SlideShare a Scribd company logo
1
                              นักวิทยาศาสตรศึกษาวิทยาศาสตรกันอยางไร

ความหมายของวิทยาศาสตร

       วิทยาศาสตร เปนคําที่ตรงกับภาษาอังกฤษวา “Science” ซึ่งมีรากศัพทมาจากภาษาละตินวา “Seire”
หมายถึง การเรียนรู สําหรับความหมายของวิทยาศาสตรนั้น มีผูใหความหมายของวิทยาศาสตรไว ดังนี้
       มังกร ทองสุขดี (2523) ไดใหความหมายของวิทยาศาสตรไววา วิทยาศาสตร คือ ความรูที่เกี่ยวกับ
ธรรมชาติที่อยูรอบๆ ตัวเรา ซึ่งมนุษยไดศึกษาคนควาสะสมมาตั้งแตอดีตจนกระทั่งถึงปจจุบัน และจะศึกษา
ตอไปในอนาคตอยางไมรูจักจบสิ้น
                สํารวย รังสินธุ และคมกฤษณ ติณจินดา (2540) ไดเสนอวา วิทยาศาสตรเปนวิชาที่ศึกษาคนควาเพื่อ
เขาใจ และสามารถอธิบายถึงขอเท็จจริงของสิ่งตางๆ รวมทั้งปรากฏการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ
                ประเสริฐ ศรีไพโรจน (2551) ไดนิยามความหมายของวิทยาศาสตรไววา วิทยาศาสตร คือ ความรู
เกี่ยวกับสิ่งตางๆในธรรมชาติท้ังสิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิต รวมถึงกระบวนการคนหาความรูอยางมีขั้นตอน มี
ระเบียบแบบแผน
                ดังนั้นอาจสรุปไดวา วิทยาศาสตร คือ ความรูที่มุงศึกษาธรรมชาติรอบตัวเราอยางมีระบบ เพื่ออธิบาย
สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในธรรมชาติ น้ั น โดยจุ ด มุ ง หมายของวิ ช าวิ ท ยาศาสตร น้ั น เป น การแสวงหาความจริ ง และ
การศึกษาทางวิทยาศาสตรจึงเปนแนวทางที่กอใหเกิดการแสวงหาความรู รูจักที่จะใชสติปญญา นําความรู
ความเขาใจมาประยุกตใหเกิดประโยชน

องคประกอบของวิทยาศาสตร


            ความรู                                                                        กระบวนการสรางความรู
                                           องคประกอบของวิทยาศาสตร
(ขอเท็จจริง, กฎ, ทฤษฎี, …)                                                             (กระบวนการทางวิทยาศาสตร)


                                ภาพที่ 1 แผนภาพองคประกอบของวิทยาศาสตร

        องคประกอบของวิทยาศาสตรอาจแบงไดเปน 2 อยางคือความรู และกระบวนการสรางความรู โดย
ความรูนั้นเปนสิ่งที่มีอยูมากอนแลว ไดแก ขอเท็จจริง ปรากฏการณธรรมชาติ และ/หรือมีผูอธิบายไว ไดแก
ทฤษฎีตางๆ กฎตางๆ ซึ่งการไดมาของทฤษฎีหรือกฏเกณฑตางๆ นั้นมาจากกระบวนการสรางความรูทาง
วิทยาศาสตร อันไดแกกระบวนการทางวิทยาศาสตรนั่นเอง
2
ความรูทางวิทยาศาสตร (The Body of Knowledge)

       ความรูทางวิทยาศาสตรอาจจําแนกออกไดเปน 4 ประเภท คือ
                1. ขอเท็จจริง (Fact) คือ ปรากฏการณหรือสิ่งที่มีอยูจริงในธรรมชาติ ขอเท็จจริงเปนผลจาก
       การสังเกตปรากฏการณธรรมชาติโดยตรง และเปนสิ่งที่เปนจริงเสมอเปลี่ยนแปลงไมได แตการ
       บันทึกผลหรือการสังเกตอาจเกิดความคลาดเคลื่อนได
                2. หลักการ (Principle) เปนความรูทางวิทยาศาสตรที่นําความคิดรวบยอด (Concept) ที่ได
       จากขอมูลมาผสมผสานกันเพื่อใชในการอางอิง
                3. ทฤษฎี (Theory) เปนความรูทางวิทยาสาสตรประเภทหนึ่ง ที่นักวิทยาศาสตรสราง
       แบบจําลอง (Model) ขึ้นมาเพื่อใชอธิบายขอเท็จจริงยอยๆ ในขอบเขตที่เกี่ยวของได และทฤษฏี
       สามารถเปลี่ยนแปลงหรือลมเลิกได หากมีการคนพบขอเท็จจริงที่นําไปสูการสรางทฤษฎีใหม
                4. กฎ (Law) เปนหลักการที่เนนในเรื่องความสัมพันธระหวางเหตุและผล และเขียนเปน
       สมการแทนได กฎมีความเปนจริงในตัวของมันเอง สามารถทดสอบไดและผลการทดสอบตรงกันทุก
       ครั้ง แตกฎไมสามารถอธิบายไดวาทําไมความสัมพันธระหวางเหตุและผลจึงเปนเชนนั้น สิ่งที่จะ
       อธิบายกฎไดคือทฤษฎี

กระบวนการทางวิทยาศาสตร

                                      การกําหนดปญหา (Problem define)


                                       การตั้งสมมติฐาน (Hypothesis)


                                 การตรวจสอบสมมติฐาน (Testing hypothesis)


                      การวิเคราะหและแปลความหมายขอมูล (Analysis and Interpretation)


                                           การสรุปผล (Conclusion)


                             ภาพที่ 2 แผนผังกระบวนการทางวิทยาศาสตร
       การกําหนดปญหา ไดมาจากการสังเกต รวบรวมขอมูล ความอยากรูอยากเห็น สิ่งสําคัญในการตั้ง
ปญหา คือ ตองใหปญหาสัมพันธกับขอมูลที่มีอยู และกําหนดขอบเขตของปญหา เพื่อใหตัวปญหาเดนชัดวา
อะไรคือเหตุ อะไรคือผลของปญหานั้นๆ
3
        การตั้ ง สมมติ ฐ าน เมื่ อ ตั้ ง ประเด็ น ป ญ หาได แ ล ว เราจะต อ งพยายามหาคํ า ตอบที่ ส อดคล อ งกั บ
ขอเท็จจริง และมีทางเปนไปไดอยางมีเหตุผลกับปญหาที่ตั้งขึ้น เรียกวา สมมติฐาน โดยการตั้งสมมติฐานที่ดี
ควรมีการแนะแนวทางการตรวจสอบปญหาไดชัดเจน และอาจมีไดหลายสมมติฐานสําหรับประเด็นปญหา
หนึ่งๆ
           การตรวจสอบสมมติฐาน เปนขั้นตอนที่อาศัยการรวบรวมขอมูลตางๆ มาสนับสนุนหรือคัดคาน
สมมติฐาน เพื่อตรวจสอบกลั่นกรองวาสมมติฐานนั้นยอมรับไดมากนอยเพียงใด (ในการไดมาซึ่งขอมูลตางๆ
นั้น ในทางวิทยาศาสตรมกจะเปนผลการทดลอง หรือคาที่สังเกตไดจากการทดลองดวยเครื่องมือวัดตางๆ เชน
                            ั
เครื่องชั่ง เทอรโมมิเตอร เปนตน) ซึ่งในการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน เราจะตองกําหนดปจจัยหรือสิ่งที่
เราตองการพิจารณา ใหอยูในรูปของตัวแปร
      ตัวแปร คือ ปจจัยหรือสภาพแวดลอมตางๆ ที่มีผลตอการกระทํา ตัวแปรที่เราตองคํานึงถึงในการทํา
การทดลองมี 3 ประเภท คือ
                 1. ตัวแปรอิสระ หรือ ตัวแปรตน (Independent variable) เปนปจจัยที่เปนตนเหตุที่เราสงสัย
        ไมอยูในความควบคุมของธรรมชาติ
                 2. ตัวแปรตาม (Dependent variable) เปนปจจัยที่เปนผลมาจากตัวแปรตน
                  3. ตัวแปรควบคุม (Control variable) เปนปจจัยที่ผูทดลองควบคุมใหคงที่ตลอดการทดลอง
        ซึ่งเราจําเปนตองควบคุมเพื่อใหขอสรุปของการทดลองเปนที่ยอมรับ
        การวิเคราะหและแปลความหมายขอมูล ถือเปนขั้นตอนที่สําคัญ เพราะขอมูลที่ไดมาจากการทดลอง
จะมีคุณคาตอเมื่อมีการคิดวิเคราะหอยางถี่ถวนและหลากหลาย เชน ขอมูลที่ไดบอกถึงแนวโนมอะไร แสดง
ความสัมพันธระหวางอะไรกับอะไร สนับสนุนหรือคัดคานสมมติฐานที่ตองการตรวจสอบหรือไม ซึ่งการ
วิเคราะหและแปลความหมายขอมูลจะนําไปสูขอสรุปของการทดลอง หรือการนําไปสูสมมติฐานใหม หรือ
อาจนําไปใชพยากรณ (Predict) สิ่งที่อยูนอกเหนือไปจากผลการทดลองได
      การสรุปผล เปนการรวบรวมผลจากการวิเคราะหและแปลความหมายของขอมูล และเสนอความคิดที่
รอบคอบมากลาวโดยยอ เพื่อย้ําวาผลการตรวจสอบสมมติฐานที่ตั้งขึ้นวาสนับสนุนหรือคัดคาน

