SlideShare a Scribd company logo
คาสรรพนาม
ความหมายของคาสรรพนาม
คาสรรพนาม หมายถึง คาที่ใช้แทนคานามที่กล่าวถึงมาแล้ว เพื่อจะ
ได้ไม่ต้องกล่าวคานามนั้นซ้าอีก เช่น ฉัน เรา ดิฉัน กระผม กู คุณ ท่าน ใต้
เท้า เขา มัน สิ่งใด ผู้ใด นี่ นั่น อะไร ใคร บ้าง เป็นต้น
ชนิดของคาสรรพนาม
คาสรรพนามแบ่งออกเป็น ๖ ชนิด ได้แก่
๑. คาสรรพนามใช้แทนบุคคล (บุรุษสรรพนาม)
๒. คาสรรพนามชี้ระยะ (นิยมสรรพนาม)
๓. คาสรรพนามบอกความไม่เจาะจง (อนิยมสรรพนาม)
๔. คาสรรพนามใช้ถาม (ปฤจฉาสรรพนาม)
๕. คาสรรพนามบอกความชี้ซ้า (วิภาคสรรพนาม)
๖. คาสรรพนามเชื่อมประโยค (ประพันธสรรพนาม)
๑. คาสรรพนามใช้แทนบุคคล (บุรุษสรรพนาม)
หมายถึง สรรพนามที่ใช้แทนชื่อผู้พูด ผู้ที่พูดด้วยและผู้ที่พูดถึง แบ่งเป็น
๓ ชนิด คือ
๑.๑ สรรพนามบุรุษที่ ๑ ใช้แทนตัวผู้พูด เช่น ผม ฉัน ดิฉัน กระผม
ข้าพเจ้า กู เรา อาตมา ข้าพระพุทธเจ้า หม่อมฉัน เกล้ากระหม่อม
เป็นต้น
ตัวอย่างสรรพนามบุรุษที่ ๑ และการใช้
- กระผม - กระผมชื่อ นายปัญญา นิรันดร์กุล
- ข้าพเจ้า - ข้าพเจ้ามีบิดา มารดาที่รักข้าพเจ้ามาก
- ผม - ผมต้องทางานหนัก เพื่อหาเลี้ยงครอบครัว
๑.๒ สรรพนามบุรุษที่ ๒ ใช้แทนผู้ฟัง หรือผู้ที่เราพูดด้วย เช่น คุณ
เธอ ใต้เท้า ท่าน พระคุณเจ้า ใต้ฝ่ าละอองธุลีพระบาท ฝ่ าพระบาท
เป็นต้น
ตัวอย่างสรรพนามบุรุษที่๒ และการใช้
- คุณ - คุณจะไปเที่ยวที่ไหนครับ
- เธอ - วันหยุดนี้เธอจะมาทารายงานที่บ้าน
ของฉันไหม
- ท่าน - ผมจะกลับบ้านแล้ว ท่านต้องการอะไร
อีกหรือไม่ครับ
๑.๓ สรรพนามบุรุษที่ ๓ ใช้แทนผู้ที่กล่าวถึง เช่น เขา มัน ท่าน
พระองค์ เป็นต้น
ตัวอย่างสรรพนามบุรุษที่๓ และการใช้
- เขา - เขาจะมาด้วยหรือเปล่า
- มัน - สุนัขที่บ้านฉัน มันฉลาดมากเลย
- ท่าน - ท่านเป็นคนใจดีมาก ไม่ต้องวิตกกังวล
ไปหรอก
๒. คาสรรพนามชี้ระยะ (นิยมสรรพนาม)
สรรพนามที่ใช้แทนนามหรือข้อความที่กล่าวมาแล้ว หรือที่ปรากฏ
อยู่เฉพาะหน้า เป็นสรรพนามชี้เฉพาะ เพื่อบ่งความให้ชัดเจน ได้แก่
คาว่า นี่ นั่น โน่น นี้ นั้น โน้น ทั้งนี้ ทั้งนั้น เช่นนี้ เช่นนั้น อย่างนี้
อย่างนั้น อย่างโน้น เป็นต้น
ตัวอย่างนิยมสรรพนาม และการใช้
- นี้คือหนังสือที่ฉันชอบ
- โน้นคือร้านตัดผ้าชื่อดัง
- นั่นเป็นมติของกรรมการ
- ฉันอยู่นี่สบายกว่าอยู่โน่น
- นี้เป็นความเห็นของฉันนั้นเป็นความเห็นของคนอื่น
- ฉันเข้าใจว่าอย่างนี้ดีกว่าอย่างนั้นหรือเธอชอบอย่างโน้น
ทั้งนี้เป็นความเห็นของฉัน
๓. คาสรรพนามบอกความไม่เจาะจง (อนิยมสรรพนาม)
สรรพนามที่ใช้แทนนามทั่ว ๆ ไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจงเหมือนนิยม
สรรพนามได้แก่คาว่าใคร อะไรไหน ผู้ใด อื่น ผู้อื่น ชาวไหน ผู้ใดผู้
หนึ่ง ผู้หนึ่งผู้ใด จะให้เป็นชนิดคาคู่ก็ได้ เช่น ใด ๆ ใคร ๆ อะไร ๆ
ไหน ๆ อื่น ๆ เป็นต้น
ตัวอย่างอนิยมสรรพนาม และการใช้
- ใครจะมากับฉันก็ได้
- ใด ๆ ในโลกล้วนอนิจจัง
- ผู้ใดเป็นคนดีเราควรคบผู้นั้น
- อยู่ไหนก็ไม่สะดวกเท่าบ้านเรา
- ไหน ๆ เขาก็ไปแล้ว ทาใจเถอะ
- ฉันไม่ทราบว่าอะไรเป็นอะไรแล้ว
- แม่ครัวซื้อผัก หมู ไข่ ไก่ ผลไม้ และอื่น ๆ
- คนเราจะดีได้ก็เพราะความดีเท่านั้นอื่นจากนี้ไม่มีอีกแล้ว
- ผู้หนึ่งผู้ใดเห็นว่าผู้อื่นดีกว่าก็จงเลือกผู้นั้นเป็นผู้แทนของตน
๔. คาสรรพนามใช้ถาม (ปฤจฉาสรรพนาม)
หมายถึง สรรพนามที่ใช้แทนนามที่เป็นคาถาม ได้แก่คาว่า ใคร
อะไร ไหน ผู้ใด สิ่งใด เป็นต้น
ตัวอย่างปฤจฉาสรรพนาม และการใช้
- ใคร - ใครทาแก้วแตก
