จกการใช้โลหะ
                                          ั




เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา                                                                               หน้า 14
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

More Related Content

What's hot

Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
DuangdenSandee
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
krisdika
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยาฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
อมยิ้ม รสมะขามป้อม
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
oieseau1
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
Jirathorn Buenglee
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
อนุชิต ไชยชมพู
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
Watcharapol Wiboolyasarin
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริงคำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
เกม เกม
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
JiruttiPommeChuaikho
 

What's hot (20)

Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
 
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยาฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริงคำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 

Viewers also liked

มารู้จักอาวุธชีวภาพ
มารู้จักอาวุธชีวภาพมารู้จักอาวุธชีวภาพ
มารู้จักอาวุธชีวภาพ
pgtcpc
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1Montaya Pratum
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แบบวิจัย
โครงงานวิทยาศาสตร์แบบวิจัยโครงงานวิทยาศาสตร์แบบวิจัย
โครงงานวิทยาศาสตร์แบบวิจัยKobwit Piriyawat
 
บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1
warayut jongdee
 
How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1
Namchai Chewawiwat
 
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น 20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
Namchai Chewawiwat
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กApinya Phuadsing
 
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
Namchai Chewawiwat
 
Values of science-20141202
Values of science-20141202 Values of science-20141202
Values of science-20141202
Namchai Chewawiwat
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์Apinya Phuadsing
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์
New Sinsumruam
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมApinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าApinya Phuadsing
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตTor Jt
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
JA Jaruwan
 

Viewers also liked (20)

มารู้จักอาวุธชีวภาพ
มารู้จักอาวุธชีวภาพมารู้จักอาวุธชีวภาพ
มารู้จักอาวุธชีวภาพ
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แบบวิจัย
โครงงานวิทยาศาสตร์แบบวิจัยโครงงานวิทยาศาสตร์แบบวิจัย
โครงงานวิทยาศาสตร์แบบวิจัย
 
บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1
 
Img 0001
Img 0001Img 0001
Img 0001
 
How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1
 
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น 20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
 
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
 
Values of science-20141202
Values of science-20141202 Values of science-20141202
Values of science-20141202
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
เทคโนโลยีในโลกอนาคต
เทคโนโลยีในโลกอนาคตเทคโนโลยีในโลกอนาคต
เทคโนโลยีในโลกอนาคต
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 

Similar to ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
Taweesak Poochai
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
Wijitta DevilTeacher
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นอรุณศรี
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
kulwadee
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
kanwan0429
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
kanwan0429
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
SAKANAN ANANTASOOK
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
kulwadee
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
Marine Meas
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์keatsunee.b
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
juriporn chuchanakij
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
Weerachat Martluplao
 
20130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์3
20130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์320130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์3
20130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์3
Pohramath Petchoo
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 

Similar to ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (20)

Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้น
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
เอกสารประกอบการเรียน
เอกสารประกอบการเรียนเอกสารประกอบการเรียน
เอกสารประกอบการเรียน
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
20130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์3
20130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์320130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์3
20130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์3
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 

More from ชิตชัย โพธิ์ประภา

ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยารายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจ
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
วานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญาวานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญา
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
สมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษสมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษ
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
วิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้งวิหคสีรุ้ง
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 25566รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ปอซอ
ปอซอปอซอ

More from ชิตชัย โพธิ์ประภา (20)

ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59
 
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยารายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
 
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
 
ทหารหาญ
ทหารหาญทหารหาญ
ทหารหาญ
 
ยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจ
 
วานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญาวานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญา
 
สมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษสมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษ
 
วิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้งวิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้ง
 
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
 
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
 
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
 
1โครงการขยายผล สอวน
1โครงการขยายผล สอวน1โครงการขยายผล สอวน
1โครงการขยายผล สอวน
 
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 25566รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
 
ตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงานตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงาน
 
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงานรายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
 
