SlideShare a Scribd company logo
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลง
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ของประเทศไทยในอนาคต




                                นายพิเชษฐ พิมพ์เจริญ
                              รหัสนิสิต 55199150051
The World




            3,500 ล้านปี
Human Revolution




                   8,000 ปี
Brain
Brain
มนุษย์มีสมอง นิ้วมือ ที่ทํางานได้อย่างดี
 ต้องปรับตัวเองเพื่อดํารงชีวิต
 รู้จักคิดค้น สิ่งอํานวยความสะดวก (ปัจจัย 4)
 แสวงหาความรู้ ศึกษาธรรมชาติ
 สงสัย สังเกต จนทําให้เกิด วิทยาศาสตร์
 หลังจากนั้นคําว่าวิทยาศาสตร์ก็ใช้ควบคู่
 กับคําว่าเทคโนโลยี
“วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”
วิทยาศาสตร์ : Science
การศึกษาและสะสมความรูเกี่ยวกับ
ปรากฏการณตางๆ ในธรรมชาติ
โดยเขาใจถึงความเปนมา เพื่อ
นํามาประยุกตใช
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ : Scientific method
เป็นรากฐานของวิธีการศึกษา เพื่อความถูกต้อง แม่นยํา
แน่นอน
ลําดับขั้นตอนการศึกษาได้เป็นขั้นๆ ดังนี้
1. การสังเกต : Observation
เป็นรากฐานที่ทําให้
เกิดแนวคิด
                      Isaac Newton
2. ปัญหา : Problem
เมื่อสังเกตแล้ว ก่อให้เกิดแนวคิด ตั้งปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่
สังเกตนั้นเพื่อแสวงหาคําตอบ
3. สมมติฐาน : Hypothesis
การเดาคําตอบของปัญหา อาจถูกหรือผิดก็ได้ คําตอบมีได้
หลายรูปแบบแต่คําตอบทีถกต้องจะมีเพียงคําตอบเดียว
                     ู่
4. การพิสูจน์ หรือการทดลอง : Experimentation
การทดลองเป็นการที่จะพิสูจน์ว่าสมมติฐานใดถูกต้อง
เป็นขั้นตอนสําคัญ หากผิดพลาดจะเกิดผลเสีย
5. ความจริง หรือทฤษฎี : Fact or Theory
เมื่อรวบรวมผลการทดลองและพิสูจน์ได้ว่าสมมติฐานเป็น
ความจริง สมมติฐานนี้ก็คือความจริงหรือ ทฤษฎี
เทคโนโลยี
     การนําวิทยาศาสตร์และความรู้ที่ได้จากการรวบรวมมา
ประยุกต์ใช้ตามวัตถุประสงค์ของมนุษย์เพื่อแก้ไขปัญหา และ
เพิ่มความสะดวกสบายในการดํารงชีวิต ซึ่งการนํามาใช้นั้น
ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ
 1) ความเหมาะสม
 2) ค่านิยม
 3) วัฒนธรรมทางสังคม
ระดับของเทคโนโลยี แบ่งได้ 4 ระดับ