- เมื่อเช้านี้ใครมาหาฉัน
- บ้านหลังนี้เป็นของใคร
- ใด - ข้อใดเป็นคาตอบที่ถูกต้อง
- สิ่งใดที่นักเรียนไม่ควรปฏิบัติ
- หนังสือเล่มใดที่เธอชอบอ่าน
- ไหน - เธอเกิดที่ไหน
- สุนัขของเธอตัวไหน
- ไหนคือบ้านของท่าน
- อะไร - อะไรอยู่ในกระเป๋ า
- สีฟ้ ารวมกับสีเหลืองได้สีอะไร
- อาหารหลักของคนไทยคืออะไร
ข้อสังเกต
ปฤจฉาสรรพนามใช้เป็นคาถาม ส่วนนิยมสรรพนามใช้เป็นคาแทนชื่อที่ไม่ชี้
เฉพาะ ไม่ได้ใช้
เป็นคาถาม เช่น
- เมื่อเช้านี้ใครมาหาฉัน ? (เป็นปฤจฉาสรรพนาม)
- ใครจะมาหาฉันก็ได้ (เป็นอนิยมสรรพนาม)
- อะไรอยู่ในกระเป๋ า ? (เป็นปฤจฉาสรรพนาม)
- ฉันจะรับประทานอะไรก็ได้ (เป็นอนิยมสรรพนาม)
- ไหนคือบ้านของท่าน ? (เป็นปฤจฉาสรรพนาม)
- ฉันจะอยู่ไหนก็ได้ (เป็นอนิยมสรรพนาม)
- ผู้ใดอยู่ในห้องนั้น ? (เป็นปฤจฉาสรรพนาม)
- ผู้ใดจะอยู่ในห้องนั้นก็ได้ (เป็นอนิยมสรรพนาม)
๕. คาสรรพนามบอกความชี้ซ้า (วิภาคสรรพนาม)
หมายถึง สรรพนามที่ใช้แทนนามหรือสรรพนามที่แยกออกเป็นแต่
ละคน แต่ละสิ่ง หรือแต่ละพวกได้แก่คาว่า ต่าง บ้าง กัน
ตัวอย่างวิภาคสรรพนาม และการใช้
- ต่าง - นักฟุตบอลต่างเล่นกันเต็มที่
- ทุกคนต่างทาหน้าที่ของตนเอง
- นักเรียนต่างพากันตั้งใจทาข้อสอบ
- ไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ต่างก็มีงานทั้งสิ้น
- บ้าง - คนเราก็มีดีบ้างเสียบ้าง
- เด็ก ๆ บ้างเดิน บ้างขี่จักรยาน
- นักเรียนกลุ่มนี้ บ้างเล่น บ้างอ่านหนังสือ
- ผู้คนในเมืองหลวงบ้างก็รวย บ้างก็ยากจน
- กัน - ทุกคนช่วยกันทางาน
- เราช่วยกันปลูกต้นไม้
- เด็ก ๆ เล่นกันอย่างสนุกสนาน
- คนไทยช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
๖. คาสรรพนามเชื่อมประโยค (ประพันธสรรพนาม)
หมายถึง คาสรรพนามที่ใช้แทนนามหรือสถานที่อยู่ติดต่อกัน
ข้างหน้าได้แก่คาว่า ผู้ ที่ ซึ่ง อัน ดัง ผู้ที่ ผู้ซึ่ง เป็นต้น
ตัวอย่างประพันธสรรพนาม และการใช้
- ผู้ - ใคร ๆ ผู้ที่ไม่ประสงค์จะดูลิเกก็ให้ดูภาพยนตร์
- ที่ - คนที่เป็นนักกีฬา ร่างกายแข็งแรงมาก
- เพื่อนที่เรียนด้วยกัน ได้รับรางวัลเด็กดี
- ซึ่ง - ฉันอาศัยอยู่กับป้ าซึ่งเป็นคนใจดีมาก
- บ้านของเราอยู่ในชนบทซึ่งห่างไกลจากตัวเมืองมาก
- อัน - ความจริงอันนี้ เป็นสิ่งที่ไม่มีวันตาย
- ชัยชนะอันยากยิ่งคือการชนะใจตัวเอง
- ไม่มีความรักอันใด เทียบเท่ารักของพ่อแม่
- ความสาเร็จอันเกิดจากความพยายามเป็นสิ่งน่า
ภูมิใจ
- ดัง - บุคคลดังจะกล่าวต่อไปนี้เป็นผู้เยาว์
- ผู้ที่ - นักเรียนผู้ที่สอบได้ที่หนึ่งจะได้รับทุนการศึกษา
- ผู้ซึ่ง - เขาผู้ซึ่งชอบการพนันจะต้องพินาศ
หน้าที่ของคาสรรพนาม
๑. ทาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น
- เขาไปโรงเรียน
- ใครทาน้าหกเลอะพื้นไปหมดสถานที่ หรือขยายกริยาให้ชัดเจนขึ้น
๒. ทาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น
- คุณช่วยเอานี่ไปเก็บได้ไหม
- ครูจะทาโทษเธอถ้าเธอไม่ทาการบ้าน
๓. ทาหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็ม หรือส่วนสมบูรณ์ เช่น
- เขาเป็นใคร
- กานันคนใหม่ของตาบลนี้คือเขานั่นเอง
๔. ทาหน้าที่เชื่อมประโยคในประโยคความซ้อน เช่น
- ครูชมเชยนักเรียนที่ขยัน
- นักเรียนกลุ่มนี้บ้างเล่นบ้างอ่านหนังสือ
๕. ทาหน้าที่ขยายนามที่ทาหน้าที่เป็นประธานหรือกรรมของประโยค เพื่อ
เน้นการแสดงความรู้สึกของผู้พูด จะวางหลังคานาม เช่น
- ฉันแวะไปเยี่ยมคุณปู่ ท่านมา
- คุณครูท่านไม่พอใจที่เราไม่ตั้งใจ