เจตคติทางวิทยาศาสตร (Scientific Attitudes)

        เปนสิ่งสําคัญอยางหนึ่งที่จะตองปลูกฝงใหเกิดขึ้น เปนเสมือนตัวกํากับความคิด การกระทํา การ
ตัดสินใจในการปฏิบัติงานทางวิทยาศาสตร โดยลักษณะของเจตคติทางวิทยาศาสตรอาจแบงไดเปน 2 ลักษณะ
คือ
4
         1. เจตคติที่เกิดจากการใชความรู
             1.1 กฎเกณฑ ทฤษฎี และหลักการตางๆ ทางวิทยาศาสตร
             1.2 การอธิบายปรากฏการณธรรมชาติในเชิงวิทยาศาสตร โดยถือผลที่เกิดจากการสังเกต ทดลอง
ตามที่เกิดจริง โดยอาศัยขอมูลองคประกอบที่เหมาะสม
         2. เจตคติที่เกิดจากความรูสก
                                    ึ
             2.1 กิจกรรมทางวิทยาศาสตรมุงที่กอใหเกิดความคิดใหมๆ เพื่ออธิบายปรากฏการณธรรมชาติ
คุณคาสําคัญจึงอยูที่การสรางทฤษฎี
             2.2 ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรจะมีมากขึ้นถาไดรบการสนับสนุนจากบุคคล
                                                             ั
             2.3 การเปนนักวิทยาศาสตร หรือการทํางานที่ตองใชความรูทางวิทยาศาสตร เปนสิ่งที่นาสนใจ
และมีคุณคา

คุณลักษณะของบุคคลที่มีเจตคติทางวิทยาศาสตร




                          ภาพที่ 3 คุณลักษณะบุคคลที่มีเจตคติทางวิทยาศาสตร

       บุคคลที่มีเจตคติทางวิทยาศาสตร จะเปนบุคคลที่มีลกษณะดังตอไปนี้
                                                        ั
               - เปนบุคคลที่มเี หตุผลไมหลงเชื่อสิ่งใดงายๆ ตองคิดไตรตรองอยางรอบคอบ
               - เปนบุคคลใจกวาง ยอมรับความคิดเห็นของบุคคลอื่น
               - เปนบุคคลที่มีความละเอียด รอบคอบ ไมใจเร็วดวนได
               - เปนบุคคลมีน้ําใจ ไมเห็นแกตัว ไมหวงแหนความรู
               - เปนบุคคลที่มีความอดทน ไมเกียจคราน
               - เปนบุคคลที่มีความสนใจใครรในสิ่งตางๆ รอบตัว แสวงหาความรูอยูเสมอ
                                                ู
               - เปนบุคคลที่มความซื่อสัตย บันทึกสิ่งที่เห็นตามจริง ไมมีความลําเอียง
                                ี
5
ประโยชนของวิทยาศาสตร

         วิทยาศาสตรมีประโยชนตอมนุษยและมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาประเทศ ผลของการศึกษาคนควา
ทางวิ ท ยาศาสตร เกี่ ย วโยงกั บ ความเจริ ญในด า นต า งๆ เช น การแพทย การสื่ อ สารคมนาคม การเกษตร
การศึกษา การอุตสาหกรรม การเมือง การเศรษฐกิจ ฯลฯ สรุปไดดังนี้
           1. วิทยาศาสตรชวยใหมีความสามารถในสังคม ในสังคมที่มีสิ่งแวดลอมทางวิทยาศาสตร บุคคลที่
มีความรูทางวิทยาศาสตร จะเปนผูมความสามารถ และมีความสําคัญตอการพัฒนาชุมชนและสังคม
                                    ี
           2. วิทยาศาสตรชวยแนะแนวอาชีพ วิทยาศาสตรกอใหเกิดอาชีพหลายสาขา และเปนประโยชนตอ
การดํารงชีวติ
           3. วิทยาศาสตรชวยใหเกิดความเจริญทางรางกายและจิตใจ การไดรับความรูทางวิทยาศาสตรทั้ง
ทางดานทฤษฎีและปฏิบัติ ในสวนที่เกี่ยวของกับสุขภาพ อนามัย อาหาร การดํารงชีวิต จะชวยใหรางกาย
เจริญเติบโตและมีสุขภาพแข็งแรง
           4. วิทยาศาสตรชวยใหเปนผูบริโภคที่สามารถ หมายถึง การตัดสินใจในการใชสินคาหรือบริการ
ตางๆ โดยอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร
              5. วิทยาศาสตรชวยใหรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชนในการศึกษาคนควาเรื่องที่สนใจ
              6. วิทยาศาสตรชวยใหรูจักใชทรัพยากรธรรมชาติใหเปนประโยชน
                             
           7. วิทยาศาสตรชวยแกปญหาตางๆ
            ความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีบทบาทสําคัญตอชีวิตประจําวัน การที่เราจะอยู
ได อ ย า งทั น โลกและทั น เหตุ ก ารณ จํ า เป น ต อ งศึ ก ษาหาความรู ท างวิ ท ยาศาสตร ใ หม อยู เ สมอ เพราะ
วิทยาศาสตรมีประโยชนเกี่ยวของกับชีวิต และเปนสวนหนึ่งของการสรางคุณภาพ
6
                               ความรูทั่วไปเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร

โครงงานวิทยาศาสตร คืออะไร?

        โครงงานวิทยาศาสตร (Science project) เปนกิจกรรมที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดใชความสามารถ
แสดงออกถึงความคิดริเริ่ม สรางสรรคผลงานทางวิทยาศาสตรในรูปแบบตางๆ เพื่อฝกใหนักเรียนรูจักนํา
วิธีการทางวิทยาศาสตร หรือทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรมาใชในการแกปญหา รูจักใชเวลาวางใหเกิด
ประโยชน นอกจากนี้ไดมีผูใหความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร ไวหลายอยาง ซึ่งมีความหมายโดยนัยไม
ตางกันมากนัก ดังนี้
                  สมาคมวิทยาศาสตรแหงประเทศไทย ไดใหความเห็นวา โครงงานวิทยาศาสตรเปนการศึกษา
        ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งทางวิทยาศาสตรอยางมีหลักเกณฑ และตองสําเร็จรูปในตัว ผูศึกษาจะตองมีความ
        ละเอียดรอบคอบ มีการสังเกต และบันทึกผลที่ไดจากการศึกษาไวตามลําดับทุกขั้นตอน และวางภาพ
        การดําเนินงานอยางรัดกุม
                  สถาบั น ส ง เสริ ม การสอนวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี (สสวท.)ได ใ ห ค วามหมายของ
        โครงงานวิทยาศาสตรไววา เปนการฝกใหนักเรียนมีความสามารถนําวิธีการทางวิทยาศาสตรไปใชใน
        การแกปญหา หรือการประดิษฐ คิดคนหาความรูตางๆ ไดดวยตนเอง
                  ประดิษ ฐ เหล าเนตร (2542) ไดเสนอความเห็น ว า โครงงานวิ ทยาศาสตร เป นการศึก ษา
        คนควาทดลอง ตรวจสอบสมมติฐานอยางมีหลักเกณฑ โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตรหรือทักษะ
        กระบวนการทางวิทยาศาสตร ผูศึกษาจะวางแผนออกแบบการทดลอง หรือประดิษฐคิดคนอยางมี
        ลําดับขั้นตอน มีการเก็บรวบรวมขอมูล แปรผลหรือวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการทดลอง การสรุปผล
        แลวนํามาเขียนเปนรายงานการทดลองใหสมบูรณ และสามารถนําเสนอผลงานที่จัดทําขึ้นไดดวย
        ตนเอง
        จากความหมายขางตนอาจสรุปไดวา โครงงานวิทยาศาสตร คือ กิจกรรมการศึกษาเรื่องราวใดๆก็ตาม
โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร ตั้งแตการสังเกต การตั้งปญหา การตั้งสมมติฐาน การออกแบบวิธีการ
ดําเนินการ การคัดเลือกเครื่องมือเพื่อใชในการศึกษา การปฏิบัติการทดลองหรือศึกษาขอมูล การบันทึกและ
เก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหและแปลความหมายของขอมูลที่ได และการนําเสนอผลการศึกษานั้น เพื่อการ
แกปญหาสิ่งที่พบเห็นหรือนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได

ความรูเพิ่มเติม กระบวนการทางวิทยาศาสตรประกอบดวยขั้นตอนยอยดังนี้

        การกําหนดปญหา (สังเกต รวบรวมขอมูล)        การตั้งสมมติฐาน (การตั้งคําตอบที่สอดคลองกับความจริง)

        การวิเคราะหและแปลความหมายขอมูล            การทดสอบสมมติฐาน (การสํารวจ/ทดลอง/ประดิษฐ)

        การสรุปผล (เสนอความคิดและผลการดําเนินการโดยยอ)
7
ทําโครงงานวิทยาศาสตรกันไปทําไม?