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
 
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
 
ปอซอ
ปอซอปอซอ
ปอซอ
 

ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  • 1. ความหมายของวิทยาศาสตร์ คาว่า วิทยาศาสตร์ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า "Science" ซึ่ งมาจากศัพท์ภาษาลาตินว่า "Scientia" แปลว่า ความรู ้ (Knowledge) ได้มีผให้ความหมายไว้หลากหลายดังนี้ ู้ ่ ผดุงยศ ดวงมาลา (2523 : 1) กล่าวว่า ถ้าจะให้นิยามความหมายของวิทยาศาสตร์ วา "ความรู้" ตามความหมายที่ แปลมาจากภาษาลาติน ดูเหมือนว่าจะมีความหมายที่ส้ ันและแคบจนเกินไป เพราะธรรมชาติหรื อแก่นสารที่แท้จริ ง ของวิทยาศาสตร์ น้ นไม่ได้หมายถึงความรู ้เนื้ อหาวิทยาศาสตร์ แต่เพียงอย่างเดียว แต่หมายถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ั และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ดวย ซึ่ งหมายความว่าในการเรี ยนวิทยาศาสตร์ น้ นผูเ้ รี ยนจะต้องได้ท้ งตัวความรู ้ ้ ั ั วิทยาศาสตร์ วิธีการ และเจตคติวทยาศาสตร์ ไปพร้อม ๆ กัน ิ พัชราภรณ์ พสุ วต (2522 : 3) อธิ บายว่า วิทยาศาสตร์ คือ วิชาที่มีเนื้อหาสาระซึ่ งเป็ นเรื่ องราวของสิ่ งแวดล้อม ั ปรากฎการณ์ธรรมชาติ ซึ่งมนุษย์ได้รวบรวมความจริ ง (facts) เหล่านั้นเพื่อนามาประมวลเป็ นความรู ้ (knowledge) และตั้งเป็ นกฎเกณฑ์ (principles) ขึ้น ่ ชานาญ เชาวกีรติพงศ์ . (2534 : 5) ได้ให้ความหมายของวิทยาศาสตร์ วาหมายถึง ความรู้ที่แสดงหรื อพิสูจน์ได้ ว่าถูกต้องเป็ นความจริ ง จัดไว้เป็ นหมวดหมู่ มีระเบียบและขั้นตอน สรุ ปได้เป็ นกฎเกณฑ์สากล เป็ นความรู้ที่ได้มา โดยวิธีการที่เริ่ มต้นด้วยการสังเกต และ/หรื อ การจัดที่เป็ นระเบียบมีข้ นตอน และปราศจากอคติ ซึ่ งสอดคล้องกับ ั การให้ความหมายของ The Columbia Encyclopedia (อ้างถึงใน สมจิต สวธนไพบูลย์ 2535 : 93) ซึ่ งอธิ บายว่า วิทยาศาสตร์ เป็ นการรวบรวมความรู ้อย่างมีระบบ ความรู ้ที่ได้รวบรวมไว้น้ ี เป็ นความรู ้เกี่ยวกับปรากฏการณ์ ธรรมชาติ ความเจริ ญก้าวหน้าทาง วิทยาศาสตร์ ที่เกิดขึ้นนั้น มิได้หมายถึงเฉพาะการรวบรวมข้อเท็จจริ งเพียงสภาพ พลวัต หรื อมีการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาและตามสภาพการกระตุนจากภายในหรื อจากสภาพภายนอก ความรู้ทาง ้ วิทยาศาสตร์ เกิดจากการสังเกตธรรมชาติและการวิเคราะห์วจย วิทยาศาสตร์จึงเป็ นสากลเพราะเป็ นปรากฏการณ์ทาง ิั ธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นด้วยหลักการเดียวกัน วิทยาศาสตร์ จึงไม่ถูกจากัดด้วยเวลา สถานที่ และวัฒนธรรม อีกท่านหนึ่งที่ได้ให้ความหมายของวิทยาศาสตร์ ไว้อย่างละเอียดและชัดเจน คือ มังกร ทองสุ ขดี (ม.ป.ป. : 1-2) ว่า วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู ้เกี่ยวกับธรรมชาติที่อยูรอบ ๆ ตัวเรา ซึ่ งมนุษย์ได้ศึกษาค้นคว้าสะสมมาตั้งแต่อดีต ่ จนกระทังถึงปั จจุบน และจะศึกษาต่อไปในอนาคตอย่างไม่รู้จกจบสิ้ น มนุษย์ได้พยายามศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อม ่ ั ั ว่า 1. สิ่ งต่าง ๆ มีความเป็ นมาอย่างไร 2. สิ่ งเหล่านั้นมีความสัมพันธ์ต่อกันอย่างไรบ้าง 3. พัฒนาการของสิ่ งเหล่านั้นมีระเบียบแบบแผน หรื อมีหลักเกณฑ์อย่างไร และ จะบังเกิดขึ้นในอนาคตอย่างไร 4. มนุษย์จะนาความรู ้ท้ งหลายมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง ั ยิงกว่านั้นวิทยาศาสตร์ ยงเป็ นความรู ้เกี่ยวกับข้อเท็จจริ งที่ทดสอบได้เป็ นความรู ้ที่มีขอบเขต มีระเบียบ กฎเกณฑ์ ่ ั เป็ นความรู้ที่มีรากฐาน มาจาการสังเกต การจดบันทึก การตั้งสมมุติฐาน โดยใช้หลักฐานทางปรัชญา และ เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา หน้า 1
  • 2. ตรรกศาสตร์ แล้วพยายามวัดหรื อหาค่าออกมาทั้งในด้านคุณค่า (นามธรรม) และปริ มาณ (รู ปธรรม) ถ้าจะเปรี ยบ วิทยาศาสตร์ เสมือนต้นไม้ใหญ่แล้วรากแก้วที่สาคัญ 3 ราก คือ วิชาปรัชญา ตรรกศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ พร้อมกันนี้ สุ วฒก์ นิยมค้า (2531 : 105-107) ได้รวบรวมทัศนะต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับความหมายของวิทยาศาสตร์ จาก ั นักวิทยาศาสตร์ และนักการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ไว้ดงนี้ คือ ั 1. แนช (Nash) นักเคมีกล่าวว่า วิทยาศาสตร์ เป็ นวิถีทางอย่างหนึ่งของการเข้า ไปสารวจโลก ซึ่งถือเป็ นการมองวิทยาศาสตร์ในฐานะกระบวนการ 2. วิกเนอร์์ (Wigner) นักฟิ สิ กส์กล่าวว่า วิทยาศาสตร์ คือ ความรู ้ของ ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ได้สะสมไว้ ซึ่งถือเป็ นการมองวิทยาศาสตร์ในฐานะตัวความรู้ 3. บูเบ์้ (Bube) นักฟิ สิ กส์ กล่าวว่า วิทยาศาสตร์ คือ ความรู ้ของโลกธรรมชาติ ั ซึ่ งได้มาโดยผ่านการปะทะสังสรรค์กบประสาทสัมผัส ซึ่ งถือเป็ นการมองวิทยาศาสตร์ ในฐานะตัวความรู ้กบ ั กระบวนการ โดยเน้นว่า กระบวนการที่ขาดไม่ได้ คือ การสังเกต 4. ฟิ ชเชอร์ (Fischer) คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและคณิ ตศาสตร์ วิทยาลัยแห่งรัฐแคลิฟอเนีย กล่าวว่า วิทยาศาสตร์คือ องค์ของความรู้ ซึ่งได้มาโดยวิธีการวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยการ สังเกตเป็ นพื้นฐาน 5. สแตฟฟอร์ ด และคณะ (Stafford and others) นักการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ได้ให้ความหมายของ วิทยาศาสตร์ไว้ 6 ประการ ดังนี้ คือ 5.1 วิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับการมีประสบการณ์ตรงกับปรากฏการณ์ของ ธรรมชาติ (วัตถุและเหตุการณ์ที่แวดล้อมเราอยู) แล้วมีการรวบรวมรายละเอียดปลีกย่อยเกี่ยวกับวัตถุและเหตุการณ์ ่ นั้น ๆ 5.2 วิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับการจัดกระทาข้อมูลและการตีความหมาย ข้อมูลที่ได้ 5.3 วิทยาศาสตร์ มีธรรมชาติเป็ นคู่แฝด ด้านหนึ่ งนั้นเป็ นการสะสมความรู ้ที่ได้ผานการทดลองแล้ว และอีก ่ ด้านหนึ่งจะเป็ นวิธีการค้นหาความรู้ 5.4 วิทยาศาสตร์มีธรรมชาติที่ทาทายความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์ ้ 5.5 วิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับความพยายาม ที่จะอธิ บายปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น หรื ออธิบายกฎเกณฑ์ที่ได้จากปรากฏการณ์น้ น รวมทั้งการขยายความรู ้ให้กว้างออกไปเลยจากประสบการณ์ ั ที่ได้รับ 5.6 ความรู ้วทยาศาสตร์ ที่ได้รับเพิ่มนั้น มีลกษณะสื บต่อจากความรู ้เก่าที่มี ิ ั คนค้นพบไว้แล้ว นักวิทยาศาสตร์ คนใหม่ จะอาศัยความรู้และความคิดของนักวิทยาศาสตร์ คนก่อน ๆ เป็ นบันได ก้าวไปหาความรู ้ใหม่ต่อไป เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา หน้า 2