More Related Content

What's hot

คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
ปวริศา
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5ปวริศา
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
Santichon Islamic School
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
นางอรสา บุญยาพงษ์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
mintmint2540
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
Nanthida Chattong
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
Nanthida Chattong
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
Warodom Techasrisutee
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5
SAM RANGSAM
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
Manas Panjai
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 

What's hot (20)

คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 

Similar to คำสรรพนาม

คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)perunruk
 
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒Boom Beautymagic
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
speedpiyawat
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)
Prasit Koeiklang
 
第六课——我学习汉语
第六课——我学习汉语第六课——我学习汉语
第六课——我学习汉语
Nonnab
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
Ladawan Munchit
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6thaneerat
 
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
ปวริศา
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยthaneerat
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 
หน่วยที่ 1 คำนาม
หน่วยที่ 1 คำนามหน่วยที่ 1 คำนาม
หน่วยที่ 1 คำนามDewry Ys
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
คุณานนต์ ทองกรด
 
Kam
KamKam
Kamsa
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 

Similar to คำสรรพนาม (20)

คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
4.ใบความรู้แผน ๑ หน่วย ๒
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
 
Te500 2
Te500 2Te500 2
Te500 2
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)
 
第六课——我学习汉语
第六课——我学习汉语第六课——我学习汉语
第六课——我学习汉语
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
 
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
หน่วยที่ 1 คำนาม
หน่วยที่ 1 คำนามหน่วยที่ 1 คำนาม
หน่วยที่ 1 คำนาม
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
 