       ในการทําโครงงานวิทยาศาสตร นอกจากจะเปนการสรางประสบการณตรงในการใชกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรในการแกไขปญหาตางๆ ดวยตนเองแลว ยังมีประโยชนในดานอื่นๆอีกหลายประการ คือ
               1. เพื่อสงเสริมใหนักเรียนสามารถศึกษาหาความรูตางๆไดดวยตนเอง
               2. เพื่อสงเสริมใหนกเรียนมีโอกาสในการแสดงออกในการนําเสนอ
                                         ั
               3. เพื่ อส งเสริ ม ใหนั ก เรี ย นมี เ จตคติ ที่ดี ตอวิ ท ยาศาสตร และเปน นั ก วิ ทยาศาสตรที่ดีใ น
                  อนาคต
               4. เพื่อสงเสริมความสัมพันธอันดีใหเกิดระหวางกลุมเพื่อน ครู และชุมชน
               5. เพื่ อ ส ง เสริ ม ให นั ก เรี ย น ครอบครั ว และชุ ม ชนมี ค วามสนใจด า นวิ ท ยาศาสตร แ ละ
                  เทคโนโลยี

ประเด็นสําคัญที่ตองตระหนักในการทําโครงงานวิทยาศาสตร

        ในการทําโครงงานวิทยาศาสตร สิ่งที่นักเรียนตองคํานึงถึงนั้นมีไมมาก แตเปนสิ่งที่สําคัญมาก และ
นักเรียนไมควรละเลยเปนอยางยิ่ง คือ
               1. จะตองเกี่ยวกับกิจกรรมที่ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
               2. นักเรียนเปนผูริเริ่ม และเลือกเรื่องที่จะทําการศึกษาดวยตนเอง ครูเปนเพียงผูแนะนํา
               3. เปนกิจกรรมที่ไมมุงเนนการเอาชนะ แตมุงที่จะฝกฝนความเปนนักวิทยาศาสตรของ
                   นักเรียน

อะไรคือโครงงานวิทยาศาสตร?

      โครงงานวิทยาศาสตรมีมากมาย แตเราอาจจะกําหนดลักษณะของโครงงานวิทยาศาสตรออกเปน
ประเภทตางๆ โดยใชลักษณะของโครงงานเปนเกณฑในการจําแนกซึ่งอาจแบงไดเปน 4 ประเภท คือ
              1. โครงงานวิทยาศาสตรประเภทการสํารวจ
              2. โครงงานวิทยาศาสตรประเภทการทดลอง
              3. โครงงานวิทยาศาสตรประเภทสิ่งประดิษฐ
              4. โครงงานวิทยาศาสตรประเภททฤษฎี
8
โครงงานวิทยาศาสตรประเภทการสํารวจ

        โครงงานวิทยาศาสตรประเภทนี้จะเปนการสํารวจขอมูลตางๆ ที่เกิดจากความอยากรูอยากเห็น เพื่อ
                                                                                  
นํามาประกอบการศึกษาหรือจําแนกหมวดหมู โดยมักเปนการออกไปสํารวจนอกหองปฏิบัติการ หรือนําสิ่ง
ตางๆมาศึกษาในหองปฏิบัตการ ลักษณะเดนของโครงงานวิทยาศาสตรประเภทการสํารวจจะเปนการศึกษาหา
                           ิ
ความรูอยางงายๆ ไมมีความซับซอนมากนัก

ตัวอยางโครงงานวิทยาศาสตรประเภทการสํารวจ

1. การสํารวจชนิดของเปลือกหอย
โรงเรียน                  อนุบาลนิรมล (จังหวัดชุมพร)
ผูทําโครงงาน             ด.ญ.สุชญา จิระพินทุ, ด.ญ.สุธรรมา แซลิ่ม และด.ช.วัชรชัย แสงจันทร
อาจารยที่ปรึกษา          อ.ทําเนียบ นอยนาเวศ, อ.มาฆะ ทิพยคีรี และอ.วรพงศ วงศวโรทัย
เคาโครงเรื่องยอ/บทคัดยอ
         โครงงานวิทยาศาสตรเรื่องสํารวจชนิดเปลือกหอย จัดทําขึ้นเพื่อศึกษาปริมาณของเปลือกหอยชนิด
ตางๆ ในบริเวณอาวสะพลี อําเภอปะทิว จังหวัดชุมพร เนื่องจากสมาชิกในกลุมมีบานอยูติดกับชายทะเล เปนผู
ชอบสะสมเปลือกหอยเปนงานอดิเรก พบวาเปลือกหอยที่มีอยูเกลื่อนกลาดทั่วไปบนหาดทรายมีมากมายหลาย
ชนิดไมคอยมีผูสนใจ กลุมผูจดทําจึงตกลงที่จะทําโครงงานสํารวจเปลือกหอยขึ้น
                              ั
         จากการสํารวจพบวา เปลือกหอยมีหลายชนิดใหความงามและรูปรางสีสันแตกตางกันมาก บางชนิดมี
ปริมาณมาก บางชนิดมีปริมาณนอย จากการศึกษาตอไปพบวามีปริมาณเปลือกหอยแครงมากที่สุด รองลงมา
คือหอยไฟไหม สวนหอยชอน หอยเบี้ยผูหรือหอยกระดุม หอยเชลล มีปริมาณนอยที่สุด รวมทั้งหอยจอบ ซึ่ง
ชาวบานในทองถิ่นบอกวาเคยมีมากเมื่อสมัย 30 ปที่ผานมาแลว ไดลดจํานวนลงเรื่อยๆ จนในปจจุบันพบนอย
มาก
         จากการสํารวจเปลือกหอยทําใหทราบวา มีหอยหลายชนิดที่กําลังลดปริมาณลงเรื่อยๆ และกําลังจะ
สูญพันธุ ขอมูลจากการสํารวจนี้อาจจะเปนหนทางหนึ่งที่สามารถชวยทําใหคนในทองถิ่นหันมาชวยอนุรักษ
หอยและรักษาสิ่งแวดลอมในถิ่นของตน
9
2. การสํารวจและอนุรักษปาจากริมคลองสนามไชย
โรงเรียน                   วัดแสมดํา (กรุงเทพมหานคร)
ผูทําโครงงาน              ด.ญ.อนัตตา เฮงได, ด.ญ.ปยะนุช มาวาลย และด.ญ.อรอนงค อินทชื่น
อาจารยที่ปรึกษา           อ.พงษศักดิ์ แพงคําอวน
เคาโครงเรื่องยอ/บทคัดยอ
          การสํารวจและการอนุรักษปาจาก ริมคลองสนามไชย เพื่อศึกษาการใชประโยชนของตนจาก การใช
พื้นที่ปาจาก สาเหตุพื้นที่ปาจากถูกทําลาย ศึกษาระบบนิเวศของปาจาก ทดลองปลูกตอนจากเปรียบเทียบ 2
บริเวณ การสํารวจปริมาณปาจาก การอนุรักษพื้นที่ปาจาก และการปลูกตนจากที่บานและโรงเรียน โดยสํารวจ
ในพื้นที่หมูที่ 3, 4 และ 10 แขวงแสมดํา เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร กับหมูที่ 6 ต.พันทายนรสิงห อ.
เมือง จ.สมุทรสาคร ใชแบบสํารวจและแบบสอบถามจากประชาชนที่อาศัยอยูริมคลองสนามไชย ชวงเวลา
เดือนตุลาคม 2540 – มิถุนายน 2541 พบวาประชาชนใชประโยชนไดสารพัด ตั้งแตยอดออน ใบแก ใบออน มง
จาก สะโพกจาก กานใบ ผลจาก ใบแกใชประโยชนมากที่สุด คือ นํามาทําหลังคาบาน รองลงมา คือยอดจาก
นํามาทําใบออนหอขนมแทนใบตองและทําใบจากสําหรับสูบแทนบุหรี่ และผลจากทําขนมหวาน
          ปาจากทําใหประชาชนมีรายไดเฉลี่ยวันละ 79 บาท จากการรับจางตัดใบจาก เย็บใบจาก ปาจากใหรม
เงา ให ความรมรื่น รักษาสิ่งแวดลอม เปนแหล งที่อยูอาศัย และแหลงอาหารของสัตว และพืชหลายชนิด
สําหรับพื้นที่ปาจากสวนใหญประชาชนครอบครองคนละไมเกิน 50 ตารางวา เปนปาจากที่อยูใกลบานซึ่งขึ้น
เองตามธรรมชาติเปนสวนใหญ พื้นที่ปาจากถูกทําลายมากกวาเดิม มีสาเหตุสวนใหญนําไปทําวังเลี้ยงกุงและ
เลี้ยงปลา การสํารวจระบบนิเวศปาจากพบวามีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของคน พืช และสัตวหลายชนิด
พบสัตวหลายชนิดที่อาศัยในปาจาก เชน ลิงแสม นกกระยาง นกกวัก ตัวเงินตัวทอง เปนตน และพบพืชหลาย
ชนิดที่ขึ้นในปาจาก เชน ปรง ไข ลําแพน ลําพู ตะบูน โกงเกง เหงือกปลาหมอ เปนตน
          ปริมาณปาจากริมคลองสนามไชย พบวาทิศเหนือจากวัดแสมดําขึ้นไปหนาแนนกวาทิศใต การทดลอง
ปลูกตนจากบริเวณพื้นที่น้ําทวมขังเจริญเติบโตดีกวาริมคลองสนามไชย การอนุรักษตนจากโดยใหนักเรียนที่
เปนอาสาสมัครนําไปปลูกที่บาน พบวามีการเจริญเติบโต 122 ตน และที่โรงเรียนมีการเจริญเติบโต 78 ตน
10
โครงงานวิทยาศาสตรประเภทการทดลอง