  • 3. 6. จาคอบสั นและเบอร์ กแมน (Jacobson & Bergman) ได้อธิบายธรรมชาติและ ่ โครงสร้างของวิทยาศาสตร์ วา ประกอบด้วย 3 ส่ วน คือ 6.1 ส่ วนที่เป็ นความจริ งพื้นฐาน ที่ไม่ตองพิสูจน์ (assumptions in science) ้ 6.2 ส่ วนที่เป็ นวิธีการ และกระบวนการวิทยาศาสตร์ (methods and processes of science) 6.3 ส่ วนที่เป็ นตัวความรู ้ (broad generalizations of science) จากการทีมีผ้ ูให้ ความหมายของวิทยาศาสตร์ ไว้ หลากหลายสรุ ปได้ 4 ประเด็นดังนี้ คือ ่ 1. จากความหมายของรากศัพท์ของวิทยาศาสตร์ จากภาษาลาติน หมายถึง องค์ความรู ้ที่มีระบบและจัดไว้อย่างเป็ นระเบียบแบบแผน 2. จากการวิเคราะห์ประวัติการค้นพบของนักวิทยาศาสตร์ น้ น วิทยาศาสตร์ ั ประกอบด้วยส่ วนที่เป็ นตัวความรู ้ของธรรมชาติที่คนพบกับส่ วนที่เป็ นวิธีการเฉพาะที่ใช้ในการสื บเสาะหาความรู ้ ้ นั้นมา 3. จากการให้ความหมายตามทัศนะของนักวิทยาศาสตร์ จะมี 3 ประเด็น คือ 3.1 มองวิทยาศาสตร์ในฐานะที่เป็ นกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ของ ธรรมชาติ 3.2 มองวิทยาศาสตร์ในฐานะที่เป็ นองค์ความรู้ธรรมชาติ 3.3 มองวิทยาศาสตร์ เป็ นทั้งองค์ความรู ้ของธรรมชาติ และกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ของธรรมชาติ 4. จากการให้ความหมายตามทัศนะของนักการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ น้ น วิทยา ั ศาสตร์มีลกษณะเป็ น 2 มิติ ควบคู่กนไป คือ มิติทางด้านองค์ความรู้ของธรรมชาติ และ มิติทางด้านกระบวนการที่ใช้ ั ั สื บเสาะหาความรู ้น้ นั เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา หน้า 3
  • 4. ความหมายของเทคโนโลยี คาว่า เทคโนโลยี ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า "Technology" ซึ่ งมาจากภาษากรี กว่า "Technologia" แปลว่า การ กระทาที่มีระบบ อย่างไรก็ตามคาว่า เทคโนโลยี มักนิยมใช้ควบคู่กบคาว่า วิทยาศาสตร์ โดยเรี ยกรวม ๆ ว่า ั "วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" ซึ่งพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน (2539 : 406) ได้ให้ความหมายของ เทคโนโลยี คือ วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนาเอาวิทยาศาสตร์ ประยุกต์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบติและ ั อุตสาหกรรม นอกจากนั้นยังมีผให้ความหมายของเทคโนโลยีไว้หลากหลาย ดังนี้ คือ ู้ ่ ผดุงยศ ดวงมาลา (2523 : 16) ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยีวาปั จจุบนมีความหมายกว้างกว่ารากศัพท์เดิม ั คือ หมายถึงกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องจักรกล สิ่ งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ทาง อุตสาหกรรม ถ้าในแง่ของความรู ้ เทคโนโลยีจะหมายถึง ความรู ้หรื อศาสตร์ ที่เกี่ยวกับเทคนิ คการผลิตในอุตสาหกรรม และกิจกรรมอื่น ๆ ที่จะ เอื้ออานวยต่อการดารงชีวตของมนุษย์ หรื ออาจสรุ ปว่า เทคโนโลยี คือ ความรู ้ที่มนุษย์ใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ให้เกิด ิ ่ ประโยชน์แก่มนุษย์เอง ทั้งในแง่ความเป็ นอยูและการควบคุมสิ่ งแวดล้อม สิ ปปนนท์ เกตุทต (ม.ป.ป. 81) อธิ บายว่า เทคโนโลยี คือ การนาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ และศาสตร์ อื่น ๆ มา ั ผสมผสานประยุกต์ เพื่อสนองเป้ าหมายเฉพาะตามความต้องการของมนุษย์ดวยการนาทรัพยากรต่าง ๆ มาใช้ในการ ้ ผลิตและจาหน่ายให้ต่อเนื่ องตลอดทั้งกระบวนการ เทคโนโลยีจึงมักจะมีคุณประโยชน์และเหมาะสมเฉพาะเวลา และสถานที่ และหากเทคโนโลยีน้ นสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม ั เทคโนโลยีน้ นจะเกื้อกูลเป็ นประโยชน์ท้ งต่อบุคคลและส่ วนรวม หากไม่สอดคล้องเทคโนโลยี นั้น ๆ จะก่อให้เกิด ั ั ปัญหาตามมามหาศาล ธรรมนูญ โรจนะบุรานนท์ (2531 : 170) กล่าวว่า เทคโนโลยี คือ ความรู ้วชาการรวมกับความรู ้วธีการ และ ิ ิ ความชานาญที่สามารถนาไปปฏิบติภารกิจให้มีประสิ ทธิ ภาพสู ง โดยปกติเทคโนโลยีน้ นมีความรู ้วทยาศาสตร์ ั ั ิ ่ ้ รวมอยูดวย นั้นคือวิทยาศาสตร์ เป็ นความรู้ เทคโนโลยีเป็ นการนาความรู้ไปใช้ในทางปฏิบติ จึงมักนิยมใช้สองคา ั ด้วยกัน คือ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อเน้นให้เข้าใจว่า ทั้งสองอย่างนี้ตองควบคู่กนไปจึงจะมีประสิ ทธิ ภาพสู ง ้ ั ่ ส่ วน ชานาญ เชาวกีรติพงศ์ (2534 : 5) ได้ให้ความหมายสั้น ๆ ว่า เทคโนโลยี หมายถึง วิชาที่วาด้วยการ ประกอบวัตถุเป็ นอุตสาหกรรม หรื อวิชาช่างอุตสาหกรรม หรื อการนาเอาวิทยาศาสตร์ มาใช้ในทางปฏิบติ ั ่ จากการที่มีผให้ความหมายของเทคโนโลยีไว้หลากหลาย สรุ ปได้วา เทคโนโลยี หมายถึง วิชาที่นาเอาวิทยาการทาง ู้ วิทยาศาสตร์และศาสตร์ อื่น ๆ มาประยุกต์ใช้ตามความต้องการของมนุษย์ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม เป็ นต้น ซึ่ง ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงกล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยีเป็ นภาษาง่าย ๆ ว่า หมายถึง การรู้จกนามาทา ั ให้เป็ นประโยชน์นนเอง (เย็นใจ เลาหวณิ ช. 2530 : 67) ั่ เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา หน้า 4