Kam
KamKam
Kam
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

คำสรรพนาม

  • 2. ความหมายของคาสรรพนาม คาสรรพนาม หมายถึง คาที่ใช้แทนคานามที่กล่าวถึงมาแล้ว เพื่อจะ ได้ไม่ต้องกล่าวคานามนั้นซ้าอีก เช่น ฉัน เรา ดิฉัน กระผม กู คุณ ท่าน ใต้ เท้า เขา มัน สิ่งใด ผู้ใด นี่ นั่น อะไร ใคร บ้าง เป็นต้น
  • 3. ชนิดของคาสรรพนาม คาสรรพนามแบ่งออกเป็น ๖ ชนิด ได้แก่ ๑. คาสรรพนามใช้แทนบุคคล (บุรุษสรรพนาม) ๒. คาสรรพนามชี้ระยะ (นิยมสรรพนาม) ๓. คาสรรพนามบอกความไม่เจาะจง (อนิยมสรรพนาม) ๔. คาสรรพนามใช้ถาม (ปฤจฉาสรรพนาม) ๕. คาสรรพนามบอกความชี้ซ้า (วิภาคสรรพนาม) ๖. คาสรรพนามเชื่อมประโยค (ประพันธสรรพนาม)
  • 4. ๑. คาสรรพนามใช้แทนบุคคล (บุรุษสรรพนาม) หมายถึง สรรพนามที่ใช้แทนชื่อผู้พูด ผู้ที่พูดด้วยและผู้ที่พูดถึง แบ่งเป็น ๓ ชนิด คือ ๑.๑ สรรพนามบุรุษที่ ๑ ใช้แทนตัวผู้พูด เช่น ผม ฉัน ดิฉัน กระผม ข้าพเจ้า กู เรา อาตมา ข้าพระพุทธเจ้า หม่อมฉัน เกล้ากระหม่อม เป็นต้น ตัวอย่างสรรพนามบุรุษที่ ๑ และการใช้ - กระผม - กระผมชื่อ นายปัญญา นิรันดร์กุล - ข้าพเจ้า - ข้าพเจ้ามีบิดา มารดาที่รักข้าพเจ้ามาก - ผม - ผมต้องทางานหนัก เพื่อหาเลี้ยงครอบครัว
  • 5. ๑.๒ สรรพนามบุรุษที่ ๒ ใช้แทนผู้ฟัง หรือผู้ที่เราพูดด้วย เช่น คุณ เธอ ใต้เท้า ท่าน พระคุณเจ้า ใต้ฝ่ าละอองธุลีพระบาท ฝ่ าพระบาท เป็นต้น ตัวอย่างสรรพนามบุรุษที่๒ และการใช้ - คุณ - คุณจะไปเที่ยวที่ไหนครับ - เธอ - วันหยุดนี้เธอจะมาทารายงานที่บ้าน ของฉันไหม - ท่าน - ผมจะกลับบ้านแล้ว ท่านต้องการอะไร อีกหรือไม่ครับ
  • 6. ๑.๓ สรรพนามบุรุษที่ ๓ ใช้แทนผู้ที่กล่าวถึง เช่น เขา มัน ท่าน พระองค์ เป็นต้น ตัวอย่างสรรพนามบุรุษที่๓ และการใช้ - เขา - เขาจะมาด้วยหรือเปล่า - มัน - สุนัขที่บ้านฉัน มันฉลาดมากเลย - ท่าน - ท่านเป็นคนใจดีมาก ไม่ต้องวิตกกังวล ไปหรอก
  • 7. ๒. คาสรรพนามชี้ระยะ (นิยมสรรพนาม) สรรพนามที่ใช้แทนนามหรือข้อความที่กล่าวมาแล้ว หรือที่ปรากฏ อยู่เฉพาะหน้า เป็นสรรพนามชี้เฉพาะ เพื่อบ่งความให้ชัดเจน ได้แก่ คาว่า นี่ นั่น โน่น นี้ นั้น โน้น ทั้งนี้ ทั้งนั้น เช่นนี้ เช่นนั้น อย่างนี้ อย่างนั้น อย่างโน้น เป็นต้น