          โครงงานวิทยาศาสตรประเภทการทดลอง จะมีสิ่งที่เกี่ยวของ ตัวแปร โดยตัวแปรในการทดลองสวน
ใหญจะมี 3 ประเภท คือ
                    - ตัวแปรตน (บางทีก็เรียก ตัวแปรอิสระ) คือ สิ่งที่เราตองการศึกษา
                    - ตัวแปรตาม คือ ผลที่เกิดจากตัวแปรตน
                    - ตัวแปรควบคุม คือ สิ่งที่เราจะตองควบคุมไมใหมีผลตอตัวแปรตาม
          ดังที่กลาวมาแลวขางตน สมมติฐาน คือ การเดาคําตอบลวงหนาอยางมีเหตุผล โดยใชขอมูลที่มีใน
เบื้องตน
 กรณีศึกษา มามาคัพ
      เหตุการณ เราไปที่รานคาซื้อมามาคัพมาทาน
      ขอมูลที่เราสังเกตได คือ น้ํารอน มามา และเวลาที่ทําใหมามาสุก
                จากขอมูลขางตน เราอาจตั้งสมมติฐานไดวา
      สมมติฐาน ถาเวลามีผลตอการที่น้ํารอนจะทําใหมามาสุกแลว ระยะเวลาที่แตกตางกันจะทําใหเสน
      มามาจะสุกในแบบตางๆกัน
                ตามประสบการณผูเขียนเสนมามาจะเปนได 3 แบบ คือ ดิบ สุก และอืด
      ตัวแปรตน คือ เวลา
      ตัวแปรตาม คือ เสนมามาสุก
      ตัวแปรควบคุม คือ อุณหภูมิของน้ํารอน, ปริมาณน้ํารอน, ชนิดของถวยมามา
          ในการทําโครงงานวิทยาศาสตรประเภทการทดลองนี้ จะเริ่มดวยการตั้งปญหาจากสิ่งที่สังเกตได การ
ตั้งสมมติฐานการทดลอง การระบุตัวแปรตางๆอยางชัดเจน การออกแบบการทดลองอยางมีข้ันตอน การ
เลือกใชเครื่องมือในการทําการทดลอง การทําการทดลองอยางถูกวิธีและทดลองซ้ําหลายๆครั้งเพื่อใหไดขอมูล
ที่ถูกตอง การวิเคราะหผลการทดลองอยางมีประสิทธิภาพ และสรุปผลการทดลองอยางรัดกุม
11
ตัวอยางโครงงานวิทยาศาสตรประเภทการทดลอง

1. การผลิตกระแสไฟฟาจากใบพืช
โรงเรียน                  โพฒิสารศึกษา (จังหวัดนครสวรรค)
ผูทําโครงงาน             ด.ญ.วณีพรรณ อวนโพธิ์กลาง, ด.ญ.นภัส รุงโรจนรัตนากร, ด.ญ.ภควัต ชัยสถิต.
                          ด.ช.พงษพนธ โสมขันเงิน และด.ช.วงศวสุ เฉลยทรัพย
                                   ั
อาจารยที่ปรึกษา          อ.อรนุช สังขทอง และอ.ศิริกุล หุตะนาวิน
เคาโครงเรื่องยอ/บทคัดยอ
         จากการศึ ก ษาโครงงานวิ ท ยาศาสตร เรื่ อ งการผลิ ต กระแสไฟฟ า จากใบพื ช มุ ง ศึ ก ษาปริ ม าณ
กระแสไฟฟาที่ไดจากสารละลายจากใบพืช 3 ชนิด คือ ใบมะดัน ใบมะกอก ใบมะยม โดยใชนํ้ากลั่นเปนตัวทํา
ละลาย 600 cm3 ตอใบพืช 30 g และมีแผนทองแดง แผนสังกะสี เปนตัวนําไฟฟา ปรากฏวา สารละลายจากใบ
มะกอกใหปริมาณกระแสไฟฟา 49.50 mA ถาตองการเพิ่มปริมาณกระแสไฟฟา เพื่อใชกับเครื่องใชไฟฟาตอง
เพิ่มจํานวนเซลล โดยการนําสารละลายจากใบพืชมาแบงออกเปน 5 เซลล เซลลละ 100 cm3 แลวนําไปตอเขา
กับเครื่องไฟฟา คือ นาฬิกาและหลอดไฟ ผลที่ได คือ สารละลายจากใบมะกอกจํานวน 2 เซลลทําใหนาฬิกา
เดินไดและหลอดไฟสวาง
         ผลการทดลอง ถาเพิ่มจํานวนเซลลเปน 5 เซลล สารละลายที่ไดจากใบมะกอกจะทําใหนาฬิกาเดินได
และหลอดไฟสวางไดดีกวาสารละลายที่ไดจากใบมะดันและใบมะยม ในจํานวน 5 เซลลเทาๆกัน
12




เอกสารอางอิง


     มังกร ทองสุขดี. (2523). การวางแผนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร. กรุงเทพฯ: สามเจริญพานิช.
     สํารวย รังสินธุ และคมกฤษณ ติณจินดา (2540). MODERN COMPACT PHYSICS 1-6. กรุงเทพฯ:
               บริษัท สํานักพิมพแม็ค จํากัด.
     ประดิษฐ เหลาเนตร. (2542). เทคนิคการสอนและการทําโครงงานวิทยาศาสตร ระดับประถมศึกษา
              และมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัท เซ็นเตอร ดิสคัฟเวอรี จํากัด.
     Mark Windale และปาริฉัตร พวงมณี. (2549). หนังสือชุดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู “การสืบคนทาง
            วิทยาศาสตร” ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
            แหงชาติ.
     ฤทัย จงสฤษดิ์. (2550). พิมพครั้งที่ 3. ปรุงโครงงานวิทยาศาสตรใหอรอย. กรุงเทพฯ: สํานักงานพัฒนา
             วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ.
     ประเสริฐ ศรีไพโรจน. (2551). สารานุกรมวิทยาศาสตร ม.ตน. กรุงเทพฯ: บริษัท ธนธัชการพิมพ จํากัด.
     วราภรณ ตระกูลสฤษดิ์. (2551). แนวทางการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน. กรุงเทพฯ: เอ็ม ไอ ที พริ้น
             ติ้ง.
     อมรวิชช นาครธรรพ และคณะ. (2551). การศึกษาในวิถีชุมชน: การสังเคราะหประสบการณในชุด
              โครงการวิจัยดานการศึกษากับชุมชน. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
     สุธีระ ประเสริฐสรรพ. (2552). วิจัย...ในความคิด. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
     __________________. (2552). วิจัย...พลังเปลี่ยนการเรียนรู. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุน
              การวิจัย.
     __________________. (2552). วิจัย...เรื่องใกลตัว. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
     __________________. (2552). เรียนรู...คูวิจัย. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
     __________________. (2552). วิจัย...ในจินตนาการ. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

More Related Content

What's hot

รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
Padvee Academy
 
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
นางสาวอัมพร แสงมณี
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
kulwadee
 
สาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญาสาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญา
TupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์PomPam Comsci
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
Padvee Academy
 
ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01
ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01
ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01
Prachoom Rangkasikorn
 
ปรัชญา
ปรัชญาปรัชญา
ปรัชญา
TupPee Zhouyongfang
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
นางจำเรียง กอมพนม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Veaw'z Keeranat
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
0924729074
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
Kittayaporn Changpan
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ruttanaphareenoon
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
Krupol Phato
 
Ethics, morality
Ethics, moralityEthics, morality
Ethics, morality
Mum Mumum
 

What's hot (20)

รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
 
สาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญาสาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญา
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01
ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01
ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01
 
ปรัชญา
ปรัชญาปรัชญา
ปรัชญา
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
Ethics, morality
Ethics, moralityEthics, morality
Ethics, morality
 

Similar to Intro sciproject

ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
juriporn chuchanakij
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
SAKANAN ANANTASOOK
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
CUPress
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
CUPress
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยา
Dew Thamita
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นอรุณศรี
 

Similar to Intro sciproject (20)

ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
เอกสารประกอบการเรียน
เอกสารประกอบการเรียนเอกสารประกอบการเรียน
เอกสารประกอบการเรียน
 
เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยา
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้น
 

More from Taweesak Poochai

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
Taweesak Poochai
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
Taweesak Poochai
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
Taweesak Poochai
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
Taweesak Poochai
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
Taweesak Poochai
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
Taweesak Poochai
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
Taweesak Poochai
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยาย
Taweesak Poochai
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
Taweesak Poochai
 
nano safety short
nano safety shortnano safety short
nano safety short
Taweesak Poochai
 
Nano safety-e-book
Nano safety-e-bookNano safety-e-book
Nano safety-e-book
Taweesak Poochai
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
Taweesak Poochai
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
Taweesak Poochai
 
JfePresent
JfePresentJfePresent
JfePresent
Taweesak Poochai
 
JFEs
JFEsJFEs

More from Taweesak Poochai (20)

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยาย
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
 
nano safety short
nano safety shortnano safety short
nano safety short
 
Nano safety-e-book
Nano safety-e-bookNano safety-e-book
Nano safety-e-book
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
 
Sound
SoundSound
Sound
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
Nuclear
NuclearNuclear
Nuclear
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
JfePresent
JfePresentJfePresent
JfePresent
 