  • 5. องค์ ประกอบของวิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะให้เข้าใจความหมายของวิทยาศาสตร์ ได้ชดเจนเพิมขึ้นจาเป็ นที่จะต้องรู ้ถึง องค์ประกอบของ ั ่ วิทยาศาสตร์ ซึ่งเครื อวัลย์ โพธิพนธ์ (2542 : 4) ได้แบ่งองค์ประกอบเป็ น 3 ส่ วน ดังนี้คือ ั 1. ส่ วนทีเ่ ป็ นผลจากผลงานของนักวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็ นผลที่ยติแล้วและได้ถูกสะสมเรี ยบเรี ยงเป็ นระบบความรู้ ุ เกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมทางภาพของมนุษย์ 2. เป็ นองค์ แห่ งความรู้ หรือองค์ เนือหาของวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้ วย ้ 2.1 ข้อเท็จจริ ง (Fact) 2.2 หลักการ (Principle) 2.3 แนวคิด (Concept) 2.4 สมมติฐาน (Hypothesis) 2.5 ทฤษฎี (Theory) 2.6 กฎ (Law) 3. เป็ นความรู้ ทได้ จากการค้ นหาความลีลบทางธรรมชาติ โดยใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ี่ ้ั ซึ่งความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ เกิดจากการตั้งปั ญหาถามตัวเองอยู่ 3 ประการคือ มีอะไรเกิดขึ้นบ้าง เกิดขึ้นได้อย่างไรและทาไมจึงเกิด และใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการค้นหาคาตอบซึ่ งได้มาจากองค์แห่งความรู ้ ลักษณะเฉพาะของวิทยาศาสตร์ ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ มีลกษณะเฉพาะบางประการที่ไม่เหมือนศาสตร์ อื่น ๆ ดังเช่นที่ได้มีผกล่าวถึงลักษณะ ั ู้ ของวิทยาศาสตร์ ไว้ต่อไปนี้ เฮิร์ด (Hurd 1971 : 18-19) กล่าวถึงลักษณะเฉพาะของวิทยาศาสตร์ สรุ ปได้ดงนี้ ั 1. ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ ถือเป็ นเพียงความจริ งชัวคราวที่จะต้องแก้ไขขัดเกลาอยูเ่ สมอ ไม่มีความจริ งทาง ่ วิทยาศาสตร์ กฎ มโนทัศน์ หรื อทฤษฎีใด ๆ ที่ถูกต้องแน่นอนจนไม่สามารถจะแก้ไขปรับปรุ งได้ 2. มีความคิดขัดแย้งกันตลอดเวลาในผลงานทางวิทยาศาสตร์ อันเป็ นเหตุให้มีแนวคิด ผลิตผล สิ่ งประดิษฐ์ หรื อข้อค้นพบใหม่ ๆ ทางวิทยาศาสตร์ เกิดขึ้นอยูเ่ สมอ โซวอลเตอร์ และคณะ (Showalter and others อ้างถึงใน สุ เทพ อุสาหะ 2526 :15-16) ได้กล่าวถึงลักษณะของความรู้ ่ ทางวิทยาศาสตร์ วาประกอบไปด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. เป็ นความจริ งชัวคราว ไม่มีความเป็ นอมตะในวิทยาศาสตร์ ่ 2. เป็ นสาธารณะ ทุกคนสามารถสังเกตหรื อทดสอบได้ ่ 3. ทาให้เกิดขึ้นใหม่ได้ ภายในภาวะคล้ายกัน แม้วาเวลาและสถานที่จะเปลี่ยนไป 4. เป็ นเรื่ องของโอกาสที่จะเป็ นไปได้ 5. เป็ นผลของความพยายามของมนุษย์ที่จะทาความเข้าใจหรื อหาแบบแผนของธรรมชาติ เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา หน้า 5
  • 6. 6. ความรู ้วทยาศาสตร์ ในอดีตเป็ นพื้นฐานในการพบความรู ้ใหม่ ๆ ในปั จจุบน และความรู้ในปัจจุบนจะเป็ น ิ ั ั พื้นฐานในการค้นพบสิ่ งใหม่ ในอนาคต 7. มีลกษณะเฉพาะตัวคือได้จากวิธีการเสาะแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ั 8. มีความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันคือ ความรู ้วทยาศาสตร์ จะช่วยเสริ มมโนทัศน์อื่น ๆ ิ 9. วิทยาศาสตร์ ในการแสวงหาความรู ้อย่างมีระบบ ปราศจากอคติ ปราศจากผลตอบแทน ส่ วนคาว่า "เทคโนโลยี" เป็ นเรื่ องของการนาความรู้ ความเข้าใจธรรมชาติ มาใช้ให้เป็ นประโยชน์ต่อการดารงชี วตของมนุษย์ ิ โดยมุ่งแสวงหากระบวนการและรู ปแบบในการประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ สภาพแวดล้อม เพื่อประโยชน์ท้ งต่อบุคคลและส่ วนรวม ข้อแตกต่างอีกประการหนึ่งก็คือ วิทยาศาสตร์ ไม่ตกอยู่ ั ภายใต้อิทธิ พลของปั จจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่ งแวดล้อม มากเท่ากับเทคโนโลยี ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็ น ส่ วนรวมของชาวโลกที่เผยแพร่ ทวไปโดยไม่มีการซื้ อขาย ส่ วนความรู ้ทางเทคโนโลยีเป็ นสิ นค้าอย่างหนึ่งที่มีราคา ั่ ซื้ อขายกันในตลาด (เสริ มพล รัตสุ ข. 2526 : 3-4) ความสั มพันธ์ ของวิทยาศาสตร์ กบเทคโนโลยี ั จากความหมายของคาว่า "วิทยาศาสตร์ " และความหมายของคาว่า "เทคโนโลยี" ที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่า ่ ่ วิทยาศาสตร์ เป็ นความรู ้ที่นาไปใช้อธิ บายได้วา ทาไมจึงเป็ นอย่างนั้น เช่น นักชีววิทยาจะอธิบายได้วา ทาไมเมื่อขวั้น และขูดเปลือกของพืชยืนต้นออกจะมีรากงอกออกมาได้ นักฟิ สิ กส์ก็จะอธิ บายได้วา ทาไมเมื่อขดลวดตัด ่ ่ สนามแม่เหล็ก จึงมีกระแสไฟฟ้ าเกิดขึ้น เป็ นต้น ส่ วนเทคโนโลยีน้ นจะเป็ นความรู ้วาจะทาอย่างไร ตัวอย่างเช่น จะ ั ขยายพันธุ์พืชโดยการตอนได้อย่างไร จะผลิตกระแสไฟฟ้ านามาใช้ประโยชน์ได้อย่างไร จะผลิตอุปกรณ์เครื่ องใช้ เครื่ องอานวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ โดยนาไฟฟ้ ากระแสมาใช้ได้อย่างไร เหล่านี้ เป็ นต้น ่ จะเห็นได้วาวิทยาศาสตร์ เป็ นตัวความรู ้ ส่ วนเทคโนโลยีน้ นเป็ นการนาความรู ้ไปใช้ในทางปฏิบติให้เกิดสิ่ งที่ ั ั เป็ นรู ปธรรมได้ วัดได้ หรื อจับต้องได้ โดยการนาทรัพยากรธรรมชาติ ต่าง ๆ มาใช้ในทางปฏิบติ ั ความสั มพันธ์ ระหว่างวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แสดงด้ วยภาพดังต่ อไปนี้ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ + ทรัพยากรธรรมชาติ --------------> เทคโนโลยี ภาพที่ 2 แผนภูมิความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (เพียร ซ้ ายขวัญ. 2536. 111) < ธรรมนูญ โรจนะบุรานนท์ (2531 : 171-172) กล่าวว่า เทคโนโลยีสมัยใหม่จาเป็ นต้องมีความรู ้วทยาศาสตร์ ิ เป็ นระบบต่อเนื่องเป็ นฐานรองรับมิใช่แต่เพียงอาศัยประสบการณ์หรื อวิทยาศาสตร์ สังเกตเท่านั้น และความรู้หรื อ ่ ทฤษฎีใหม่ทางวิทยาศาสตร์ ที่ถูกค้นพบก็มิใช่วาจะถูกนาไปพัฒนาเป็ นเทคโนโลยีใหม่ตามมาเสมอไป ความรู้และ ทฤษฎีวทยาศาสตร์ บางอย่างแม้จะถูกค้นพบมานานก็ยงคงเป็ นความรู ้พ้ืนฐานสะสมไว้เหมือนเดิม ทั้งนี้เพราะความรู ้ ิ ั เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา หน้า 6