  • 8. ตัวอย่างนิยมสรรพนาม และการใช้ - นี้คือหนังสือที่ฉันชอบ - โน้นคือร้านตัดผ้าชื่อดัง - นั่นเป็นมติของกรรมการ - ฉันอยู่นี่สบายกว่าอยู่โน่น - นี้เป็นความเห็นของฉันนั้นเป็นความเห็นของคนอื่น - ฉันเข้าใจว่าอย่างนี้ดีกว่าอย่างนั้นหรือเธอชอบอย่างโน้น ทั้งนี้เป็นความเห็นของฉัน
  • 9. ๓. คาสรรพนามบอกความไม่เจาะจง (อนิยมสรรพนาม) สรรพนามที่ใช้แทนนามทั่ว ๆ ไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจงเหมือนนิยม สรรพนามได้แก่คาว่าใคร อะไรไหน ผู้ใด อื่น ผู้อื่น ชาวไหน ผู้ใดผู้ หนึ่ง ผู้หนึ่งผู้ใด จะให้เป็นชนิดคาคู่ก็ได้ เช่น ใด ๆ ใคร ๆ อะไร ๆ ไหน ๆ อื่น ๆ เป็นต้น
  • 10. ตัวอย่างอนิยมสรรพนาม และการใช้ - ใครจะมากับฉันก็ได้ - ใด ๆ ในโลกล้วนอนิจจัง - ผู้ใดเป็นคนดีเราควรคบผู้นั้น - อยู่ไหนก็ไม่สะดวกเท่าบ้านเรา - ไหน ๆ เขาก็ไปแล้ว ทาใจเถอะ - ฉันไม่ทราบว่าอะไรเป็นอะไรแล้ว - แม่ครัวซื้อผัก หมู ไข่ ไก่ ผลไม้ และอื่น ๆ - คนเราจะดีได้ก็เพราะความดีเท่านั้นอื่นจากนี้ไม่มีอีกแล้ว - ผู้หนึ่งผู้ใดเห็นว่าผู้อื่นดีกว่าก็จงเลือกผู้นั้นเป็นผู้แทนของตน
  • 11. ๔. คาสรรพนามใช้ถาม (ปฤจฉาสรรพนาม) หมายถึง สรรพนามที่ใช้แทนนามที่เป็นคาถาม ได้แก่คาว่า ใคร อะไร ไหน ผู้ใด สิ่งใด เป็นต้น ตัวอย่างปฤจฉาสรรพนาม และการใช้ - ใคร - ใครทาแก้วแตก - เมื่อเช้านี้ใครมาหาฉัน - บ้านหลังนี้เป็นของใคร
  • 12. - ใด - ข้อใดเป็นคาตอบที่ถูกต้อง - สิ่งใดที่นักเรียนไม่ควรปฏิบัติ - หนังสือเล่มใดที่เธอชอบอ่าน - ไหน - เธอเกิดที่ไหน - สุนัขของเธอตัวไหน - ไหนคือบ้านของท่าน - อะไร - อะไรอยู่ในกระเป๋ า - สีฟ้ ารวมกับสีเหลืองได้สีอะไร - อาหารหลักของคนไทยคืออะไร
  • 13. ข้อสังเกต ปฤจฉาสรรพนามใช้เป็นคาถาม ส่วนนิยมสรรพนามใช้เป็นคาแทนชื่อที่ไม่ชี้ เฉพาะ ไม่ได้ใช้ เป็นคาถาม เช่น - เมื่อเช้านี้ใครมาหาฉัน ? (เป็นปฤจฉาสรรพนาม) - ใครจะมาหาฉันก็ได้ (เป็นอนิยมสรรพนาม) - อะไรอยู่ในกระเป๋ า ? (เป็นปฤจฉาสรรพนาม) - ฉันจะรับประทานอะไรก็ได้ (เป็นอนิยมสรรพนาม) - ไหนคือบ้านของท่าน ? (เป็นปฤจฉาสรรพนาม) - ฉันจะอยู่ไหนก็ได้ (เป็นอนิยมสรรพนาม) - ผู้ใดอยู่ในห้องนั้น ? (เป็นปฤจฉาสรรพนาม) - ผู้ใดจะอยู่ในห้องนั้นก็ได้ (เป็นอนิยมสรรพนาม)
  • 14. ๕. คาสรรพนามบอกความชี้ซ้า (วิภาคสรรพนาม) หมายถึง สรรพนามที่ใช้แทนนามหรือสรรพนามที่แยกออกเป็นแต่ ละคน แต่ละสิ่ง หรือแต่ละพวกได้แก่คาว่า ต่าง บ้าง กัน