JFEs
JFEsJFEs
JFEs
 
GYI3rpt1
GYI3rpt1GYI3rpt1
GYI3rpt1
 

Intro sciproject

  • 1. 1 นักวิทยาศาสตรศึกษาวิทยาศาสตรกันอยางไร ความหมายของวิทยาศาสตร วิทยาศาสตร เปนคําที่ตรงกับภาษาอังกฤษวา “Science” ซึ่งมีรากศัพทมาจากภาษาละตินวา “Seire” หมายถึง การเรียนรู สําหรับความหมายของวิทยาศาสตรนั้น มีผูใหความหมายของวิทยาศาสตรไว ดังนี้ มังกร ทองสุขดี (2523) ไดใหความหมายของวิทยาศาสตรไววา วิทยาศาสตร คือ ความรูที่เกี่ยวกับ ธรรมชาติที่อยูรอบๆ ตัวเรา ซึ่งมนุษยไดศึกษาคนควาสะสมมาตั้งแตอดีตจนกระทั่งถึงปจจุบัน และจะศึกษา ตอไปในอนาคตอยางไมรูจักจบสิ้น สํารวย รังสินธุ และคมกฤษณ ติณจินดา (2540) ไดเสนอวา วิทยาศาสตรเปนวิชาที่ศึกษาคนควาเพื่อ เขาใจ และสามารถอธิบายถึงขอเท็จจริงของสิ่งตางๆ รวมทั้งปรากฏการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ ประเสริฐ ศรีไพโรจน (2551) ไดนิยามความหมายของวิทยาศาสตรไววา วิทยาศาสตร คือ ความรู เกี่ยวกับสิ่งตางๆในธรรมชาติท้ังสิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิต รวมถึงกระบวนการคนหาความรูอยางมีขั้นตอน มี ระเบียบแบบแผน ดังนั้นอาจสรุปไดวา วิทยาศาสตร คือ ความรูที่มุงศึกษาธรรมชาติรอบตัวเราอยางมีระบบ เพื่ออธิบาย สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในธรรมชาติ น้ั น โดยจุ ด มุ ง หมายของวิ ช าวิ ท ยาศาสตร น้ั น เป น การแสวงหาความจริ ง และ การศึกษาทางวิทยาศาสตรจึงเปนแนวทางที่กอใหเกิดการแสวงหาความรู รูจักที่จะใชสติปญญา นําความรู ความเขาใจมาประยุกตใหเกิดประโยชน องคประกอบของวิทยาศาสตร ความรู กระบวนการสรางความรู องคประกอบของวิทยาศาสตร (ขอเท็จจริง, กฎ, ทฤษฎี, …) (กระบวนการทางวิทยาศาสตร) ภาพที่ 1 แผนภาพองคประกอบของวิทยาศาสตร องคประกอบของวิทยาศาสตรอาจแบงไดเปน 2 อยางคือความรู และกระบวนการสรางความรู โดย ความรูนั้นเปนสิ่งที่มีอยูมากอนแลว ไดแก ขอเท็จจริง ปรากฏการณธรรมชาติ และ/หรือมีผูอธิบายไว ไดแก ทฤษฎีตางๆ กฎตางๆ ซึ่งการไดมาของทฤษฎีหรือกฏเกณฑตางๆ นั้นมาจากกระบวนการสรางความรูทาง วิทยาศาสตร อันไดแกกระบวนการทางวิทยาศาสตรนั่นเอง
  • 2. 2 ความรูทางวิทยาศาสตร (The Body of Knowledge) ความรูทางวิทยาศาสตรอาจจําแนกออกไดเปน 4 ประเภท คือ 1. ขอเท็จจริง (Fact) คือ ปรากฏการณหรือสิ่งที่มีอยูจริงในธรรมชาติ ขอเท็จจริงเปนผลจาก การสังเกตปรากฏการณธรรมชาติโดยตรง และเปนสิ่งที่เปนจริงเสมอเปลี่ยนแปลงไมได แตการ บันทึกผลหรือการสังเกตอาจเกิดความคลาดเคลื่อนได 2. หลักการ (Principle) เปนความรูทางวิทยาศาสตรที่นําความคิดรวบยอด (Concept) ที่ได จากขอมูลมาผสมผสานกันเพื่อใชในการอางอิง 3. ทฤษฎี (Theory) เปนความรูทางวิทยาสาสตรประเภทหนึ่ง ที่นักวิทยาศาสตรสราง แบบจําลอง (Model) ขึ้นมาเพื่อใชอธิบายขอเท็จจริงยอยๆ ในขอบเขตที่เกี่ยวของได และทฤษฏี สามารถเปลี่ยนแปลงหรือลมเลิกได หากมีการคนพบขอเท็จจริงที่นําไปสูการสรางทฤษฎีใหม 4. กฎ (Law) เปนหลักการที่เนนในเรื่องความสัมพันธระหวางเหตุและผล และเขียนเปน สมการแทนได กฎมีความเปนจริงในตัวของมันเอง สามารถทดสอบไดและผลการทดสอบตรงกันทุก ครั้ง แตกฎไมสามารถอธิบายไดวาทําไมความสัมพันธระหวางเหตุและผลจึงเปนเชนนั้น สิ่งที่จะ อธิบายกฎไดคือทฤษฎี กระบวนการทางวิทยาศาสตร การกําหนดปญหา (Problem define) การตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) การตรวจสอบสมมติฐาน (Testing hypothesis) การวิเคราะหและแปลความหมายขอมูล (Analysis and Interpretation) การสรุปผล (Conclusion) ภาพที่ 2 แผนผังกระบวนการทางวิทยาศาสตร การกําหนดปญหา ไดมาจากการสังเกต รวบรวมขอมูล ความอยากรูอยากเห็น สิ่งสําคัญในการตั้ง ปญหา คือ ตองใหปญหาสัมพันธกับขอมูลที่มีอยู และกําหนดขอบเขตของปญหา เพื่อใหตัวปญหาเดนชัดวา อะไรคือเหตุ อะไรคือผลของปญหานั้นๆ
  • 3. 3 การตั้ ง สมมติ ฐ าน เมื่ อ ตั้ ง ประเด็ น ป ญ หาได แ ล ว เราจะต อ งพยายามหาคํ า ตอบที่ ส อดคล อ งกั บ ขอเท็จจริง และมีทางเปนไปไดอยางมีเหตุผลกับปญหาที่ตั้งขึ้น เรียกวา สมมติฐาน โดยการตั้งสมมติฐานที่ดี ควรมีการแนะแนวทางการตรวจสอบปญหาไดชัดเจน และอาจมีไดหลายสมมติฐานสําหรับประเด็นปญหา หนึ่งๆ การตรวจสอบสมมติฐาน เปนขั้นตอนที่อาศัยการรวบรวมขอมูลตางๆ มาสนับสนุนหรือคัดคาน สมมติฐาน เพื่อตรวจสอบกลั่นกรองวาสมมติฐานนั้นยอมรับไดมากนอยเพียงใด (ในการไดมาซึ่งขอมูลตางๆ นั้น ในทางวิทยาศาสตรมกจะเปนผลการทดลอง หรือคาที่สังเกตไดจากการทดลองดวยเครื่องมือวัดตางๆ เชน ั เครื่องชั่ง เทอรโมมิเตอร เปนตน) ซึ่งในการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน เราจะตองกําหนดปจจัยหรือสิ่งที่ เราตองการพิจารณา ใหอยูในรูปของตัวแปร ตัวแปร คือ ปจจัยหรือสภาพแวดลอมตางๆ ที่มีผลตอการกระทํา ตัวแปรที่เราตองคํานึงถึงในการทํา การทดลองมี 3 ประเภท คือ 1. ตัวแปรอิสระ หรือ ตัวแปรตน (Independent variable) เปนปจจัยที่เปนตนเหตุที่เราสงสัย ไมอยูในความควบคุมของธรรมชาติ 2. ตัวแปรตาม (Dependent variable) เปนปจจัยที่เปนผลมาจากตัวแปรตน 3. ตัวแปรควบคุม (Control variable) เปนปจจัยที่ผูทดลองควบคุมใหคงที่ตลอดการทดลอง ซึ่งเราจําเปนตองควบคุมเพื่อใหขอสรุปของการทดลองเปนที่ยอมรับ การวิเคราะหและแปลความหมายขอมูล ถือเปนขั้นตอนที่สําคัญ เพราะขอมูลที่ไดมาจากการทดลอง จะมีคุณคาตอเมื่อมีการคิดวิเคราะหอยางถี่ถวนและหลากหลาย เชน ขอมูลที่ไดบอกถึงแนวโนมอะไร แสดง ความสัมพันธระหวางอะไรกับอะไร สนับสนุนหรือคัดคานสมมติฐานที่ตองการตรวจสอบหรือไม ซึ่งการ วิเคราะหและแปลความหมายขอมูลจะนําไปสูขอสรุปของการทดลอง หรือการนําไปสูสมมติฐานใหม หรือ อาจนําไปใชพยากรณ (Predict) สิ่งที่อยูนอกเหนือไปจากผลการทดลองได การสรุปผล เปนการรวบรวมผลจากการวิเคราะหและแปลความหมายของขอมูล และเสนอความคิดที่ รอบคอบมากลาวโดยยอ เพื่อย้ําวาผลการตรวจสอบสมมติฐานที่ตั้งขึ้นวาสนับสนุนหรือคัดคาน เจตคติทางวิทยาศาสตร (Scientific Attitudes) เปนสิ่งสําคัญอยางหนึ่งที่จะตองปลูกฝงใหเกิดขึ้น เปนเสมือนตัวกํากับความคิด การกระทํา การ ตัดสินใจในการปฏิบัติงานทางวิทยาศาสตร โดยลักษณะของเจตคติทางวิทยาศาสตรอาจแบงไดเปน 2 ลักษณะ คือ
  • 4. 4 1. เจตคติที่เกิดจากการใชความรู 1.1 กฎเกณฑ ทฤษฎี และหลักการตางๆ ทางวิทยาศาสตร 1.2 การอธิบายปรากฏการณธรรมชาติในเชิงวิทยาศาสตร โดยถือผลที่เกิดจากการสังเกต ทดลอง ตามที่เกิดจริง โดยอาศัยขอมูลองคประกอบที่เหมาะสม 2. เจตคติที่เกิดจากความรูสก ึ 2.1 กิจกรรมทางวิทยาศาสตรมุงที่กอใหเกิดความคิดใหมๆ เพื่ออธิบายปรากฏการณธรรมชาติ คุณคาสําคัญจึงอยูที่การสรางทฤษฎี 2.2 ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรจะมีมากขึ้นถาไดรบการสนับสนุนจากบุคคล ั 2.3 การเปนนักวิทยาศาสตร หรือการทํางานที่ตองใชความรูทางวิทยาศาสตร เปนสิ่งที่นาสนใจ และมีคุณคา คุณลักษณะของบุคคลที่มีเจตคติทางวิทยาศาสตร ภาพที่ 3 คุณลักษณะบุคคลที่มีเจตคติทางวิทยาศาสตร บุคคลที่มีเจตคติทางวิทยาศาสตร จะเปนบุคคลที่มีลกษณะดังตอไปนี้ ั - เปนบุคคลที่มเี หตุผลไมหลงเชื่อสิ่งใดงายๆ ตองคิดไตรตรองอยางรอบคอบ - เปนบุคคลใจกวาง ยอมรับความคิดเห็นของบุคคลอื่น - เปนบุคคลที่มีความละเอียด รอบคอบ ไมใจเร็วดวนได - เปนบุคคลมีน้ําใจ ไมเห็นแกตัว ไมหวงแหนความรู - เปนบุคคลที่มีความอดทน ไมเกียจคราน - เปนบุคคลที่มีความสนใจใครรในสิ่งตางๆ รอบตัว แสวงหาความรูอยูเสมอ ู - เปนบุคคลที่มความซื่อสัตย บันทึกสิ่งที่เห็นตามจริง ไมมีความลําเอียง ี