  • 7. วิทยาศาสตร์ บางอย่างเป็ นไปเพื่อความรู ้ความสนใจจริ ง ๆ ไม่ได้เกิดมาจากปั ญหาเฉพาะหน้า หรื อสถานการณ์ บังคับเพื่อแก้ปัญหาสังคมและเศรษฐกิจ ไม่มีแรงผลักดันให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีข้ ึนมา ความรู้วทยาศาสตร์ิ บางอย่างเกิดขึ้นมานานกว่าจะถูกพัฒนาขึ้นมาเป็ นเทคโนโลยี เช่น ความรู ้ทางฟิ สิ กส์สุริยะมีมานานก่อนที่จะพัฒนา ่ เป็ นเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ ทั้งนี้เพราะแต่เดิมโลกไม่ขาดแคลนพลังงาน จึงเห็นได้วา ช่วงเวลาระหว่างการ ั ค้นพบความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ กบเทคโนโลยีที่ได้พฒนาขึ้นมานั้น อาจสั้นหรื อยาว ก็แล้วแต่ความเร่ งด่วนทาง ั เศรษฐกิจและสังคมและความยากง่ายของความรู ้วทยาศาสตร์ น้ น ๆ บางครั้งเทคโนโลยีใหม่ก็พฒนามาจากความรู ้ ิ ั ั ทางวิทยาศาสตร์ ด้ งเดิมได้ เช่น พวกอุปกรณ์เครื่ องไฟฟ้ าบางอย่าง เช่นกระทะไฟฟ้ า หม้อหุงข้าวไฟฟ้ าอัตโนมัติ ั เป็ นต้น และความรู ้วทยาศาสตร์ จะไม่สามารถใช้ประโยชน์ดานปฏิบติได้ ถ้าไม่มีการนาความรู ้น้ นไปประยุกต์ใช้ ิ ้ ั ั เมื่อก่อนวิทยาศาสตร์ ไม่ตองอาศัยเทคโนโลยีมากนัก แต่ปัจจุบนทั้งสองวิชานี้ ตองพึ่งพาซึ่ งกันและกัน ้ ั ้ วิทยาศาสตร์ตอนแรก ๆ ใช้เพียงวิธีสังเกตและเหตุผล เมื่อต้องทดลองบ้างก็เริ่ มใช้เครื่ องมือ เมื่อการทดลองยุงยาก ่ ขึ้น ความต้องการเครื่ องมือก็มีมากขึ้น เครื่ องมือจะต้องดีและมีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้นด้วย การทดลองทางวิทยาศาสตร์ ในระยะสั้น ๆ นี้ ต้องอาศัยเทคโนโลยี เช่น การวิจยเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ และอวกาศ เป็ นต้น จึงกล่าวได้วา ั ่ ปัจจุบนวิทยาศาสตร์พ่ ึงเทคโนโลยี ไม่นอยกว่าเทคโนโลยีพ่ ึงวิทยาศาสตร์ ปัจจุบนความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ได้กาวไป ั ้ ั ้ ไกลและกว้างขวางมาก ปี หนึ่ง ๆ มีรายงานเสนอผลของการวิจยพิมพ์ออกมาไม่นอยกว่าล้านเรื่ อง ใครต้องการ ั ้ ความรู ้เหล่านั้นก็หาได้ง่าย ผิดกับความรู ้ทางเทคโนโลยี ซึ่ งหาได้ยากกว่ามาก เทคโนโลยีสร้างขึ้นมาต้องอาศัย ั วิทยาศาสตร์ แต่วทยาศาสตร์ เกิดขึ้นโดยไม่ได้อาศัยเทคโนโลยี ต่อมาทั้งสองวิชาเริ่ มมีความสัมพันธ์กนมากขึ้น ิ ถึงแม้บางเรื่ องต่างเจริ ญด้วยตนเอง แต่เทคโนโลยีก็ตองอาศัยวิทยาศาสตร์ มากกว่าและมีความเจริ ญก้าวหน้าตาม ้ วิทยาศาสตร์ ไม่ทน (ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์ และ ธนกาญจน์ ภัทรากาญจน์, 2530 : 11) ั ่ ถึงแม้วาเทคโนโลยีจะถือกาเนิดมาจากวิทยาศาสตร์ ดังกล่าวข้างต้นก็ตาม แต่มีขอควรพิจารณาที่สาคัญหลาย ้ ประการดังที่ เพียร ซ้ายขวัญ (2536 : 111-112) กล่าวไว้ดงนี้ คือ ั 1. เมื่อมีการค้นพบความรู ้ใหม่ทางวิทยาศาสตร์ ก็มิได้หมายความว่า จะต้องมี เทคโนโลยีใหม่เกิดขึ้นเสมอ โดยปกติจะมีช่วงเวลาเหลื่อมระหว่างการค้นพบความรู ้ใหม่ทางวิทยาศาสตร์ น้ น ั ช่วงเวลาดังกล่าวจะสั้นหรื อยาวหลายสิ บปี หรื อ 100 ปี ก็ได้ สุ ดแท้แต่ความยากง่ายของความรู ้ใหม่ ความต้องการ ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ ทางสังคมและอื่น ๆ ซึ่งจะเป็ นปัจจัยหรื อแรงผลักดันที่ทาให้มีการพยายามพัฒนา เทคโนโลยี 2. เทคโนโลยีใหม่ ๆ นั้น อาจอาศัยความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ ด้ งเดิมก็ได้ เช่น ั หม้อหุ งข้าวไฟฟ้ า เครื่ องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เกี่ยวกับแสงเลเซอร์ เป็ นเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับไฟฟ้ าอิเล็กทรอนิคส์ และคลื่นแสง ซึ่ งไม่ใช่ความรู ้ใหม่ทางวิทยาศาสตร์ แต่อย่างใด สรุ ปได้ ว่า ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ จะไม่มีคุณค่า ถ้าหากปราศจากเทคโนโลยีมาเชื่อมโยง และเทคโนโลยีที่ ปราศจากความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ เป็ นพื้นฐานก็ไม่สามารถจะนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างสู งสุ ด เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา หน้า 7
  • 8. ขอบเขตและสาขาวิชาของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ขอบเขตและสาขาวิชาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่ วนใหญ่แล้วจะมีผแบ่งไว้ไม่แตกต่างกันมากนัก สรุ ป ู้ ได้เป็ นสาขาใหญ่ได้ 3 สาขา ดังนี้ คือ 1. วิทยาศาสตร์ ธรรมชาต์ิ (Natural Sciences) เป็ นวิทยาศาสตร์ บริ สุทธิ์ (Pure ่ Science) หรื อวิทยาศาสตร์ ข้ นมูลฐาน (Basic Science) เป็ นวิชาที่กล่าวถึงเรื่ องราวและสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดอยูใน ั ธรรมชาติทวไป ซึ่ งแวดล้อมตัวเรา ซึ่ งเกี่ยวข้องกับสิ่ งมีชีวิตและไม่มีชีวต พลังงาน และวัตถุต่าง ๆ ที่มีในเอกภาพ ั่ ิ ซึ่ งแบ่งออกเป็ นสาขาต่าง ๆ ดังนี้ 1.1 ฟิ สิ กส์ (Physics) 1.2 เคมี (Chemistry) 1.3 ชีววิทยา (Biology) 1.4 ดาราศาสตร์ (Astronomy) บางตาราแบ่งสาขาย่อยของวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ ออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ก. วิทยาศาสตร์ทางกายภาพ (Physical Science) ได้แก่ เคมี ฟิ สิ กส์ คณิ ตศาสตร์ ธรณี วทยา เป็ นต้น ิ ข. วิทยาศาสตร์ทางชีวภาพ (Biological Science) ได้แก่ การศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งมีชีวต เช่น พฤกษศาสตร์ ิ (Botany) และสัตวศาสตร์ (Zoology) เป็ นต้น 2. วิทยาศาสตร์ สังคม (Social Sciences) เป็ นวิทยาศาสตร์ ที่กล่าวถึงชีวตที่เกี่ยว ิ ข้องกับทางสังคมต่าง ๆ หรื อเรื่ องราวของการสังคมในมวลมนุษย์โดยเฉพาะ ซึ่ งแบ่งออกเป็ นสาขาต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 จิตวิทยาและพฤติกรรมศาสตร์ (Psychology and Behavioral Science) 2.2 เศรษฐศาสตร์ (Economics) 2.3 รัฐศาสตร์ (Political Science) 2.4 ศึกษาศาสตร์ (Education) 2.5 สังคมวิทยา (Sociology) เป็ นต้น 3. วิทยาศาสตร์ ประยุกต์ (Applied Science) หรื อ วิชา เทคโนโลยี (Technology) คือวิชาที่นาเอาผลของวิชาวิทยาศาสตร์ทางธรรมชาติและสังคมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในการดารง ชีพของมนุษย์ ซึ่ งแบ่งออกเป็ นสาขาต่าง ๆ ดังนี้ 3.1 แพทย์ศาสตร์ (Medicine) 3.2 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) 3.3 เกษตรศาสตร์ (Agriculture Science) 3.4 วิทยาศาสตร์การแพทย์ (Medical Science) 3.5 เภสัชศาสตร์ (Pharmacology) 3.6 ทันตแพทยศาสตร์ (Dentistry) เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา หน้า 8