ระดับที่ 1 เทคโนโลยีชาวบ้าน
ระดับที่ 2 เทคโนโลยีขั้นกลาง
ระดับที่ 3 เทคโนโลยีขั้นสูง
ระดับที่ 4 เทคโนโลยีก้าวหน้า
วิวัฒนาการของมนุษย์กับเทคโนโลยี
1. ยุคแรกเมื่อมีมนุษย์ (4,000-8,000 ปีกอน)
                                       ่
- การดํารงชีพขึ้นอยู่กับธรรมชาติ
- รู้จักเครื่องทุ่นแรง ค้นพบไฟ
- สะสมประสบการณ์จาก
       ปรากฏการณ์ธรรมชาติ
2. ยุคของการตั้งถินฐานเกษตรกรรม (2,000–4,000 ปี)
                   ่
- รู้จักการเลี้ยงสัตว์ ปลูกพืช
-   มีการประดิษฐ์ตัวอักษรเพื่อใช้ในการบันทึกข้อความ
-   มีวิชาปรัชญาและการคํานวณซึ่งเป็นรากฐานของ
    วิทยาศาสตร์
3. ยุคของการพาณิชย์ (300-2,000 ปี)
- รู้จักการแลกเปลี่ยนสิ่งของกัน
- กระจายความรู้และอารยธรรม
- มีการส่งเรือสําเภาไปติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ
4. ยุคของวิทยาศาสตร์และการปฏิวัติอุตสาหกรรม
  (300-WWII)
- มีนักวิทยาศาสตร์และความรู้เกิดขึ้นมากมาย
- มีการพัฒนาความรู้ด้านฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา
- สังคมเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วและซับซ้อนมากขึ้น
- การนําความรู้มาใช้ในการทําสงคราม
5. ยุคของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในปัจจุบนและ
                                          ั
  อนาคต
- หลัง WWII เทคโนโลยีก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว
- ความรู้ด้าน DNA การตัดต่อยีน
- การสร้างวงจรไฟฟ้าขนาดเล็ก ผลิตคอมพิวเตอร์
  โทรศัพท์มือถือ หุ่นยนต์
- ทําลายสิ่งแวดล้อมมากมาย
ประโยชน์ – โทษ ของเทคโนโลยี
     ประโยชน์
-   การดํารงชีวิตสะดวกสบายมากขึ้น
-   การติดต่อสื่อสารสะดวก รวดเร็ว
-   การรักษาพยาบาลทันสมัย อายุยืนมากขึ้น
โทษ
-   ผลเสียต่อสภาพแวดล้อม
-   ธรรมชาติขาดสมดุล ภัยพิบัติมากขึ้น รุนแรงขึ้น
-   สภาพสังคมซับซ้อนมากขึ้น
วัฎจักรของเทคโนโลยี
1. การวิจัย : Research
2. พัฒนา : Develope
3. โครงการต้นแบบ : Pilot
4. แนะนําเชิงพาณิชย์ : Intro
5. ขยายวงการใช้เทคโนโลยี : Growth
6. ระยะอิ่มตัว : Mature
7. ระยะลดต่ํา : Decline
เทคโนโลยีในโลกอนาคต
ระหว่างศตวรรษที่ 21 เราจะได้เห็นความเปลี่ยนแปลงใน
ชีวิตประจําวัน ความก้าวหน้าทางวิทยาการอย่างมากใน
หลากหลายสาขา อาทิ การแพทย์ การสื่อสาร สถาปัตยกรรม
และการขนส่ง ซึ่งจะมีผลกระทบต่อสังคมอย่างมาก
เมืองในอนาคต
 มนุษย์ตระหนักว่าการอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ทําให้พวกเขามีโอกาสอยู่
รอดมากที่สุด ก็เริ่มตั้งถิ่นฐานถาวรขึ้น หลายแห่งได้กลายเป็นเมือง
ใหญ่ทั้ง ๆ ที่มีปญหาเกี่ยวกับประชากรล้นและมลพิษ แต่เมืองต่าง ๆ ก็
                 ั
จะยังขยายตัวต่อไปในศตวรรษที่ 21 นี้ ทะเลจะถูกถมมากขึ้น การ
ก่อสร้างด้วยวิธีการที่ก้าวหน้าจะช่วยให้สร้างตึกระฟ้าได้สูงอุโมงค์และ
เส้นทางเชื่อมโยงการขนส่งสําคัญจะถูกสร้างขึ้นด้วยเทคนิคแบบใหม่
ค.ศ. 2025 ประชากร 8 พันล้านคน
เมืองไซเบอร์
ตัวอย่างของเมือง ไซเบอร์ คือ ไซเบอร์จายา (Cyberjaya) เป็นเมืองที่
สร้างขึ้นในประเทศมาเลเซีย เป็นที่ตั้งของอุตสาหกรรมด้านสื่อ
มัลติมีเดียศูนย์การค้นคว้าและวิจัย (R&D Centers) มหาวิทยาลัย
มัลติมีเดีย สามารถเป็นต้นแบบของเมืองในศตวรรษที่ 21 ในแผนการ
อาศัยในเมืองไซเบอร์จายานั้น
ห้ามใช้ยานพาหนะต่าง ๆ ที่
ใช้น้ํามันเชื้อเพลิง และสนับ
สนุนให้ใช้สิ่งที่ไม่ก่อให้เกิด
มลพิษ บ้านใช้พลังงานแสง
อาทิตย์และเชื่อมต่อกับศูนย์
สั่งการของเมือง
บ้านในอนาคต
จะได้รับการออกแบบให้ใช้พลังงานรูปแบบอืน เช่น พลังงานลม
                                      ่
พลังงานแสงอาทิตย์ ระบบรักษาความปลอดภัยจะใช้ระบบชีวมิติที่
สแกนลักษะเฉพาะบุคคลก่อนจะอนุญาต กําแพงสามารถทําหน้าที่
เป็นจอภาพขนาดใหญ่ อุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ควบคุมด้วยระบบ
คอมพิวเตอร์
การคมนาคม
ระหว่างศตวรรษที่ 21 การคมนาคมหลายรูปแบบจะรวดเร็วขึ้น และ
ทําลายสภาพแวดล้อมน้อยลง คาดว่าภายในปี ค.ศ.2025 รถยนต์
พลังงานไฟฟ้าจะเป็นสิ่งธรรมดาบนท้องถนน การคมนาคมทางเรือและ
ทางรถไฟจะใช้แรงขับเคลื่อนแม่เหล็ก สําหรับการเดินทางระยะไกล
เครื่องบินโดยสาร hypersonic จะถึงจุดหมายได้เร็วขึ้น
ในขณะที่ ประเทศที่พัฒนาแล้วมีนโยบายการส่งเสริมการขนส่งมวลชน
และการห้ามใช้รถยนต์ใจกลางเมือง ส่งเสริมการใช้รถจักรยาน รวมทั้ง
ส่งเสริมการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า แต่นโยบายของรัฐบาลไทยสนับสนุน
โครงการรถคันแรก ซึ่งทําให้มีรถเพิ่มขึ้นกว่า 1.4 แสนคัน
สุขภาพ
ระหว่างศตวรรษที่ 21 มนุษย์จะอายุยนขึ้นและมีสุขภาพที่ดีกว่าที่เคย
                                  ื
เป็นมาในอดีต การดูแลสุขภาพที่พัฒนาให้ดขึ้น ความก้าวหน้าทาง
                                       ี
วิทยาการเกี่ยวกับความเข้าใจการทํางานของร่างกาย และการปลูกถ่าย
อวัยวะสํารอง ความก้าวหน้าทางพันธุศาสตร์จะช่วยให้แพทย์วนจฉัยและ
                                                         ิ ิ
รักษาโลกที่ปัจจุบนรักษาไม่ได้
                 ั
โคลนนิ่ง :
นักวิทยาศาสตร์ได้ประสบผลสําเร็จในการสร้างสิ่งที่เหมือนกันทุกประการ
เรียกว่า โคลน (clone) เช่น แกะดอลลี่ การโคลนทําให้เกิดความกลัวว่า
จะมีการโคลนมนุษย์โดยมีวัตถุประสงค์ในทางไม่ดี
อาหาร
นิตยสาร Popular Science ได้คาดการณ์ไว้ว่าความต้องการทาง
โภชนาการของมนุษย์อาจเปลี่ยนรูปแบบมาเป็นเม็ดเพียงเม็ดเดียว
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
   ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย
    ปัจจุบนที่ประเทศไทยได้เข้ามาสู่ยคโลกาภิวัตน์ที่มีการสื่อสารไร้
          ั                         ุ
พรมแดน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนอกประเทศส่งผลกระทบอย่างมาก จน
สังคมไทยปรับตัวไม่ทันกับคลื่นการเปลี่ยนแปลงสังคมของโลก
(Future Shock) เป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคม
อย่างรวดเร็ว ด้วยพลังแห่งวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ใน
รูปแบบการสื่อสารแบบไร้พรมแดน ที่มีปจจัยขับเคลื่อน (Driving
                                      ั
Forces) หลักของประเทศ
การวิเคราะห์วทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย
                      ิ
- ประเทศไทย มีปญหาเชิงโครงสร้างการพัฒนาของประเทศที่ไม่สมดุล
                   ั
  ไม่ยั่งยืน และอ่อนไหวต่อผลกระทบจากความผันผวนของปัจจัย
  ภายนอกที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว
- ประเทศไทยจึงจําเป็นต้องปรับตัวหันมาทบทวนอนาคต ไปสู่การพัฒนา
  ในทิศทางที่พ่งพาตนเองและมีภูมิคมกันมากขึ้น โดยมุ่งเน้นการใช้
                ึ                ุ้
  วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา
  ภาคส่วนต่าง ๆ ควบคู่ไปกับการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวมที่
  ยึด “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อให้การพัฒนาและบริหารประเทศ
  เป็นไปในทางสายกลาง
- โดยมีการวิเคราะห์อย่าง “มีเหตุผล” และใช้หลัก “สังคมคุณภาพ
และมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ” ให้เกิดความสมดุลระหว่างวัตถุกับ
จิตใจของคนในชาติ ความสมดุลระหว่างความสามารถในการ
พึ่งตนเองกับความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก ความสมดุล
ระหว่างสังคมชนบทกับสังคมเมือง โดยมีการเตรียมการบริหารจัดการ
ความเสี่ยงให้เพียงพอพร้อมรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
- การขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาทุกขั้นตอนต้องใช้ “ความรู้” ในการ
  พัฒนาด้านต่างๆ ด้วยความรอบคอบ เป็นไปตามลําดับขั้นตอน และ
  สอดคล้องกับวิถีชีวิตของสังคมไทย รวมทั้งการเสริมสร้างศีลธรรมและ
  สํานึกใน “คุณธรรม” จริยธรรมในการปฏิบติหน้าที่และดําเนินชีวิต
                                            ั
  ด้วยความเพียร อันจะเป็นภูมิคุ้มกันในตัวที่ดให้พร้อมเผชิญการ
                                              ี
  เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน สังคมและ
  ประเทศชาติ และยังสอดคล้องตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่ง
  ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลง

จากแนวทางในการใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมกับการ
รองรับการเปลี่ยนแปลง ตามนโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลง ได้แก่
- วทน.จะเกิดการเชื่อมโยงในทุกมิติของเศรษฐกิจโลก และการเกิด
ประชาคมใหม่จากการรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจ ASEAN
- การเกิดนวัตกรรมสีเขียว (Green Innovation) โดยให้ความสําคัญ
  กับ การผลิตและบริการเชิงนิเวศน์ การสร้างสรรค์วิทยาศาสตร์และ
  เทคโนโลยีใหม่และร่วมสมัย ในกรอบของเทคโนโลยีอุบัติใหม่
  (Emerging Technology) วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เทคโนโลยีชีวภาพ
  เทคโนโลยีวสดุ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) และนา
             ั
  โนเทคโนโลยี (Nanotechnology)
- วทน.จะเกิดทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านประชากรและสังคม
  (Demographic and Social Change) โดยให้ความสําคัญกับ
  การกระจายความเจริญ
- วทน.จะเกิดทําให้เกิดการการเปลี่ยนแปลงด้านพลังงาน อาหาร
  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยให้ความสําคัญกับ ความ
  มั่นคงทางพลังงานและพลังงานสะอาด (Energy Security and
  Clean Energy) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate
  Change)
ยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน
1. เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน
2. อนุรักษ์พลังงานและใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
3. พัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานสะอาด
4. กํากับดูแลกิจการพลังงานและราคาพลังงาน
5. อุตสาหกรรมพลังงานสร้างรายได้ให้กับประเทศ
6. การเป็นองค์กรสมรถนะสูงที่ยึดมั่นในหลักธรรมาธิบาล
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชัญญานุช เนริกูล
 