  • 5. 5 ประโยชนของวิทยาศาสตร วิทยาศาสตรมีประโยชนตอมนุษยและมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาประเทศ ผลของการศึกษาคนควา ทางวิ ท ยาศาสตร เกี่ ย วโยงกั บ ความเจริ ญในด า นต า งๆ เช น การแพทย การสื่ อ สารคมนาคม การเกษตร การศึกษา การอุตสาหกรรม การเมือง การเศรษฐกิจ ฯลฯ สรุปไดดังนี้ 1. วิทยาศาสตรชวยใหมีความสามารถในสังคม ในสังคมที่มีสิ่งแวดลอมทางวิทยาศาสตร บุคคลที่ มีความรูทางวิทยาศาสตร จะเปนผูมความสามารถ และมีความสําคัญตอการพัฒนาชุมชนและสังคม ี 2. วิทยาศาสตรชวยแนะแนวอาชีพ วิทยาศาสตรกอใหเกิดอาชีพหลายสาขา และเปนประโยชนตอ การดํารงชีวติ 3. วิทยาศาสตรชวยใหเกิดความเจริญทางรางกายและจิตใจ การไดรับความรูทางวิทยาศาสตรทั้ง ทางดานทฤษฎีและปฏิบัติ ในสวนที่เกี่ยวของกับสุขภาพ อนามัย อาหาร การดํารงชีวิต จะชวยใหรางกาย เจริญเติบโตและมีสุขภาพแข็งแรง 4. วิทยาศาสตรชวยใหเปนผูบริโภคที่สามารถ หมายถึง การตัดสินใจในการใชสินคาหรือบริการ ตางๆ โดยอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร 5. วิทยาศาสตรชวยใหรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชนในการศึกษาคนควาเรื่องที่สนใจ 6. วิทยาศาสตรชวยใหรูจักใชทรัพยากรธรรมชาติใหเปนประโยชน  7. วิทยาศาสตรชวยแกปญหาตางๆ ความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีบทบาทสําคัญตอชีวิตประจําวัน การที่เราจะอยู ได อ ย า งทั น โลกและทั น เหตุ ก ารณ จํ า เป น ต อ งศึ ก ษาหาความรู ท างวิ ท ยาศาสตร ใ หม อยู เ สมอ เพราะ วิทยาศาสตรมีประโยชนเกี่ยวของกับชีวิต และเปนสวนหนึ่งของการสรางคุณภาพ
  • 6. 6 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร คืออะไร? โครงงานวิทยาศาสตร (Science project) เปนกิจกรรมที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดใชความสามารถ แสดงออกถึงความคิดริเริ่ม สรางสรรคผลงานทางวิทยาศาสตรในรูปแบบตางๆ เพื่อฝกใหนักเรียนรูจักนํา วิธีการทางวิทยาศาสตร หรือทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรมาใชในการแกปญหา รูจักใชเวลาวางใหเกิด ประโยชน นอกจากนี้ไดมีผูใหความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร ไวหลายอยาง ซึ่งมีความหมายโดยนัยไม ตางกันมากนัก ดังนี้ สมาคมวิทยาศาสตรแหงประเทศไทย ไดใหความเห็นวา โครงงานวิทยาศาสตรเปนการศึกษา ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งทางวิทยาศาสตรอยางมีหลักเกณฑ และตองสําเร็จรูปในตัว ผูศึกษาจะตองมีความ ละเอียดรอบคอบ มีการสังเกต และบันทึกผลที่ไดจากการศึกษาไวตามลําดับทุกขั้นตอน และวางภาพ การดําเนินงานอยางรัดกุม สถาบั น ส ง เสริ ม การสอนวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี (สสวท.)ได ใ ห ค วามหมายของ โครงงานวิทยาศาสตรไววา เปนการฝกใหนักเรียนมีความสามารถนําวิธีการทางวิทยาศาสตรไปใชใน การแกปญหา หรือการประดิษฐ คิดคนหาความรูตางๆ ไดดวยตนเอง ประดิษ ฐ เหล าเนตร (2542) ไดเสนอความเห็น ว า โครงงานวิ ทยาศาสตร เป นการศึก ษา คนควาทดลอง ตรวจสอบสมมติฐานอยางมีหลักเกณฑ โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตรหรือทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร ผูศึกษาจะวางแผนออกแบบการทดลอง หรือประดิษฐคิดคนอยางมี ลําดับขั้นตอน มีการเก็บรวบรวมขอมูล แปรผลหรือวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการทดลอง การสรุปผล แลวนํามาเขียนเปนรายงานการทดลองใหสมบูรณ และสามารถนําเสนอผลงานที่จัดทําขึ้นไดดวย ตนเอง จากความหมายขางตนอาจสรุปไดวา โครงงานวิทยาศาสตร คือ กิจกรรมการศึกษาเรื่องราวใดๆก็ตาม โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร ตั้งแตการสังเกต การตั้งปญหา การตั้งสมมติฐาน การออกแบบวิธีการ ดําเนินการ การคัดเลือกเครื่องมือเพื่อใชในการศึกษา การปฏิบัติการทดลองหรือศึกษาขอมูล การบันทึกและ เก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหและแปลความหมายของขอมูลที่ได และการนําเสนอผลการศึกษานั้น เพื่อการ แกปญหาสิ่งที่พบเห็นหรือนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได ความรูเพิ่มเติม กระบวนการทางวิทยาศาสตรประกอบดวยขั้นตอนยอยดังนี้ การกําหนดปญหา (สังเกต รวบรวมขอมูล) การตั้งสมมติฐาน (การตั้งคําตอบที่สอดคลองกับความจริง) การวิเคราะหและแปลความหมายขอมูล การทดสอบสมมติฐาน (การสํารวจ/ทดลอง/ประดิษฐ) การสรุปผล (เสนอความคิดและผลการดําเนินการโดยยอ)
  • 7. 7 ทําโครงงานวิทยาศาสตรกันไปทําไม? ในการทําโครงงานวิทยาศาสตร นอกจากจะเปนการสรางประสบการณตรงในการใชกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรในการแกไขปญหาตางๆ ดวยตนเองแลว ยังมีประโยชนในดานอื่นๆอีกหลายประการ คือ 1. เพื่อสงเสริมใหนักเรียนสามารถศึกษาหาความรูตางๆไดดวยตนเอง 2. เพื่อสงเสริมใหนกเรียนมีโอกาสในการแสดงออกในการนําเสนอ ั 3. เพื่ อส งเสริ ม ใหนั ก เรี ย นมี เ จตคติ ที่ดี ตอวิ ท ยาศาสตร และเปน นั ก วิ ทยาศาสตรที่ดีใ น อนาคต 4. เพื่อสงเสริมความสัมพันธอันดีใหเกิดระหวางกลุมเพื่อน ครู และชุมชน 5. เพื่ อ ส ง เสริ ม ให นั ก เรี ย น ครอบครั ว และชุ ม ชนมี ค วามสนใจด า นวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยี ประเด็นสําคัญที่ตองตระหนักในการทําโครงงานวิทยาศาสตร ในการทําโครงงานวิทยาศาสตร สิ่งที่นักเรียนตองคํานึงถึงนั้นมีไมมาก แตเปนสิ่งที่สําคัญมาก และ นักเรียนไมควรละเลยเปนอยางยิ่ง คือ 1. จะตองเกี่ยวกับกิจกรรมที่ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2. นักเรียนเปนผูริเริ่ม และเลือกเรื่องที่จะทําการศึกษาดวยตนเอง ครูเปนเพียงผูแนะนํา 3. เปนกิจกรรมที่ไมมุงเนนการเอาชนะ แตมุงที่จะฝกฝนความเปนนักวิทยาศาสตรของ นักเรียน อะไรคือโครงงานวิทยาศาสตร? โครงงานวิทยาศาสตรมีมากมาย แตเราอาจจะกําหนดลักษณะของโครงงานวิทยาศาสตรออกเปน ประเภทตางๆ โดยใชลักษณะของโครงงานเปนเกณฑในการจําแนกซึ่งอาจแบงไดเปน 4 ประเภท คือ 1. โครงงานวิทยาศาสตรประเภทการสํารวจ 2. โครงงานวิทยาศาสตรประเภทการทดลอง 3. โครงงานวิทยาศาสตรประเภทสิ่งประดิษฐ 4. โครงงานวิทยาศาสตรประเภททฤษฎี
  • 8. 8 โครงงานวิทยาศาสตรประเภทการสํารวจ โครงงานวิทยาศาสตรประเภทนี้จะเปนการสํารวจขอมูลตางๆ ที่เกิดจากความอยากรูอยากเห็น เพื่อ  นํามาประกอบการศึกษาหรือจําแนกหมวดหมู โดยมักเปนการออกไปสํารวจนอกหองปฏิบัติการ หรือนําสิ่ง ตางๆมาศึกษาในหองปฏิบัตการ ลักษณะเดนของโครงงานวิทยาศาสตรประเภทการสํารวจจะเปนการศึกษาหา ิ ความรูอยางงายๆ ไมมีความซับซอนมากนัก ตัวอยางโครงงานวิทยาศาสตรประเภทการสํารวจ 1. การสํารวจชนิดของเปลือกหอย โรงเรียน อนุบาลนิรมล (จังหวัดชุมพร) ผูทําโครงงาน ด.ญ.สุชญา จิระพินทุ, ด.ญ.สุธรรมา แซลิ่ม และด.ช.วัชรชัย แสงจันทร อาจารยที่ปรึกษา อ.ทําเนียบ นอยนาเวศ, อ.มาฆะ ทิพยคีรี และอ.วรพงศ วงศวโรทัย เคาโครงเรื่องยอ/บทคัดยอ โครงงานวิทยาศาสตรเรื่องสํารวจชนิดเปลือกหอย จัดทําขึ้นเพื่อศึกษาปริมาณของเปลือกหอยชนิด ตางๆ ในบริเวณอาวสะพลี อําเภอปะทิว จังหวัดชุมพร เนื่องจากสมาชิกในกลุมมีบานอยูติดกับชายทะเล เปนผู ชอบสะสมเปลือกหอยเปนงานอดิเรก พบวาเปลือกหอยที่มีอยูเกลื่อนกลาดทั่วไปบนหาดทรายมีมากมายหลาย ชนิดไมคอยมีผูสนใจ กลุมผูจดทําจึงตกลงที่จะทําโครงงานสํารวจเปลือกหอยขึ้น ั จากการสํารวจพบวา เปลือกหอยมีหลายชนิดใหความงามและรูปรางสีสันแตกตางกันมาก บางชนิดมี ปริมาณมาก บางชนิดมีปริมาณนอย จากการศึกษาตอไปพบวามีปริมาณเปลือกหอยแครงมากที่สุด รองลงมา คือหอยไฟไหม สวนหอยชอน หอยเบี้ยผูหรือหอยกระดุม หอยเชลล มีปริมาณนอยที่สุด รวมทั้งหอยจอบ ซึ่ง ชาวบานในทองถิ่นบอกวาเคยมีมากเมื่อสมัย 30 ปที่ผานมาแลว ไดลดจํานวนลงเรื่อยๆ จนในปจจุบันพบนอย มาก จากการสํารวจเปลือกหอยทําใหทราบวา มีหอยหลายชนิดที่กําลังลดปริมาณลงเรื่อยๆ และกําลังจะ สูญพันธุ ขอมูลจากการสํารวจนี้อาจจะเปนหนทางหนึ่งที่สามารถชวยทําใหคนในทองถิ่นหันมาชวยอนุรักษ หอยและรักษาสิ่งแวดลอมในถิ่นของตน
  • 9. 9 2. การสํารวจและอนุรักษปาจากริมคลองสนามไชย โรงเรียน วัดแสมดํา (กรุงเทพมหานคร) ผูทําโครงงาน ด.ญ.อนัตตา เฮงได, ด.ญ.ปยะนุช มาวาลย และด.ญ.อรอนงค อินทชื่น อาจารยที่ปรึกษา อ.พงษศักดิ์ แพงคําอวน เคาโครงเรื่องยอ/บทคัดยอ การสํารวจและการอนุรักษปาจาก ริมคลองสนามไชย เพื่อศึกษาการใชประโยชนของตนจาก การใช พื้นที่ปาจาก สาเหตุพื้นที่ปาจากถูกทําลาย ศึกษาระบบนิเวศของปาจาก ทดลองปลูกตอนจากเปรียบเทียบ 2 บริเวณ การสํารวจปริมาณปาจาก การอนุรักษพื้นที่ปาจาก และการปลูกตนจากที่บานและโรงเรียน โดยสํารวจ ในพื้นที่หมูที่ 3, 4 และ 10 แขวงแสมดํา เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร กับหมูที่ 6 ต.พันทายนรสิงห อ. เมือง จ.สมุทรสาคร ใชแบบสํารวจและแบบสอบถามจากประชาชนที่อาศัยอยูริมคลองสนามไชย ชวงเวลา เดือนตุลาคม 2540 – มิถุนายน 2541 พบวาประชาชนใชประโยชนไดสารพัด ตั้งแตยอดออน ใบแก ใบออน มง จาก สะโพกจาก กานใบ ผลจาก ใบแกใชประโยชนมากที่สุด คือ นํามาทําหลังคาบาน รองลงมา คือยอดจาก นํามาทําใบออนหอขนมแทนใบตองและทําใบจากสําหรับสูบแทนบุหรี่ และผลจากทําขนมหวาน ปาจากทําใหประชาชนมีรายไดเฉลี่ยวันละ 79 บาท จากการรับจางตัดใบจาก เย็บใบจาก ปาจากใหรม เงา ให ความรมรื่น รักษาสิ่งแวดลอม เปนแหล งที่อยูอาศัย และแหลงอาหารของสัตว และพืชหลายชนิด สําหรับพื้นที่ปาจากสวนใหญประชาชนครอบครองคนละไมเกิน 50 ตารางวา เปนปาจากที่อยูใกลบานซึ่งขึ้น เองตามธรรมชาติเปนสวนใหญ พื้นที่ปาจากถูกทําลายมากกวาเดิม มีสาเหตุสวนใหญนําไปทําวังเลี้ยงกุงและ เลี้ยงปลา การสํารวจระบบนิเวศปาจากพบวามีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของคน พืช และสัตวหลายชนิด พบสัตวหลายชนิดที่อาศัยในปาจาก เชน ลิงแสม นกกระยาง นกกวัก ตัวเงินตัวทอง เปนตน และพบพืชหลาย ชนิดที่ขึ้นในปาจาก เชน ปรง ไข ลําแพน ลําพู ตะบูน โกงเกง เหงือกปลาหมอ เปนตน ปริมาณปาจากริมคลองสนามไชย พบวาทิศเหนือจากวัดแสมดําขึ้นไปหนาแนนกวาทิศใต การทดลอง ปลูกตนจากบริเวณพื้นที่น้ําทวมขังเจริญเติบโตดีกวาริมคลองสนามไชย การอนุรักษตนจากโดยใหนักเรียนที่ เปนอาสาสมัครนําไปปลูกที่บาน พบวามีการเจริญเติบโต 122 ตน และที่โรงเรียนมีการเจริญเติบโต 78 ตน
  • 10. 10 โครงงานวิทยาศาสตรประเภทการทดลอง โครงงานวิทยาศาสตรประเภทการทดลอง จะมีสิ่งที่เกี่ยวของ ตัวแปร โดยตัวแปรในการทดลองสวน ใหญจะมี 3 ประเภท คือ - ตัวแปรตน (บางทีก็เรียก ตัวแปรอิสระ) คือ สิ่งที่เราตองการศึกษา - ตัวแปรตาม คือ ผลที่เกิดจากตัวแปรตน - ตัวแปรควบคุม คือ สิ่งที่เราจะตองควบคุมไมใหมีผลตอตัวแปรตาม ดังที่กลาวมาแลวขางตน สมมติฐาน คือ การเดาคําตอบลวงหนาอยางมีเหตุผล โดยใชขอมูลที่มีใน เบื้องตน กรณีศึกษา มามาคัพ เหตุการณ เราไปที่รานคาซื้อมามาคัพมาทาน ขอมูลที่เราสังเกตได คือ น้ํารอน มามา และเวลาที่ทําใหมามาสุก จากขอมูลขางตน เราอาจตั้งสมมติฐานไดวา สมมติฐาน ถาเวลามีผลตอการที่น้ํารอนจะทําใหมามาสุกแลว ระยะเวลาที่แตกตางกันจะทําใหเสน มามาจะสุกในแบบตางๆกัน ตามประสบการณผูเขียนเสนมามาจะเปนได 3 แบบ คือ ดิบ สุก และอืด ตัวแปรตน คือ เวลา ตัวแปรตาม คือ เสนมามาสุก ตัวแปรควบคุม คือ อุณหภูมิของน้ํารอน, ปริมาณน้ํารอน, ชนิดของถวยมามา ในการทําโครงงานวิทยาศาสตรประเภทการทดลองนี้ จะเริ่มดวยการตั้งปญหาจากสิ่งที่สังเกตได การ ตั้งสมมติฐานการทดลอง การระบุตัวแปรตางๆอยางชัดเจน การออกแบบการทดลองอยางมีข้ันตอน การ เลือกใชเครื่องมือในการทําการทดลอง การทําการทดลองอยางถูกวิธีและทดลองซ้ําหลายๆครั้งเพื่อใหไดขอมูล ที่ถูกตอง การวิเคราะหผลการทดลองอยางมีประสิทธิภาพ และสรุปผลการทดลองอยางรัดกุม
  • 11. 11 ตัวอยางโครงงานวิทยาศาสตรประเภทการทดลอง 1. การผลิตกระแสไฟฟาจากใบพืช โรงเรียน โพฒิสารศึกษา (จังหวัดนครสวรรค) ผูทําโครงงาน ด.ญ.วณีพรรณ อวนโพธิ์กลาง, ด.ญ.นภัส รุงโรจนรัตนากร, ด.ญ.ภควัต ชัยสถิต. ด.ช.พงษพนธ โสมขันเงิน และด.ช.วงศวสุ เฉลยทรัพย ั อาจารยที่ปรึกษา อ.อรนุช สังขทอง และอ.ศิริกุล หุตะนาวิน เคาโครงเรื่องยอ/บทคัดยอ จากการศึ ก ษาโครงงานวิ ท ยาศาสตร เรื่ อ งการผลิ ต กระแสไฟฟ า จากใบพื ช มุ ง ศึ ก ษาปริ ม าณ กระแสไฟฟาที่ไดจากสารละลายจากใบพืช 3 ชนิด คือ ใบมะดัน ใบมะกอก ใบมะยม โดยใชนํ้ากลั่นเปนตัวทํา ละลาย 600 cm3 ตอใบพืช 30 g และมีแผนทองแดง แผนสังกะสี เปนตัวนําไฟฟา ปรากฏวา สารละลายจากใบ มะกอกใหปริมาณกระแสไฟฟา 49.50 mA ถาตองการเพิ่มปริมาณกระแสไฟฟา เพื่อใชกับเครื่องใชไฟฟาตอง เพิ่มจํานวนเซลล โดยการนําสารละลายจากใบพืชมาแบงออกเปน 5 เซลล เซลลละ 100 cm3 แลวนําไปตอเขา กับเครื่องไฟฟา คือ นาฬิกาและหลอดไฟ ผลที่ได คือ สารละลายจากใบมะกอกจํานวน 2 เซลลทําใหนาฬิกา เดินไดและหลอดไฟสวาง ผลการทดลอง ถาเพิ่มจํานวนเซลลเปน 5 เซลล สารละลายที่ไดจากใบมะกอกจะทําใหนาฬิกาเดินได และหลอดไฟสวางไดดีกวาสารละลายที่ไดจากใบมะดันและใบมะยม ในจํานวน 5 เซลลเทาๆกัน
  • 12. 12 เอกสารอางอิง มังกร ทองสุขดี. (2523). การวางแผนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร. กรุงเทพฯ: สามเจริญพานิช. สํารวย รังสินธุ และคมกฤษณ ติณจินดา (2540). MODERN COMPACT PHYSICS 1-6. กรุงเทพฯ: บริษัท สํานักพิมพแม็ค จํากัด. ประดิษฐ เหลาเนตร. (2542). เทคนิคการสอนและการทําโครงงานวิทยาศาสตร ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัท เซ็นเตอร ดิสคัฟเวอรี จํากัด. Mark Windale และปาริฉัตร พวงมณี. (2549). หนังสือชุดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู “การสืบคนทาง วิทยาศาสตร” ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงชาติ. ฤทัย จงสฤษดิ์. (2550). พิมพครั้งที่ 3. ปรุงโครงงานวิทยาศาสตรใหอรอย. กรุงเทพฯ: สํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ. ประเสริฐ ศรีไพโรจน. (2551). สารานุกรมวิทยาศาสตร ม.ตน. กรุงเทพฯ: บริษัท ธนธัชการพิมพ จํากัด. วราภรณ ตระกูลสฤษดิ์. (2551). แนวทางการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน. กรุงเทพฯ: เอ็ม ไอ ที พริ้น ติ้ง. อมรวิชช นาครธรรพ และคณะ. (2551). การศึกษาในวิถีชุมชน: การสังเคราะหประสบการณในชุด โครงการวิจัยดานการศึกษากับชุมชน. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. สุธีระ ประเสริฐสรรพ. (2552). วิจัย...ในความคิด. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. __________________. (2552). วิจัย...พลังเปลี่ยนการเรียนรู. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย. __________________. (2552). วิจัย...เรื่องใกลตัว. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. __________________. (2552). เรียนรู...คูวิจัย. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. __________________. (2552). วิจัย...ในจินตนาการ. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.