  • 9. 3.7 สัตวแพทยศาสตร์ (Veterinary) 3.8 วนศาสตร์ (Agrotorestry) 3.9 การประมง (Fisheries) ส่ วน ปรี ชา วงศ์ชูศิริ (2532 : 16) ได้แบ่งแยกวิทยาศาสตร์ เป็ นสาขาต่าง ๆ โดยใช้เหตุผลในเชิงวิธีวทยา ตาม ิ หลักข้อเท็จจริ ง ซึ่ งมีทฤษฎีเชิงแบบแผนเป็ นข้อสมมติฐานล่วงหน้าไว้ ดังนี้ สาหรับทบวงมหาวิทยาลัย (2529 : ไม่ มีเลขหน้ า) ได้จดกลุ่มสาขาวิชาที่เปิ ดสอนระดับปริ ญญาตรี ใน ั สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน ในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัยตามหลักการจาแนกการศึกษาตามมาตรฐานสากล ขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ โดยแบ่งเป็ น 10 กลุ่มสาขาวิชา สาหรับกลุ่ม สาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มีสาขาย่อยดังนี้ - กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ คณิ ตศาสตร์ /สถิติ วิทยาการคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ - กลุ่มสาขาวิชาแพทยศาสตร์ และวิชาที่เกี่ยวกับสุ ขภาพอนามัย ได้แก่ แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัช ศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ - สาธารณสุ ขศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ กายภาพบาบัด วิทยาศาสตร์สุขภาพ - กลุ่มสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ได้แก่ วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ - กลุ่มสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ วนศาสตร์ และการประมง ได้แก่ สัตวแพทย์ศาสตร์ / สัตวบาล ประมง/วาริ ช ศาสตร์ เกษตรศาสตร์ วนศาสตร์ /เทคโนโลยีวนผลิตภัณฑ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีการเกษตร ธุ รกิจการเกษตร/ส่ งเสริ มการเกษตรและสหกรณ์ เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา หน้า 9
  • 10. ประโยชน์ ของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สิ ปปนนท์ เกตุทต (ม.ป.ป. : 80) กล่าวว่า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความจาเป็ นและเพิ่มความสาคัญเป็ น ั ่ ลาดับมากขึ้นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์แม้วาการพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีจะเอื้ออานวยในด้านชีวตความ ิ ่ เป็ นอยูที่สะดวกสบายและอายุยนนานขึ้น หากการการนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ โดยมิได้พิจารณาอย่าง ื สุ ขมรอบคอบและกว้างไกลแล้ว ย่อมเกิดผลเสี ยต่อสภาพแวดล้อมและสมดุลทางธรรมชาติอย่างมหันต์ เมื่อมองไป ุ ข้างหน้า วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีควรช่วยเตรี ยมให้มนุษย์มีความพร้อมที่จะเผชิญกับปั จจัยพื้นฐานในการ ดารงชีวิต และปั ญหาอันเกี่ยวเนื่องกับมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม ข้อที่พึงตระหนัก คือ การดารงชีวตของมนุษย์มิใช่เพื่อ ิ กอบโกยผลประโยชน์จากธรรมชาติ หรื อการทาตนอยูเ่ หนื อธรรมชาติ หากแต่มนุษย์ตองเรี ยนรู ้ธรรมชาติที่จะ ้ ดารงชีวิตอย่างสันติร่วมกับผูอื่น กับสังคมวัฒนธรรม และกับธรรมชาติ ้ ดังนั้นในชีวิตประจาวันของมนุษย์ทุกคน จะต้องเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอยูตลอดเวลา เกี่ยวข้องกับ ่ วิวฒนาการทางด้านความรู้ ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ ด้าน จึงมีความจาเป็ นอย่างยิงที่จะทาให้บุคคลในสังคม ั ่ รู ้จกวิธีการคิดอย่างมีเหตุผล มีวธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่มีระบบ อันจะส่ งผลให้เกิดการพัฒนาด้านสติปัญญาซึ่ ง ั ิ ่ วิธีการคิดนั้นเป็ นวิธีเดียวกันกับที่ใช้อยูในกระบวนการแสวงหาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ ่ สุ เทพ อุสาหะ (2526 : 10-11) กล่าวว่า คงเป็ นที่ยอมรับกันว่า ขณะนี้เราอยูในยุคที่วทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ิ เจริ ญสู งสุ ด ทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับตัวเรานั้นเป็ นผลมาจากการพัฒนาของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท้ งสิ้ น อย่างไร ั ก็ตามอิทธิ พลของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีส่วนใหญ่ที่มีต่อเศรษฐกิจ และการเสาะแสวงหาความรู ้น้ นยังไม่เป็ น ั ที่เด่นชัดสาหรับประชาชนส่ วนใหญ่ เฮอร์ ด (Hurd. 1970 : 13-15) ได้ช้ ีให้เห็นว่า ประชาชนส่ วนใหญ่ได้รับข้อมูล ผิดพลาดเกี่ยวกับความหมาย และอิทธิ พลของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่มีต่อ วัตถุ สังคม และชีวตความเป็ นอยู่ ิ ดังนั้นการให้ความรู ้หรื อการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ จะเป็ นการเตรี ยมคนเพื่อแก้ปัญหา ต่าง ๆ ในสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วในอนาคต และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ จะยิงเกิดขึ้นมากเรื่ อย ๆ ขณะเดียวกัน ่ วิทยาศาสตร์ ก็จะเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับสังคมมากขึ้น จึงเป็ นสิ่ งที่แน่นอนว่าความสาคัญของวิชาวิทยาศาสตร์ ใน ฐานะที่เป็ นส่ วนหนึ่งของการให้การศึกษาพื้นฐานทัวไป (general education) จะมีมากขึ้น ่ จะเห็นได้วาทุกคนจาเป็ นที่จะต้องเรี ยนรู ้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่ งระดับของการศึกษาของแต่ละคน ่ ่ ั นั้นย่อมขึ้นอยูกบเป้ าหมายและความสนใจของแต่ละบุคคล ดังที่ เอกิน (Agin. 1974 : 404) ได้ช้ ีให้เห็นถึงความ จาเป็ นของบุคคลกลุ่มต่าง ๆ ที่ตองเรี ยนรู้วทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีตามภาพที่ 3 ้ ิ ภาพที่ 3 แสดงการแยกสาขาของวิทยาศาสตร์ เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา หน้า 10
  • 11. 1. เตรี ยมนักวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในสาขาต่าง ๆ 2. ให้พ้ืนฐานของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สาหรับผูที่จะประกอบอาชีพ หรื อ ้ วิชาชีพที่อาศัยเทคโนโลยี 3. ให้การศึกษาพื้นฐานเพื่อเป็ นพลเมืองที่มีประสิ ทธิ ภาพ ภาพที่ 3 ระดับของกลุ่มบุคคลที่เรี ยนรู ้วทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ิ จากภาพที่ 3 จะเห็นได้วาพลเมืองกลุ่มที่ 3 ซึ่ งเป็ นกลุ่มใหญ่สุดมีความจาเป็ นต้องศึกษาวิทยาศาสตร์ และ ่ เทคโนโลยี เพื่อจะเป็ นพลเมืองที่มีประสิ ทธิภาพ พร้อมกับนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ในการแก้ปัญหาใน ชีวตประจาวันของพวกเขา ซึ่งประโยชน์ของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สรุ ปได้พอสังเขป ดังนี้คือ ิ ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี1. การแก้ปัญหาในชีวตประจาวัน ในชีวตประจาวันเมื่อมีปัญหา หรื อข้อ ิ ิ สงสัย อย่างใดเกิดขึ้นเราต้องใช้เหตุผลเพื่อหาคาตอบหรื อแก้ขอสงสัยต่าง ๆ เสมอมา ในชีวิตประจาวันเราคงจะประสบกับ ้ ปั ญหาในด้านต่าง ๆ ทั้งกับตัวเราเองหรื อบุคคลใกล้ชิด การพยายามหาข้อมูล ต่าง ๆ เพื่อหาสาเหตุของปั ญหานั้น อย่างมีเหตุผล สามารถทาให้เราแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง 2. วิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์ที่เป็ นจริ งในชี วตประจาวันเพื่อการแก้ปัญหา ิ วิทยาศาสตร์นาบุคคลไปสู่ การมีทกษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะเป็ น ั กระบวนการของการค้นพบสิ่ งใหม่ ๆ เพื่อนาไปสู่ คุณภาพชีวตที่ดีและการแก้ปัญหา ิ 3. สร้างคนให้มีกระบวนการคิด มีเหตุมีผล ไม่หลงงมงายในสิ่ งที่ไร้สาระ ื ่ ่ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็ นวิธีการที่ยดหยุนที่แต่ละบุคคลจะปรับเอาไปใช้แก้ปัญหาของตน แม้วามันจะชื่ อว่า กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แต่จริ ง ๆ แล้ว ศาสตร์ ไหน ๆ ก็ใช้ได้ท้ งนั้น เรื่ องการสังเกต การจดบันทึกและแปร ั ความ การพยากรณ์ สร้างคนให้มีเหตุผล ไม่ให้เชื่ อถือโชคลางหรื อหลงงมงาย เหล่านี้นาไปใช้ได้ท้ งหมด ั ลิขิต ธีรเวคิน (2535 : 10) กล่าวว่า ประเทศใดก็ตามจะพัฒนาไปเป็ นประเทศมหาอานาจ จะต้องประกอบด้วย ตัวแปรสาคัญ ๆ ห้าตัวแปร และในห้าตัวแปรนั้นตัวแปรสาคัญหนึ่งคือการมีจิตวิทยาอันทันสมัยหมายความว่ามีการ คิดแบบมีเหตุมีผล ไม่หลงงมงาย ไม่เชื่ออะไรที่เกิดจากศรัทธาแต่อย่างเดียวพูดง่าย ๆ คือ "มีจิตวิทยาศาสตร์ " ชั ยวัฒน์ คุประตกุล (2528 : 87-88) ได้กล่าวถึงบทบาทของวิทยาศาสตร์ ที่สร้างคนให้มีมานะอดทน เป็ นคนไม่ หลงงมงาย เป็ นคนมีเหตุผล เป็ นคนที่ไม่ถูกชักจูงไปในทางเสื่ อมทรามได้ง่าย ๆ นอกจากนี้วทยาศาสตร์ ยงช่วยให้ ิ ั สมาชิกในสังคม ตระหนักถึงความสาคัญของการทางานเป็ นระบบเป็ นทีมหรื อเป็ นหมู่คณะ ตระหนักถึงผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นกับสังคมส่ วนรวมจากพฤติกรรม หรื อการกระทาของสมาชิกแม้เพียงคนเดียวหรื อกลุ่มหนึ่ง ่ จากที่กล่าวมา จะเห็นได้วามีความจาเป็ นอย่างยิงที่จะต้องนาวิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อสร้างคนให้มีเหตุผล มีความ ่ เชื่อมันในตนเองมากขึ้น เมื่อมีความเชื่อมันในตนเองมากขึ้น ความเชื่ อ งมงาย ความเชื่อในโชคลาง ชะตาราศี ดวง ่ ่ และเรื่ องพรหมลิขิตจะจางหายไป ความลุ่มหลงในการพนัน หวังรวยทางลัด และการวิเคราะห์สภาพการณ์หรื อ ่ ปัญหาในชีวิตประจาวันก็จะอยูในแนวของเหตุและผล ตามหลักตรรกวิทยาศาสตร์ เป็ นคุณลักษณะของพลเมืองใน เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา หน้า 11
  • 12. สังคมประชาธิปไตย เป็ นสังคมที่เราทุกคนต้องการ เป็ นสังคมที่นามาซึ่งความมีสิทธิ เสรี ภาพ อย่างมีเหตุมีผล 4. ปรับปรุ งคุณภาพของชีวต วิทยาศาสตร์ จะเกี่ยวพันกับมนุษย์ทุกคนตลอดชีพ ิ ในชีวตประจาวัน ตั้งแต่ลืมตาตื่นจนกระทังเข้านอนจะเกี่ยวพันกับวิทยาศาสตร์ คงจะไม่มีใครปฏิเสธได้วา ิ ่ ่ วิทยาศาสตร์ได้นาความสุ ข ความสะดวกสบายมาสู่ การดารงชีวตในเรื่ องต่าง ๆ ต่อไปนี้ ิ 4.1 อาหาร ได้รู้จกวิธีรักษาอาหารไม่ให้บูดเสี ย รู ้จกคุณค่าของอาหารว่า ั ั มนุษย์เราต้องการ แป้ ง ไขมัน โปรตีน วิตามิน แร่ ธาตุต่าง ๆ อย่างเพียงพอได้อย่างไรและคิดประดิษฐ์อาหารขึ้นได้ เสาะแสวงหาอาหารให้พอเลี้ยงพลโลกจากแหล่งที่มาจากทะเล อากาศ บนพื้นโลก จากทะเล ได้ผลิตเกลือ รับประทาน (NaCI) ผลิตไอโอดีนจากสาหร่ ายทะเล ซึ่งเอามาทาวุนและแยกไอโอดีนออก ได้โปรตีนจากสัตว์และ ้ พืชเช่น Algae ในทะเลนามาเป็ นอาหาร 4.2 เครื่ องนุ่งหุ่ม ได้รู้จกสี ยอมผ้า สมัยก่อนมักใช้สีจากพืชมาย้อมผ้า แต่พอถึง ค.ศ. 1856 William Perkin ั ้ ได้เริ่ มใช้สีที่เตรี ยมจากถ่านหิ นหรื อสี สังเคราะห์ นอกจากนั้นนักเคมียงรู ้จกวิธีทาไหมเทียม ทาปลาสติก ทาไนลอน ั ั เพื่อทาเสื้ อผ้าสวย ๆ ใช้ เช่น และสารสังเคราะห์ใช้แทนยาง เป็ นต้น 4.3 สุ ขภาพอนามัย แต่ก่อนนี้อตราคนตายมีมาก แต่ต่อมาจนปั จจุบนอัตรานั้นได้ลดน้อยลงไป ทั้งนี้เพราะ ั ั กินอาหารดีข้ ึน มีที่อยูอาศัยและน้ าบริ โภคดีข้ ึน เช่น น้ าประปาก็ตองใช้ความรู ้ของวิชาเคมีทาให้บริ สุทธิ์ โดยฆ่าเชื่อ ่ ้ โรคด้วย CI2 ทาให้ฟันแข็งโดยเติมฟลูออไรด์ลงไปในน้ าดื่ม นอกจากนี้ยงมียาใหม่ ๆ ที่ใช้เป็ นผลดีเป็ นอันมาก เช่น ั ยาปฏิชีวนะ ยาพวกซัลฟา ยาสาหรับฆ่าเชื้ อโรค การต้นพบยาชา (Anesthetic) ช่วยให้ศลยกรรมเป็ นผลดียงขึ้น การ ั ิ่ พบคลอโรฟอร์ม โคเคน ก๊าซหัวเราะ อีเทอร์ (ซึ่งเป็ นยาชา) ได้ช่วยชีวตและบรรเทาความปวดทรมานของคนไข้ไว้ ิ เป็ นอันมาก 4.4 ที่อยูอาศัยและเครื่ องใช้ มีไม้ขีดไฟที่ใช้อยูในปั จจุบนนี้ สบู่ หม้อ ่ ่ ั เครื่ องภาชนะ เครื่ องใช้ไม้สอยที่ทาด้วยโลหะและปลาสติก ก๊าซถ่านหิ น รถยนต์ น้ ามัน ผงซักฟอก เครื่ องก่อสร้าง เช่นเหล็ก เหล็กกล้า Stainless Steel (Fe + Cr) อะลูมิเนียม ซี เมนต์ คอนกรี ต กระจกแตกไม่บาด (Nonsplintered glass) ข้อเสื อในเครื่ องยนต์ก็ใช้ทาด้วย Alloy ของเหล็ก (เหล็กผสมกับแมงกานีส) เป็ นต้น 4.5 การสังเคราะห์ใช้เทียมของจริ ง ยางเทียม ไหมเทียม การบูร ยาควินิน ยารักษาโรค แกรไฟต์ ฯลฯ ล้วน แต่เป็ นผลิตภัณฑ์ซ่ ึ งทาขึ้นโดยอาศัยวิทยาศาสตร์ ท้ งนั้น ั 4.6 เครื่ องอานวยความบันเทิง เช่น ภาพยนตร์ โทรทัศน์ การถ่ายรู ป เป็ นต้น เกิดมีข้ ึนได้เพราะวิทยาศาสตร์ วิชาเคมีสอนให้รู้จกการถ่ายรู ป วิทยุน้ นก็อาศัยความรู ้จากวิทยาศาสตร์ ั ั กระดาษ หนังสื อ ฟุตบอล ลูกเทนนิส ลูกปิ งปอง ฯลฯ ล้วนแต่เป็ นผลิตพันธุ์ข้ ึนมาได้โดยอาศัยมาจากวิทยาศาสตร์ ทั้งนั้น (ทองสุ ข พงศทัตและคณะ. 2525 : 7-8) เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา หน้า 12
  • 13. เสริมพล รัตสุ ข (2526 : 12) ได้กล่าวถึงความจาเป็ นและเหตุผลที่มนุษย์จาเป็ นที่จะต้องนาวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี (โดยเฉพาะเทคโนโลยี) มาใช้ คือ 1. มีความต้องการที่จะแก้ปัญหาในการดารงชีวิตประจาวัน หรื อปั ญหาในด้าน ่ การประกอบอาชีพ ทั้งนี้เพื่อปรับปรุ งยกระดับฐานะความเป็ นอยูหรื อเพื่อแสวงหากาไรในการค้า ตัวอย่างเช่น เจ้าของโรงงานสนใจที่จะนาเทคโนโลยีใหม่เข้ามาใช้ เพื่อลดต้นทุนการผลิตและลดปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ชาวนาสนใจ ที่จะนาก๊าซชีวภาพมาใช้เพราะต้องการทุ่นเวลาในการไปหาฟื น ชาวนาสนใจที่จะใช้รถไถนาเอนกประสงค์เพราะ ต้องการเพิ่มผลผลิต เป็ นต้น 2. เล็งเห็นโอกาสในการลงทุน (investment opportunity) เช่นคาดว่าจะมีตลาด มากสาหรับกะทิสาเร็ จรู ป จึงต้องการเทคโนโลยีการผลิตกะทิสาเร็ จรู ป ฯลฯ 3. เตรี ยมการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ในอนาคตคาดว่าราคาน้ ามันที่สูงขึ้น ทุกปี จะทาให้เกิดความต้องการเครื่ องยนต์ ที่ขบเคลื่อนด้วยก๊าซจากถ่านหรื อไม้ (wood gasifier) มากขึ้นจึงต้องการ ั พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตก๊าซจากถ่านหรื อไม้ 4. การแข่งขันในด้านการตลาดทาให้ตองเร่ งพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อลดต้นทุนการ ้ ผลิตพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ปรับปรุ งคุณภาพ ฯลฯ ่ ในปั จจุบนจึงกล่าวได้วา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมีความสาคัญ และมีความจาเป็ นต่อการพัฒนาในด้านต่าง ั ๆ ของประเทศ มีขอบเขตการใช้อย่างกว้างขวาง มีผลให้ชิวตมนุษย์ และสิ่ งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มนุษย์ ิ ่ มีความเป็ นอยูที่สุขสบายขึ้น โรคภัยลดลงหรื อสามารถแก้ปัญหาได้ การเดินทางและการติดต่อสะดวกและรวดเร็ ว ขึ้น การศึกษาก้าวหน้ากว่าอดีตมากมายนัก ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้เป็ นผลมาจากวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแทบทั้งสิ้ น สุ ดท้ าย โชว์วอลเตอร์ (showalter. 1974 : 2) ได้กล่าวถึงคุณสมบัติของการเป็ นผูรู้วิทยาศาสตร์ (scientific ้ literacy) ซึ่ งสามารถนามาเชื่อมโยงกับประโยชน์ของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีได้ ดังนี้คือ 1. เข้าใจธรรมชาติความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 2. สามารถนามโนทัศน์ หลักสาคัญ กฎ และทฤษฎีที่เหมาะสมไปใช้อย่างถูกต้อง 3. สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการแก้ปัญหา การตัดสิ นใจ และ การศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมได้อย่างดี 4. ยึดมันในค่านิยมที่มีรากฐานมาจากวิทยาศาสตร์ ่ 5. เข้าใจและซาบซึ้ งในความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีและ สังคม 6. พัฒนาความคิดที่แปลกและน่าพอใจ เกี่ยวกับสังคมได้มากว่าคนอื่น อันเป็ น ผลจากการศึกษาวิทยาศาสตร์ และใฝ่ ใจศึกษาอยูตลอดเวลา่ 7. ได้พฒนาทักษะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง ั เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา หน้า 13
  • 14. ประวัติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทางตะวันตก ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในปั จจุบนเป็ นผลสื บเนื่องมาจากการสะสมความรู้ของ ั มนุษยชาติมาเป็ นเวลานาน เริ่ มตั้งแต่มนุษย์ยงดารงชีพโดยการล่าสัตว์ดวยอาวุธที่ทาด้วยหิ นจนกระทังพัฒนาวิถีใน ั ้ ่ การดารงชีพที่เปลี่ยนแปลงไปจากในอดีตมากมาย อมรา ทองปาน และวีระศักดิ์ อุดมโชค (2541 : 2) กล่าวว่า ่ ่ นับตังแต่มนุษย์ Homo sapiens ได้ถือกาเนิ ดขึ้นมาในโลกนี้เมื่อประมาณ 40,000 ปี ที่ผานมา มนุษย์มีววฒนาการด้าน ิั ั ่ ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่ องมาจนถึงปั จจุบน แม้วาลักษณะโครงร่ างของมนุษย์มิได้มีการเปลี่ยนแปลงหรื อมีววฒนาการจน ิั แสดงความแตกต่างจากมนุษย์ในปั จจุบนมากนัก แต่มนุษย์มีววฒนาการด้านอื่น เช่น การเปลี่ยนแปลงด้าน ั ิั วัฒนธรรมการศึกษาเพื่อหาความรู ้ดานต่าง ๆ จากวิวฒนาการด้านนี้ทาให้สามารถจาแนกการเกิดมนุษย์โบราณตาม ้ ั ลักษณะเครื่ องมือเครื่ องใช้ที่พบเป็ นยุคต่าง ๆ เช่น มนุษย์ยคหิ นเก่าและมนุษย์ยคหิ นใหม่ ดังแสดงในตารางที่ 3 ุ ุ ่ กล่าวได้วา การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ ของมนุษย์ยคเริ่ มแรกนั้นเป็ นการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ และ ุ วิทยาศาสตร์ บริ สุทธิ์ นับแต่สิ้นสุ ดยุคน้ าแข็งยุคสุ ดท้ายเมื่อประมาณ 10,000 ปี เป็ นต้นมา มนุษย์ได้เริ่ มศึกษาสังเกต ธรรมชาติที่รอบ ๆ ตัวเอง โดยเฉพาะอย่างยิงการเกิดกลางวัน กลางคืน ข้างขึ้น ข้างแรม ฤดูกาลต่าง ๆ และการโคจร ่ ั ิ ่ ของดวงดาว นอกจากนี้ยงศึกษาสิ่ งมีชีวตที่อยูรอบ ๆ ตัวเราด้วย ดังนั้น วิทยาศาสตร์ สมัยโบราณเกิดขึ้นควบคู่กบการเกิดอารยธรรมโบราณต่าง ๆ ได้แก่ อารยธรรมเมโสโปเต ั เมีย อารยธรรมอียปต์ อารยธรรมในอเมริ กากลาง และอารยธรรมใน เอเชีย ต่อจากนี้ จึงเข้าสู่ ยคของวิทยาศาสตร์ ิ ุ ธรรมชาติ ดาราศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ ซึ่ งเริ่ มมีสูตร ทฤษฎี มีการทดลองนักวิทยาศาสตร์ ในยุคนี้เป็ นนักวิทยาศาสตร์ ในอาณาจักรกรี กทั้งสิ้ น ยุคสุ ดท้ายของวิทยาศาสตร์สมัยโบราณ คือ วิทยาศาสตร์ ที่พฒนาขึ้นในสมัยที่มีเมืองอเล็ก ั ซานเดรี ยเป็ นศูนย์กลางการปกครองซึ่งมีการสะสมตารา หนังสื อของวิชาความรู ้ดานต่าง ๆ อย่างมาก มีหอสมุดที่ ้ ใหญ่ที่สุดในโลกของยุคนั้น คือ หอสมุดอเล็กซานเดรี ย เมื่อถึงสมัยกลาง (Middle Age) ประมาณปี ค.ศ. 476-1453 ความเจริ ญด้านวิทยาศาสตร์ ได้ชะงักงันไปชัวขณะ ่ เรี ยกว่า "ยุคมืดทางวิทยาศาสตร์ " สื บเนื่องมาจากความเชื่อทางศาสนาที่ขดแย้งกับการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ หาก ั ผูใดคัดค้านหรื อขัดแย้งกฎเกณฑ์ทางศาสนาก็จะมีโทษถึงตาย วิวฒนาการด้านวิทยาศาสตร์จึงหยุดชะงักไป จนถึง ้ ั กลางคริ สต์ศตวรรษที่ 15 ซึ่ งเป็ นสมัยฟื้ นฟูศิลปวิทยา (Renaissance) การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ จึงเริ่ มต้นพัฒนาขึ้น อีกครั้งหนึ่ง ต่อมาศตวรรษที่ 18 ได้มีการปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ ครั้งใหญ่ ทาให้วทยาศาสตร์ สาขาดาราศาสตร์ ั ิ ภูมิศาสตร์ กายวิภาคศาสตร์ เคมี ฟิ สิ กส์ เจริ ญพัฒนาขึ้น อย่างมาก ในยุคนี้วทยาศาสตร์ บริ สุทธ์สาขาต่าง ๆ ได้พฒนาขึ้นมาก และจัดเป็ นพื้นฐานของวิชาการสาขาต่าง ๆ อย่างแท้จริ ง ิ ั ั ซึ่ งสามารถเปรี ยบเทียบความเจริ ญของมนุษย์ตามการศึกษาประวัติศาสตร์ กบการเจริ ญทางวิทยาศาสตร์ ระยะเวลา สมัยความเจริ ญของมนุษย์ตามประวัติศาสตร์ สมัยความเจริ ญของวิทยาศาสตร์ ตั้งแต่โลกมีมนุษย์จนถึงยุคที่มนุษย์รู้จกการใช้โลหะ ั เรี ยบเรี ยงโดยชิตชัย โพธิ์ประภา หน้า 14