  • 15. ตัวอย่างวิภาคสรรพนาม และการใช้ - ต่าง - นักฟุตบอลต่างเล่นกันเต็มที่ - ทุกคนต่างทาหน้าที่ของตนเอง - นักเรียนต่างพากันตั้งใจทาข้อสอบ - ไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ต่างก็มีงานทั้งสิ้น
  • 16. - บ้าง - คนเราก็มีดีบ้างเสียบ้าง - เด็ก ๆ บ้างเดิน บ้างขี่จักรยาน - นักเรียนกลุ่มนี้ บ้างเล่น บ้างอ่านหนังสือ - ผู้คนในเมืองหลวงบ้างก็รวย บ้างก็ยากจน - กัน - ทุกคนช่วยกันทางาน - เราช่วยกันปลูกต้นไม้ - เด็ก ๆ เล่นกันอย่างสนุกสนาน - คนไทยช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
  • 17. ๖. คาสรรพนามเชื่อมประโยค (ประพันธสรรพนาม) หมายถึง คาสรรพนามที่ใช้แทนนามหรือสถานที่อยู่ติดต่อกัน ข้างหน้าได้แก่คาว่า ผู้ ที่ ซึ่ง อัน ดัง ผู้ที่ ผู้ซึ่ง เป็นต้น
  • 18. ตัวอย่างประพันธสรรพนาม และการใช้ - ผู้ - ใคร ๆ ผู้ที่ไม่ประสงค์จะดูลิเกก็ให้ดูภาพยนตร์ - ที่ - คนที่เป็นนักกีฬา ร่างกายแข็งแรงมาก - เพื่อนที่เรียนด้วยกัน ได้รับรางวัลเด็กดี - ซึ่ง - ฉันอาศัยอยู่กับป้ าซึ่งเป็นคนใจดีมาก - บ้านของเราอยู่ในชนบทซึ่งห่างไกลจากตัวเมืองมาก
  • 19. - อัน - ความจริงอันนี้ เป็นสิ่งที่ไม่มีวันตาย - ชัยชนะอันยากยิ่งคือการชนะใจตัวเอง - ไม่มีความรักอันใด เทียบเท่ารักของพ่อแม่ - ความสาเร็จอันเกิดจากความพยายามเป็นสิ่งน่า ภูมิใจ - ดัง - บุคคลดังจะกล่าวต่อไปนี้เป็นผู้เยาว์ - ผู้ที่ - นักเรียนผู้ที่สอบได้ที่หนึ่งจะได้รับทุนการศึกษา - ผู้ซึ่ง - เขาผู้ซึ่งชอบการพนันจะต้องพินาศ
  • 20. หน้าที่ของคาสรรพนาม ๑. ทาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น - เขาไปโรงเรียน - ใครทาน้าหกเลอะพื้นไปหมดสถานที่ หรือขยายกริยาให้ชัดเจนขึ้น ๒. ทาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น - คุณช่วยเอานี่ไปเก็บได้ไหม - ครูจะทาโทษเธอถ้าเธอไม่ทาการบ้าน
  • 21. ๓. ทาหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็ม หรือส่วนสมบูรณ์ เช่น - เขาเป็นใคร - กานันคนใหม่ของตาบลนี้คือเขานั่นเอง ๔. ทาหน้าที่เชื่อมประโยคในประโยคความซ้อน เช่น - ครูชมเชยนักเรียนที่ขยัน - นักเรียนกลุ่มนี้บ้างเล่นบ้างอ่านหนังสือ ๕. ทาหน้าที่ขยายนามที่ทาหน้าที่เป็นประธานหรือกรรมของประโยค เพื่อ เน้นการแสดงความรู้สึกของผู้พูด จะวางหลังคานาม เช่น - ฉันแวะไปเยี่ยมคุณปู่ ท่านมา - คุณครูท่านไม่พอใจที่เราไม่ตั้งใจ