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียนการวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
NU
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
Wichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
Preeyapat Lengrabam
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
dnavaroj
 
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
อัจฉรา นาคอ้าย
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
wanchalerm sotawong
 
แบบสอบถามพึงพอใจสำหรับผู้เรียนเกี่ยวกับ
แบบสอบถามพึงพอใจสำหรับผู้เรียนเกี่ยวกับแบบสอบถามพึงพอใจสำหรับผู้เรียนเกี่ยวกับ
แบบสอบถามพึงพอใจสำหรับผู้เรียนเกี่ยวกับ
บุญรักษา ของฉัน
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
Apirak Potpipit
 
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2fal-war
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
orasa1971
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
โทโต๊ะ บินไกล
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

What's hot (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
 
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียนการวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
แบบสอบถามพึงพอใจสำหรับผู้เรียนเกี่ยวกับ
แบบสอบถามพึงพอใจสำหรับผู้เรียนเกี่ยวกับแบบสอบถามพึงพอใจสำหรับผู้เรียนเกี่ยวกับ
แบบสอบถามพึงพอใจสำหรับผู้เรียนเกี่ยวกับ
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 

Viewers also liked

ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
เทวัญ ภูพานทอง
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทวัญ ภูพานทอง
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
ธนกร ทองแก้ว
 
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
Values of science-20141202
Values of science-20141202 Values of science-20141202
Values of science-20141202
Namchai Chewawiwat
 
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
Namchai Chewawiwat
 
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น 20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
Namchai Chewawiwat
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01Apinya Phuadsing
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กApinya Phuadsing
 
บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1
warayut jongdee
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1
Namchai Chewawiwat
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์
New Sinsumruam
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมApinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าApinya Phuadsing
 

Viewers also liked (20)

ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยีแบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
 
Values of science-20141202
Values of science-20141202 Values of science-20141202
Values of science-20141202
 
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
 
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น 20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
 
บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
 
Img 0001
Img 0001Img 0001
Img 0001
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เทคโนโลยีในโลกอนาคต
เทคโนโลยีในโลกอนาคตเทคโนโลยีในโลกอนาคต
เทคโนโลยีในโลกอนาคต
 

Similar to การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต

หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
Weerachat Martluplao
 
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
Kobwit Piriyawat
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
freelance
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
SAKANAN ANANTASOOK
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
Teeranan
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
juriporn chuchanakij
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยี
balljantakong
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPoonyapat Wongpong
 
Innovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societyInnovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging society
pantapong
 
World issues
World issuesWorld issues
World issues
Teeranan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)Nitchanan Kittikhunodom
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)Nitchanan Kittikhunodom
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)Nitchanan Kittikhunodom
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)Rattana234
 

Similar to การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต (20)

หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยี
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Innovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societyInnovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging society
 
World issues
World issuesWorld issues
World issues
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
 

More from Tor Jt

อเมริกันฟุตบอล Sport, entertainment and marketing
อเมริกันฟุตบอล Sport, entertainment and marketingอเมริกันฟุตบอล Sport, entertainment and marketing
อเมริกันฟุตบอล Sport, entertainment and marketing
Tor Jt
 
Photoshop - lab exercise 56
Photoshop - lab exercise 56Photoshop - lab exercise 56
Photoshop - lab exercise 56
Tor Jt
 
Photoshop - CD Cover
Photoshop - CD CoverPhotoshop - CD Cover
Photoshop - CD CoverTor Jt
 
๋JM.104 บทที่ 9 องค์กรสื่อสิ่งพิมพ์
๋JM.104 บทที่ 9 องค์กรสื่อสิ่งพิมพ์๋JM.104 บทที่ 9 องค์กรสื่อสิ่งพิมพ์
๋JM.104 บทที่ 9 องค์กรสื่อสิ่งพิมพ์
Tor Jt
 
Jt.305 บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศ
Jt.305   บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศJt.305   บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศ
Jt.305 บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศ
Tor Jt
 
Jt.305 บทที่ 7 ระบบสื่อสารข้อมูล
Jt.305   บทที่ 7 ระบบสื่อสารข้อมูลJt.305   บทที่ 7 ระบบสื่อสารข้อมูล
Jt.305 บทที่ 7 ระบบสื่อสารข้อมูล
Tor Jt
 
Jt.305 บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคม
Jt.305   บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคมJt.305   บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคม
Jt.305 บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคม
Tor Jt
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.Tor Jt
 
Analysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationAnalysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the education
Tor Jt
 
Hr in private university [compatibility mode]
Hr in private university [compatibility mode]Hr in private university [compatibility mode]
Hr in private university [compatibility mode]Tor Jt
 
Japan
JapanJapan
Japan
Tor Jt
 

More from Tor Jt (12)

อเมริกันฟุตบอล Sport, entertainment and marketing
อเมริกันฟุตบอล Sport, entertainment and marketingอเมริกันฟุตบอล Sport, entertainment and marketing
อเมริกันฟุตบอล Sport, entertainment and marketing
 
Photoshop - lab exercise 56
Photoshop - lab exercise 56Photoshop - lab exercise 56
Photoshop - lab exercise 56
 
Photoshop - CD Cover
Photoshop - CD CoverPhotoshop - CD Cover
Photoshop - CD Cover
 
๋JM.104 บทที่ 9 องค์กรสื่อสิ่งพิมพ์
๋JM.104 บทที่ 9 องค์กรสื่อสิ่งพิมพ์๋JM.104 บทที่ 9 องค์กรสื่อสิ่งพิมพ์
๋JM.104 บทที่ 9 องค์กรสื่อสิ่งพิมพ์
 
Jt.305 บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศ
Jt.305   บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศJt.305   บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศ
Jt.305 บทที่ 8 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Jt.305 บทที่ 7 ระบบสื่อสารข้อมูล
Jt.305   บทที่ 7 ระบบสื่อสารข้อมูลJt.305   บทที่ 7 ระบบสื่อสารข้อมูล
Jt.305 บทที่ 7 ระบบสื่อสารข้อมูล
 
Jt.305 บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคม
Jt.305   บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคมJt.305   บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคม
Jt.305 บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคม
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 
Analysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationAnalysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the education
 
Hr in private university [compatibility mode]
Hr in private university [compatibility mode]Hr in private university [compatibility mode]
Hr in private university [compatibility mode]
 
Japan
JapanJapan
Japan
 
Korea
KoreaKorea
Korea
 

การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต