SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 2
                             วรรณกรรมที่เกียวของ
                                           ่

          การวิจย เรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร เรื่อง
                   ั
การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 1 ระหวางการสอน
                                                     ้
โดยใชสื่อประสม กับการสอนแบบปกติ ผูวิจัยไดศึกษาวรรณกรรมและงานวิจัย
ที่เกี่ยวของ ตามหัวขอตอไปนี้
          1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระ
                                                                      
การเรียนรูวิทยาศาสตร
                 1.1 สาระและมาตรฐานการเรียนรู
                 1.2 ธรรมชาติและลักษณะเฉพาะของวิทยาศาสตร
                 1.3 กระบวนการสืบเสาะหาความรู
          2. การสอนวิทยาศาสตร
                 2.1 การเรียนการสอนวิทยาศาสตร
                 2.2 ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสอนวิทยาศาสตร
                     2.2.1 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญา
                     2.2.2 ทฤษฎีการเรียนรูและกระบวนการเรียนรู
                     2.2.3 ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม
          3. สื่อประสม
                 3.1 ความหมายสื่อประสม
                 3.2 ประเภทของสื่อประสม
                 3.3 ลักษณะการใชสื่อประสม
          4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร
          5. งานวิจัยที่เกี่ยวของทั้งในประเทศและตางประเทศ
10



                หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
                       กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

         หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปนหลักสูตรแกนกลางของ
ประเทศที่มีจุดประสงคที่จะพัฒนาคุณภาพของผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีคุณภาพ
ชีวิตที่ดี มีขีดความสามารถในการแขงขัน โดยเฉพาะอยางยิ่ง การเพิ่มศักยภาพของผูเรียน
ใหสูงขึ้น สามารถดํารงชีวิตอยางมีความสุขไดบนพื้นฐานของความเปนไทยและ
ความเปนสากล รวมทั้งความสามารถในการประกอบอาชีพหรือศึกษาตอตามความถนัด
และความสามารถของแตละบุคคล

สาระและมาตรฐานการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูวทยาศาสตร
                                             ิ
         มาตรฐานการเรียนรูเปนขอกําหนดคุณภาพผูเรียนดานความรู ความคิด ทักษะ
กระบวนการการเรียนรู คุณธรรม จริยธรรมและคานิยม ซึ่งเปนจุดมุงหมายในการพัฒนา
ผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรู
วิทยาศาสตรกําหนดไว 2 สวน คือ มาตรฐานการเรียนรูการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปน
มาตรฐานการเรียนรูเมื่อผูเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น
เปนมาตรฐานการเรียนรูเมื่อผูเรียนจบการศึกษาแตละชวงชั้น สถานศึกษาจะตองจัด
สาระการเรียนรูใหผูเรียนทุกคนไดรับการพัฒนาตามมาตรฐานการเรียนรูทกําหนดไว
                                                                      ี่
(กรมวิชาการ. 2545, หนา 10) ในที่นผูวิจัยขอกลาวถึงเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู
                                    ี้
ขั้นพื้นฐานที่เปนหลักสากลที่นํามาใชตอเนื่องจนถึงหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
         สาระและมาตรฐานการเรียนรูขั้นพื้นฐานของกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมี
ดังนี้
11



1. สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
     สาระที่เปนองคความรูของกลุมวิทยาศาสตร ประกอบดวย
     สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต
     สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดลอม
     สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร
     สาระที่ 4 : แรงและการเคลื่อนที่
     สาระที่ 5 : พลังงาน
     สาระที่ 6 : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
     สาระที่ 7 : ดาราศาสตรและอวกาศ
     สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
2. สาระและมาตรฐานการเรียนรูวิทยาศาสตร

     สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต
    มาตรฐาน ว 1.1 : เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของ
                    โครงสรางและหนาที่ของระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิตที่
                    ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู
                    สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และ นําความรูไปใชในการ
                    ดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
    มาตรฐาน ว 1.2 : เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอด
                    ลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความ
                    หลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผล
                    ตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู
                    และจิต วิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไป
                    ใชประโยชน
12



สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดลอม
มาตรฐาน ว 2.1 : เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวาง
                สิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต
                ตางๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู
                และจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไป
                ใชประโยชน
                เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช
มาตรฐาน ว 2.2 : ทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น ประเทศและโลก
                นําความรูไปใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และ
                สิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน
สาระที่ 3 : สารและสมบัตของสาร
                       ิ
มาตรฐาน ว 3.1 : เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของ
                สารกับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค มี
                กระบวนการ สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร
                สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
มาตรฐาน ว 3.2 : เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนสถานะ
                ของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี มี
                กระบวนการ สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา
                ศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช
                ประโยชน
13



สาระที่ 4 : แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.1 : เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง
                และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู
                สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยาง
                มีคุณธรรม
มาตรฐาน ว 4.2 : เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุใน
                ธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและ
                จิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไป
                ใชประโยชน
สาระที่ 5 : พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1 : เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต
                การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและ
                พลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและ
                สิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสาร
                สิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน
สาระที่ 6 : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว 6.1 : เขาใจกระบวนการตางๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและ
                ภายในโลกความสัมพันธของกระบวนการตางๆ ที่มีผลตอ
                การเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของ
                โลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา
                ศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใช
                ประโยชน
14



สาระที่ 7 : ดาราศาสตรและอวกาศ
มาตรฐาน ว 7.1 : เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะและกาแล็กซี
                ปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะ และผลตอสิ่งมีชีวิตบน
                โลกมีกระบวนการ สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา
                ศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช
                ประโยชน
มาตรฐาน ว 7.2 : เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชใน
                การสํารวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ ดาน
                การเกษตรและการสื่อสาร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนํา
                ความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและ
                สิ่งแวดลอม
สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8.1 : ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตร
                ในการ สืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวา
                                                       
                ปรากฏการณทางธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นสวนใหญมี
                รูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได
                ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจ
                วาวิทยาศาสตรเทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอมมี
                ความเกี่ยวของสัมพันธกัน
15



ธรรมชาติและลักษณะเฉพาะของวิทยาศาสตร
         ความรูทางวิทยาศาสตรไดมาดวยความพยายามของมนุษยที่ใชกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู (scientific inquiry) การสังเกต สํารวจตรวจสอบ ศึกษาคนควาอยางเปน
ระบบ และการสืบคนขอมูล ทําใหเกิดองคความรูใหมเพิ่มพูนตลอดเวลา ความรู
และกระบวนการดังกลาวมีการถายทอดตอเนื่องกันเปนเวลายาวนาน
         ความรูวิทยาศาสตรตองสามารถอธิบายและตรวจสอบได เพื่อนํามาใชอางอิงทั้ง
ในการสนับสนุน หรือโตแยงเมื่อมีการคนพบขอมูล หรือหลักฐานใหม หรือแมแตขอมูล
เดิมเดียวกัน ก็อาจเกิดความขัดแยงขึ้นได ถานักวิทยาศาสตรแปลความหมายดวยวิธีการ
หรือแนวคิดที่แตกตางกัน ความรูวิทยาศาสตรจึงอาจเปลี่ยนแปลงได
         วิทยาศาสตรเปนเรื่องที่ทุกคนสามารถมีสวนรวมไดไมวาจะอยูในสวนใดของ
โลก วิทยาศาสตรจึงเปนผลจากการสรางเสริมความรูของบุคคล การสื่อสารและ
การเผยแพรขอมูลเพื่อใหเกิดความคิดในเชิงวิเคราะหวิจารณ มีผลใหความรูวิทยาศาสตร
               
เพิ่มขึ้นอยางไมหยุดยั้งและสงผลตอคนในสังคม การศึกษาคนควาและการใชความรู
ทางวิทยาศาสตรจึงตองอยูภายในขอบเขต คุณธรรม จริยธรรม เปนที่ยอมรับของสังคม
         ความรูวิทยาศาสตรเปนพื้นฐานที่สําคัญในการพัฒนาเทคโนโลยี เทคโนโลยีเปน
กระบวนการในงานตางๆ หรือกระบวนการพัฒนา ปรับปรุงผลิตภัณฑโดยอาศัยความรู
วิทยาศาสตรรวมกับศาสตรอ่นๆ ทักษะ ประสบการณ จินตนาการและความคิดริเริ่ม
                               ื
สรางสรรคของมนุษย โดยมีจุดมุงหมายที่จะใหไดผลิตภัณฑที่ตอบสนองความตองการ
และแกปญหาของมวลมนุษย เทคโนโลยีเกี่ยวของกับทรัพยากร กระบวนการ และระบบ
การจัดการ จึงตองใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคตอสังคมและสิ่งแวดลอม
(กรมวิชาการ. 2545, หนา 2)

กระบวนการสืบเสาะหาความรู (scientific inquiry)
        กรมวิชาการ ( 2545, หนา 219) ไดกลาวถึงกระบวนการสืบเสาะหาความรูวา
การที่นักเรียนจะสรางองคความรูได ตองผานกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายตาม
ทฤษฎีการเรียนรูและกระบวนการเรียนรู และกระบวนการสืบเสาะหาความรู (inquiry
process) เปนกระบวนการหนึ่งที่ทําใหผูเรียนสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและพัฒนา
16



ความคิด ความสามารถ กระบวนการสืบเสาะหาความรู ประกอบดวยขั้นตอนที่สําคัญ
ดังนี้
              ขั้นสรางความสนใจ (engagement) เปนการนําเขาสูบทเรียนหรือเรื่องที่สนใจ
ซึ่งอาจเกิดขึ้นเองจากความสงสัย หรืออาจเริ่มจากความสนใจของตัวนักเรียนเองหรือ
เกิดจากการอภิปรายกลุม
              ขั้นสํารวจและคนหา (exploration) เมื่อทําความเขาใจในประเด็นหรือคําถาม
ที่สนใจจะศึกษาอยางถองแทแลว ก็มีการวางแผนกําหนดแนวทางการสํารวจตรวจสอบ
ตั้งสมมติฐาน กําหนดทางเลือกที่เปนไปได ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูล
ขอสนเทศ
              ขั้นอธิบายและลงขอสรุป (explanation) เมื่อไดขอมูลอยางเพียงพอจาก
การสํารวจตรวจ สอบแลว จึงนําขอมูล ขอสนเทศที่ไดมาวิเคราะห แปลผล สรุปผล
และนําเสนอผลที่ไดในรูปตางๆ
              ขั้นขยายความรู (elaboration) เปนการนําความรูที่สรางขึ้นไปเชื่อมโยงกับ
ความรูเดิมหรือแนวคิดที่ไดคนควาเพิ่มเติม หรือนําแบบจําลองหรือขอสรุปที่ไดไปใช
อธิบายสถานการณหรือเหตุการณอื่นๆ ชวยใหเชือมโยงกับเรื่องตางๆ และทําใหเกิด
                                                   ่
ความรูกวางขวางขึ้น
              ขั้นประเมิน (evaluation) เปนการประเมินการเรียนรูดวยกระบวนการตางๆ
วานักเรียนมีความรูอะไรบาง อยางไร และมากนอยเพียงใด จากขั้นนี้จะนําไปสู
การนําความรูไปประยุกตใชในเรื่องอื่นๆ
           สรุปไดวาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระ
                     
การเรียนรูวิทยาศาสตร สาระและมาตรฐานการเรียนรู ธรรมชาติและลักษณะเฉพาะของ
วิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู เปนแกนกลางที่สําคัญที่ใชเปนมาตรฐานที่
มุงใหผูเรียนไดเรียนรูวิทยาศาสตรอยางมีเปาหมาย และประสบความสําเร็จในการเรียนรู
17



                             การสอนวิทยาศาสตร

การเรียนการสอนวิทยาศาสตร
         การเรียนการสอนวิทยาศาสตรเปนกระบวนการหนึ่งที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง
โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร และกระบวนการสืบเสาะหาความรูเพื่อใหผูเรียน
คิดเปน ทําเปนและแกปญหาได
         สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2545, หนา 76) กลาวถึง
การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีวา เปนการเนนกระบวนการที่
นักเรียนเปนผูคิดลงมือปฏิบัติ ศึกษาคนควาอยางมีระบบดวยกิจกรรมหลากหลาย ทั้งการ
ทํากิจกรรมภาคสนาม การสังเกต การสํารวจตรวจสอบ การทดลองในหองปฏิบัติการ
การสืบคนขอมูลจากแหลงขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การทําโครงงานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี การศึกษาจากแหลงเรียนรูในทองถิ่นโดยคํานึงถึงวุฒิภาวะ ประสบการณเดิม
สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมตางกันที่นักเรียนไดรบรูมาแลวกอนเขาสูหองเรียน
                                                 ั
การเรียนรูของนักเรียนจะเกิดขึ้นระหวางที่นักเรียนมีสวนรวมโดยตรงในการทํากิจกรรม
การเรียนเหลานั้น จึงจะมีความสามารถในการสืบเสาะหาความรู มีความสามารถในการ
แกปญหาดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร ไดพัฒนากระบวนการคิดขั้นสูงและคาดหวังวา
       
กระบวนการเรียนรูดังกลาว จะทําใหนักเรียนไดรบการพัฒนาเจตคติและคานิยมที่
                                                   ั
เหมาะสมตอวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรวมทั้งความสามารถในการสื่อสารและ
การทํางานรวมกับผูอื่น ไดอยางมีประสิทธิภาพ
         หนวยศึกษานิเทศก สํานักงานการศึกษา กรุงเทพมหานคร (2544, หนา 6)
กลาวถึงการเรียนการสอนวิทยาศาสตรวา ครูผูสอนจะตองจัดการเรียการสอนใหนักเรียน
ไดรับความรูในเนื้อหาวิชา ใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการแสวงหาความรู
และสรางเจตคติทางวิทยาศาสตร มีโอกาสคนพบความรูดวยตนเองและไดฝกคิดตาม
ขั้นตอนของวิธีการทางวิทยาศาสตร จะชวยใหนักเรียนสามารถแกปญหาตางๆ ไดและ
ปรับตัวอยูในสังคมไดดี กระบวนการเรียนการสอวิทยาศาสตรมีองคประกอบสําคัญ คือ
ผูเรียนและกระบวนการเรียนกับผูสอนและกระบวนการสอนองคประกอบทั้งสองสวนนี้
มีความเกี่ยวของสัมพันธกนชวยใหการเรียนรูของนักเรียนบรรลุผลตามจุดมุงหมายและ
                          ั
18



เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวา การเรียนการสอนวิทยาศาสตรใหประสบผลสําเร็จ คือ
การสอนดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร คนหาความรูทางวิทยาศาสตรดวยตนเอง
และการแกปญหาดวกระบวนการทางวิทยาศาสตรซ่งตองอาศัยองคประกอบที่สําคัญ
                                                   ึ
3 ประการ คือ วิธีการทางวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเจตคติ
ทางวิทยาศาสตร
          เบญจมาส ชุมจิตต (2549, หนา 53) ไดใหความหมายของการสอนวิทยาศาสตร
วา เปนการจัดการเรียนการสอนที่เนนกระบวนการที่นักเรียนไดเปนผูลงมือคิดปฏิบัติ
ศึกษาคนควาความรูดวยตนเองอยางเปนระบบดวยกิจกรรมที่หลากหลาย โดยใชทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตรในการแสวงหาความรูและฝกคิดดวยขั้นตอนวิธีการ
ทางวิทยาศาสตร นักเรียนก็จะเปนผูท่สามารถแกปญหาตางๆ ได โดยครูผสอนเปนเพียง
                                    ี                               ู
ผูชี้แนะแนวทาง
          สรุปไดวาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ตองจัดการเรียนการสอนใหนักเรียน
สามารถสรุปองคความรูไดดวยตนเอง และโดยใชวธการทางวิทยาศาสตร ทักษะ
                                                  ิี
กระบวนการทางวิทยาศาสร กระบวนการสืบเสาะหาวามรู ใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติ
กิจกรรมการทดลอง สํารวจตรวจสอบสิ่งที่เรียนรู ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร


ทฤษฎีท่ีเกี่ยวกับการสอนวิทยาศาสตร
         ทฤษฎีพฒนาการทางสติปญญา (Theory of Cognitive Development)
               ั            
         กรมวิชาการ (2545, หนา 144-145) ไดกลาวถึงทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญา
ดังนี้
        การพัฒนาการของเด็กดานตางๆ มีมาแลวตั้งแตอยูที่บาน ทั้งในสวนของรางกาย
จิตใจและความรูความสามารถตางๆ เมื่อเด็กเหลานั้นเขามาสูระบบโรงเรียนจึงมีความรู
ความสามารถมา สวนหนึ่งแลว ที่จะใชเปนพื้นฐานในการเรียนรูตามระบบของ
โรงเรียนตอไป ทฤษฎีทยอมรับโดยทั่วไป คือทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของเพียเจต
                       ี่
(Piaget) นักจิตวิทยาชาวสวิส ซึ่งไดเสนอไววา พัฒนาการเรียนรูของเด็กตั้งแตแรกเกิด
จนสูวัยผูใหญจะแบงออกเปน 4 ระยะคือ
19



             1. ระยะใชประสาทสัมผัส (sensory-organs stage) เปนการพัฒนาของเด็ก
ตั้งแตแรกเกิดจนถึง 2 ป ในวัยนี้เด็กจะเริ่มพัฒนาการรับรูโดยใชประสาทสัมผัสตางๆ
ตลอดจนเริ่มมีการพัฒนาการใชอวัยวะใหสามารถทํางานเบื้องตนได การพัฒนาเหลานี้
จัดเปนการพัฒนาที่พื้นฐานสําคัญในการพัฒนาขั้นตอไป เด็กในวัยนี้จึงเรียนรูโดยการได
หยิบจับ สัมผัสกับสิ่งตางๆ รอบตัว
             2. ระยะควบคุมอวัยวะตาง ๆ (proportional stage) เปนการพัฒนาในชวงอายุ 2
ป จนถึง 7 ป เด็กวัยนี้จะเริ่มพัฒนารางกายอยางเปนระบบมากขึ้น มีการพัฒนาของสมองเพื่อ
ใชควบคุมการพัฒนาลักษณะใหมีความสัมพันธกันภายใตการควบคุมของสมองและ
เชื่อมโยงกับสิ่งตางๆ ที่เปนรูปธรรม
             3. ระยะที่คิดอยางเปนรูปธรรม (concrete - operational stage) เปนพัฒนาการ
ในชวงอายุ 7 ป ถึง 11 ป เด็กชวงนี้จะมีการพัฒนาสมองมากขึ้นอยางรวดเร็ว จนสามารถ
เรียนรูและจําแนกสิ่งตางๆ ที่เปนรูปธรรมได แตจะยังไมสามารถสรางจินตนาการกับ
เรื่องราวที่เปนนามธรรมได
             4. ระยะที่คิดอยางเปนนามธรรม (formal - operational stage) เปนพัฒนาการ
ในชวงสุดทายของเด็กอายุประมาณ 12 - 15 ป กอนจะเปนผูใหญ เด็กในชวงนี้สามารถ
คิดอยางเปนเหตุผลและคิดในสิ่งที่ซับซอนอยางเปนนามธรรมไดมากขึ้น เมื่อเด็กพัฒนา
ไดอยางเต็มที่แลว จะสามารถคิดอยางเปนเหตุเปนผลและแกปญหาไดอยางดี จนพรอมที่
จะเปนผูใหญที่มีวุฒิภาวะตอไป
         สรุปไดวา การพัฒนาของเด็กจะเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง จากระดับตนในวัยเด็กไปสู
ระดับที่สูงขึ้น จนเขาสูความเปนผูใหญ โดยทั่วไปการพัฒนาของเด็กจะไมกระโดดขาม
ขั้น แตในบางชวงของการพัฒนาอาจเกิดขึ้นเร็วหรือชาได การพัฒนาเหลานี้จะเกิดขึ้นเอง
ตามธรรมชาติ แตสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม และประเพณีรวมทั้งวิธีการดํารงชีวิตอาจมี
สวนชวยใหเด็กพัฒนาไดชาเร็วแตกตางกันได
20



         ทฤษฎีการเรียนรูและกระบวนการเรียนรู
         กรมวิชาการ (2545, หนา 146) ไดกลาวถึงทฤษฎีการเรียนรูและกระบวนการ
เรียนรูดังนี้
            การเรียนรูเปนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การพัฒนาความคิดและ
ความสามารถ โดยอาศัยประสบการณ และปฏิสมพันธระหวางผูเรียนและสิ่งแวดลอม
                                                    ั
ทําใหบุคคลดําเนินชีวิตไดอยางมีความสุขในสังคม
            การเรียนรูเปนกระบวนการที่ซับซอน การจัดการเรียนการสอนที่จะทําใหเด็ก
เกิดการเรียนรูอยางครบถวนจึงไมเปนเรื่องงาย นักปรัชญาและนักจิตวิทยาการศึกษา
หลายคน ไดพยายามคิดคนทฤษฎีและกระบวนการเกี่ยวกับการเรียนรูกันมานานแลว
เชน การเรียนรูจากการปฏิบัติ (learning by doing) ของดิวอี้ (Dewey, 1922) ทฤษฎี
พัฒนาการทางสติปญญาของเด็ก (theory of cognitive development) ของเพียเจต
(Piaget, 1958) การเรียนรูดวยการคนพบ (discovery learning) ของบรูเนอร
(Bruner, 1961) การเรียนรูอยางมีความหมายของออซูเบล (Ausubel, 1969) เปนตน
            โรเบิรต กาเย (Robert Gagne , 1970) ไดเสนอเงื่อนไขของการเรียนรู
                    
(conditions of learning) ไว 8 ประการคือ การเรียนรูเมื่อไดรับสัญญาณ (signal learning)
การเรียนรูในลักษณะของการกระตุนและการตอบสนอง (stimulus response learning)
การเรียนรูโดยการเชื่อมโยงการกระตุนและการตอบสนองหลายๆ อยางเขาดวยกัน
(chaining) การเรียนรูโดยการสรางความสัมพันธระหวางการกระตุนและการตอบสนอง
หลายๆ อยางดวยภาษา (verbal association) การเรียนรูแบบแยกแยะ (discrimination
learning) การเรียนรูในแนวความคิดหลัก (concept learning) การเรียนรูในกฎเกณฑ
(rule learning) และการเรียนรูเชิงแกปญหา (problem solving process)
         ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรูที่พูดกันมากในปจจุบันนี้คือ ทฤษฎีการสรางเสริม
                                   
ความรู (constructivism) ซึ่งเชื่อกันวานักเรียนทุกคนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับบางสิ่ง
บางอยางมาแลว ไมมากก็นอย กอนที่ครูจะจัดการเรียนการสอนใหเนนวาการเรียนรู
เกิดขึ้นดวยตัวของผูเรียนรูเอง และการเรียนรูเรื่องใหมจะมีพื้นฐานมาจากความรูเดิม
ดังนั้น ประสบการณเดิมของนักเรียนจึงเปนปจจัยสําคัญตอการเรียนรูเปนอยางยิ่ง
กระบวนการเรียนรู (process of learning) ที่แทจริงของนักเรียนไมไดเกิดจากการบอกเลา
21



ของครู หรือนักเรียนเพียงแตจดจําแนวคิดตางๆ ที่มีผูบอกใหเทานั้น แตการเรียนรู
วิทยาศาสตรตามทฤษฎีการสรางเสริมความรู เปนกระบวนการที่นักเรียนจะตองสืบคน
เสาะหา สํารวจตรวจสอบ และคนควาดวยวิธีการตางๆ จนทําใหนักเรียนเกิดความเขาใจ
และเกิดการรับรูความรูนั้นอยางมีความหมาย จึงจะสามารถสรางเปนองคความรูของ
นักเรียนเอง และเก็บเปนขอมูลไวในสมองไดอยางยาวนาน สามารถนํามาใชไดเมื่อมี
สถานการณใดๆ มาเผชิญหนา

         ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม (Learning Theory : Behaviorism)
         ทิศนา แขมมณี (2548, หนา 50) ไดกลาวถึงทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม
                                                                
ดังนี้
            การเรียนรูเปนกระบวนการในการพัฒนาความสามารถ และศักยภาพของ
มนุษยในดานตางๆ อาทิ ดานความรู ดานทักษะ ดานเจตคติ เปนตน ซึ่งแนวคิดเกี่ยวกับ
การเรียนรูของมนุษยไดรับความสนใจจากนักปรัชญาและนักจิตวิทยามาตั้งแตในอดีต
ซึ่งตางก็มีแนวคิดหรือทัศนะที่หลากหลาย และไดพัฒนาไปเปนรากฐานในการจัดการ
เรียนรู “ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม” (Learning Theory : Behaviorism) ซึ่งเปน
                             
ทฤษฎีการเรียนรูจาก 4 ทฤษฎี ไดแก
                 1. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
                 2. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพุทธินิยม หรือกลุมความรูความเขาใจ (Cognitivism)
                 3. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมมนุษยนิยม (Humanism)
                 4. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมผสมผสาน (Eclecticism)
          การเรียนรูเปนกระบวนการทั้งดานสมรรถภาพ ทักษะและทัศนคติที่คนเราไดรับ
ตั้งแตเปนทารกจนเปนผูใหญ กระบวนการเรียนรูจงเปนสวนสําคัญของความสามารถ
                                                    ึ
ของคนเรา มีนักการศึกษาหลายทานไดกลาววา “การเรียนรู คือ การเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม ซึงเปนผลมาจากประสบการณที่คนเรามีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม” ซึ่งใน
               ่
การเรียนรูที่เกิดขึ้น ไดมีการศึกษาคนควาดานความรูที่เกี่ยวของกับการเรียนรู จนเกิดเปน
ทฤษฎีการเรียนรู (วารินทร รัศมีพรหม, 2542, หนา 152) ซึ่งสอดคลองกับ
ทิศนา แขมมณี (2548, หนา 43) ที่กลาววา “ทฤษฎีการเรียนรู เปนแนวความคิดที่ไดรับ
22



การยอมรับวาสามารถใชอธิบายลักษณะของการเกิดการเรียนรู หรือการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมได”
       นักคิด นักจิตวิทยาในกลุมพฤติกรรมนิยมมองธรรมชาติของมนุษยในลักษณะ
เปนกลาง คือ ไมดีไมเลว (neutral - passive) การกระทําตางๆ เกิดจากอิทธิพลของ
สิ่งแวดลอมภายนอก พฤติกรรมของมนุษยเกิดจากการตอบสนองตอสิ่งเรา (stimulus-
response) การเรียนรูเกิดจากการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเราและการตอบสนอง กลุม
พฤติกรรมนิยมใหความสําคัญกับ “พฤติกรรม” มาก เพราะพฤติกรรมเปนสิ่งที่
สังเกตเห็นได สามารถวัดและทดสอบได
       ทฤษฎีการเรียนรูในกลุมพฤติกรรมนิยม ประกอบดวยแนวคิดสําคัญ 3 แนวคิด
(ทิศนา แขมมณี, 2548, หนา 50) ดังตอไปนี้
          1. ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอรนไดค (Thorndike’s Connectionism Theory)
          2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)
          3. ทฤษฎีการเรียนรูของฮัลล (Hull’s Systematic Behavior Theory)

            ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอรนไดค (Thorndike’s Connectionism Theory)
             ธอรนไดค (Thorndike) ไดใหกําเนิดทฤษฎีการเรียนรูทฤษฎีหนึ่งขึ้นมา
ซึ่งเปนที่ยอมรับแพรหลายตั้งแตป ค.ศ. 1899 เปนตนมาจนถึงปจจุบน ทฤษฎีของเขาเนน
                                                                  ั
ความสัมพันธเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรากับการตอบสนอง ทฤษฎีของธอรนไดคเรียกวา
ทฤษฎีการเชือมโยง (Connectionism Theory) ทฤษฎีนี้กลาวถึงการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรา
              ่
(Stimulus - S) กับการตอบสนอง (Response - R) โดยมีหลักเบื้องตนวา “การเรียนรูเกิดจาก
การเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรากับการตอบสนอง โดยที่การตอบสนองมักจะออกมาเปน
รูปแบบตางๆ หลายรูปแบบ จนกวาจะพบรูปแบบที่ดี หรือเหมาะสมที่สุด เราเรียก
การตอบสนองเชนนี้วาการลองถูกลองผิด (trial and error) นั่นคือการเลือกตอบสนอง
ของผูเรียนรูจะกระทําดวยตนเองไมมีผใดมากําหนดหรือชี้ชองทางในการปฏิบัติให
                                       ู
และเมื่อเกิดการเรียนรูขึ้นแลว การตอบสนองหลายรูปแบบจะหายไปเหลือเพียง
การตอบสนองรูปแบบเดียวที่เหมาะสมที่สุด และพยายามทําใหการตอบสนองเชนนั้น
23



เชื่อมโยงกับสิ่งเราที่ตองการใหเรียนรูตอไปเรื่อยๆ ทิศนา แขมมณี (2548 : 51) สามารถ
สรุปเปนกฎการเรียนรู ไวดังนี้
          1. กฎแหงความพรอม (Law of Readiness) การเรียนรูจะเกิดขึ้นไดดี ถาผูเรียนมี
ความพรอมทั้งทางรางกายและจิตใจ
          2. กฎแหงการฝกหัด (Law of Exercise) การฝกหัดหรือกระทําบอยๆ ดวย
ความเขาใจจะทําใหการเรียนรูนั้นคงทนถาวร ถาไมไดกระทําซ้ําบอยๆ การเรียนรูนั้นจะ
ไมคงทนถาวร และในทีสุดอาจลืมได
                           ่
          3. กฎแหงการใช (Law of Use and Disuse) การเรียนรูเกิดจากการเชื่อมโยง
ระหวาง สิ่งเรากับการตอบสนอง ความมั่งคงของการเรียนรูจะเกิดขึ้น หากไดมี
การนําไปใชบอยๆ หากไมมีการนําไปใชอาจมีการลืมเกิดขึ้นได
          4. กฎแหงผลที่พึงพอใจ (Law of Effect) เมื่อบุคคลไดรับผลที่พึงพอใจยอม
อยากจะเรียนรูตอไป แตถาไดรับผลที่ไมพึงพอใจจะไมอยากเรียนรู ดังนันการไดรับผล
                                                                        ้
ที่พึงพอใจ จึงเปนปจจัยสําคัญในการเรียนรู

          ถวัลย มาศจรัส (2548, หนา 16) ไดกลาวถึงทฤษฎีของธอรนไดคสอดคลองกับ
ทิศนา แขมมณี (2548, หนา 51) วาเปนทฤษฎีที่ศึกษาคนควาเรื่องการเรียนรูโดยอาศัย
วิธีการทางวิทยาศาสตรสรุปเปนทฤษฎีสัมพันธเชื่อมโยงที่เปนความสัมพันธระหวาง
สิ่งเรากับการตอบสนอง และทฤษฎีของธอรนไดค สามารถนํามาใชเปนพื้นฐานในการ
สรางบทเรียนเพื่อการเรียนรูของผูเรียน
        ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)
            1. พฤติกรรมเรสปอนเดนท (Respondent behavioral) เปนพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
โดยสิ่งเรา เมื่อมีสิ่งเราพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น ซึ่งจะสามารถสังเกตได นิยม
เรียกกันวาทฤษฎีการเรียนรูแบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classic Conditioning
Theory)
            2. พฤติกรรมโอเปอแรนท (Operant behavioral) เปนพฤติกรรมที่บคคลหรือ
                                                                          ุ
สัตวแสดงพฤติกรรมการตอบสนองออกมา (Emitted) โดยปราศจากสิ่งเราที่แนนอน
24



และพฤติกรรมนี้มีผลตอสิ่งแวดลอม นิยมเรียกกันวา ทฤษฎีการเรียนรูแบบการวาง
เงื่อนไขแบบโอเปอแรนท (Operant Conditioning Theory)
          ทฤษฎีการเรียนรูแบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค ของพาฟลอฟ (Pavlov)
ตอมาภายหลัง วัตสัน (Watson) ไดนําเอาแนวคิดของพาฟลอฟไปดัดแปลงแกไขให
เหมาะสมยิ่งขึ้นสามารถสรุปออกมาเปนทฤษฎีการเรียนรู และกฎการเรียนรูดังนี้ (ทิศนา
แขมมณี, 2548, หนา 52 – 53)
             1. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยเกิดจากการวางเงื่อนไขที่
ตอบสนองตอ ความตองการทางธรรมชาติ
             2. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยสามารถเกิดขึ้นไดจากสิ่งเราที่
เชื่อมโยงกับสิ่งเราตามธรรมชาติ
             3. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยที่เกิดจากสิ่งเราที่เชื่อมโยงกับสิ่งเรา
ตามธรรมชาติจะลดลงเรื่อยๆ และหยุดลงในที่สุดหากไมไดรับการตอบสนองตาม
ธรรมชาติ
             4. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยสิ่งเราที่เชื่อมโยงกับสิ่งเราตาม
ธรรมชาติจะลดลงและหยุดไปเมื่อไมไดรับการตอบสนองตามธรรมชาติ และจะกลับ
ปรากฏขึ้นไดอีกโดยไมตองใชสิ่งเราตามธรรมชาติ
             5. มนุษยมีแนวโนมที่จะจําแนกลักษณะของสิ่งเราใหแตกตางกันและเลือก
ตอบสนองไดถูกตอง

       ทฤษฎีการเรียนรูแบบการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท (Operant Conditioning
Theory)
           ทฤษฎีการเรียนรูแบบการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท (Operant
Conditioning Theory) หรือ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทํา ซึ่งมี สกินเนอร
(Skinner) เปนเจาของทฤษฎี
สกินเนอรไดทดลองการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนทกับหนูและนกในหองทดลอง
จนกระทั่งไดหลักการตางๆ มาเปนแนวทางการศึกษาการเรียนรูของมนุษย
25



              สกินเนอรมีแนวคิดวา การเรียนรูเกิดขึ้นภายใตเงื่อนไขและสภาวะแวดลอมที่
เหมาะสม เพราะทฤษฎีนี้ตองการเนนเรื่องสิ่งแวดลอม สิ่งสนับสนุนและการลงโทษ โดย
พัฒนาจากทฤษฎีของ พาฟลอฟ และธอรนไดค โดยสกินเนอรมองวาพฤติกรรมของ
มนุษยเปนพฤติกรรมที่กระทําตอสิ่งแวดลอมของตนเอง พฤติกรรมของมนุษยจะคงอยู
ตลอดไป จําเปนตองมีการเสริมแรง ซึงการเสริมแรงนี้มีท้งการเสริมแรงทางบวก
                                             ่                   ั
(Positive Reinforcement) และการเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement)
                  การเสริมแรง หมายถึง ผลของพฤติกรรมใดๆ ที่ทาใหพฤติกรรมนั้น
                                                                        ํ
เขมแข็งขึ้น การเสริมแรงทางบวก หมายถึง สภาพการณที่ชวยใหพฤติกรรมโอเปอ
แรนทเกิดขึ้นในดานความ ที่นาจะเปนไปได สวนการเสริมแรงทางลบเปนการ
เปลี่ยนแปลงสภาพการณอาจจะทําใหพฤติกรรมโอเปอแรนทเกิดขึ้นได ซึ่งสอดคลองกับ
ถวัลย มาศจรัส (2548, หนา 17) ที่ไดกลาวถึงทฤษฎีของสกินเนอร ไวดังนี้
              สกินเนอรไดศึกษาเรื่องราวของพฤติกรรมมนุษย โดยอาศัยพื้นฐานทาง
ธรรมชาติและลักษณะของมนุษยที่เสริมทฤษฎีของธอรนไดค 3 ประการ ไดแกเงื่อนไข
ของการตอบสนองการเสริมแรง และความแตกตางระหวางบุคคล ที่เปนจุดเดนที่นํามาใชใน
การสรางบทเรียนที่สําคัญ ไดแก
                  1. เงื่อนไขของการตอบสนอง (Operant Conditioning) ไดแกพฤติกรรม
ของมนุษยที่แสดงออกจะเกิดขึ้นบอยแคไหนนั้น ขึ้นอยูกับการตอบสนองอัตราการ
แสดงออกของพฤติกรรม
                  2. การเสริมแรง (Reinforcement) ไดแก สิ่งเราที่ทําใหอัตราการแสดงออก
ของพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ตองการ และตัดหรือกําจัดพฤติกรรมบางอยาง
ออกไปได ซึ่งจะทําใหผูเรียนเกิดความกระตือรือรนที่จะศึกษาเรียนรูดวยความตั้งใจ
                  3. ความแตกตางระหวางบุคคล (Individual differences) เปนการเปด
โอกาสใหผูเรียนที่เรียนรูไดเร็ว สามารถนําเวลาที่เหลือไปทํากิจกรรมอื่นโดยไมตองรอ
                             
ผูเรียนรูไดชาในขณะเดียวกันผูที่เรียนรูไดชาก็สามารถที่จะเรียนรูเรื่องตางๆ จากบทเรียนได
ตามศักยภาพของตนเองโดยไมถูกบีบคั้นวาจะตองจบเนื้อหาสาระที่ผูสอนกําหนด
พรอมกับผูเรียนที่เรียนรูโดยที่ตนเอง “ไมเกิดการเรียนรู” อยางแทจริง
                                                               
26



         ทฤษฎีการเรียนรูของฮัลล (Hull’s Systematic Behavior Theory)
             ฮัลล (Clark L. Hull) เปนนักจิตวิทยาพฤติกรรมนิยมที่มีชื่อเสียงผูหนึ่งของ
สหรัฐอเมริกา ไดเสนอกฎการเรียนรูไวดังนี้
                                       
                1. กฎแหงสมรรถภาพในการตอบสนอง (Law of Reactive Inhibition)
หรือการยับยั้งปฏิกิริยา คือ ถารางกายเกิดความเหนื่อยลา การตอบสนองหรือการเรียนรู
จะลดลง
                2. กฎแหงการลําดับกลุมนิสัย (Law of Habit Hierarchy) เมื่อมีสิ่งเรามา
กระตุน แตละคนจะมีการตอบสนองตางๆ กัน ในระยะแรกการแสดงออกมีลักษณะ
งาย ๆ ตอเมื่อเรียนรูมากขึ้นก็สามารถเลือกแสดงการตอบสนองในระดับที่สูงขึ้น หรือ
ถูกตองตามมาตรฐานของสังคม
                3. กฎแหงการใกลจะบรรลุเปาหมาย (Goal Gradient Hypothesis) เมื่อ
ผูเรียนยิ่งใกลบรรลุเปาหมายเทาใดจะมีสมรรถภาพในการตอบสนองมากขึ้นเทานั้นการ
เสริมแรงที่ใหในเวลาใกลเคียงเปาหมายจะชวยทําใหเกิดการเรียนรูไดดีที่สุด
             นอกจากนี้ฮัลลยังกลาวถึงองคประกอบตางๆ ที่จําเปนในการเรียนรูดังนี้
                1. ความสามารถ (Capacity) ในการเรียนรูของแตละบุคคลที่มีความ
แตกตางกัน
                2. การจูงใจ (Motivation) คือ การชวยใหเกิดพฤติกรรมการเรียนรูขึ้น โดย
การสรางแรงขับ (Drive) ใหเกิดขึ้นมากๆ ในตัวผูเรียน
                3. การเสริมแรง (Reinforcement) ฮัลลเนนวาการเสริมแรงทําใหเกิดการ
เรียนรูไดดี และเนนจํานวนครั้งของการเสริมแรงมากกวาปริมาณของการเสริมแรงที่ให
ในแตละครั้ง
                4. ความเขาใจ (Understanding) การเรียนรูโดยการสรางความเขาใจให
เกิดขึ้นอยางแทจริง เมื่อไปประสบปญหาที่คลายคลึงกับประสบการณเดิม ยอมจะ
แกปญหาโดยใชความเขาใจไดเปนผลสําเร็จอยางดียิ่ง
                5. การถายโยงการเรียนรู (Transfer of Learning) ถาการเรียนใหมคลายคลึง
กับการเรียนรูเดิมในอดีต อินทรียจะสามารถตอบสนองตอการเรียนรูใหมเหมือนกับ
การเรียนรูเดิม
27



                 6. การลืม (Forgetting) เมื่อกาลเวลาผานไปนานๆ และอินทรียไมไดใช
สิ่งเราที่เรียนรูนั้นบอยๆ (Law of Disused) จะทําใหเกิดการลืมได
           สรุปไดวาการสอนวิทยาศาสตร ตองนําแนวคิด ทฤษฎีท่มีนักการศึกษา
                                                                 ี
และนักวิชาการไดทดลองใชและปฏิบัติกันมาจนเปนที่ยอมรับ และเชื่อถือไดมาใช
ทดลองสอนในการสอนวิทยาศาสตร

                                     สื่อประสม

ความหมายของสื่อประสม
       มีผูใหความหมายของสื่อประสมไวดังนี้
       วรวิทย นิเทศศิลป (2551, หนา 23) กลาววา สื่อประสม หมายถึง การนําสื่อที่
หลากหลาย ที่มีความสัมพันธกันมีคุณคาในตัวของมันเอง สื่อแตละชนิดใชไดดแตกตาง
                                                                            ี
กันไป สื่อทีดจะชวยใหตัวผูเรียนมีประสบการณจากประสาทสัมผัสที่ผสมผสานกัน
             ่ี
การใชสื่อประสมถือวาเปนนวัตกรรมการศึกษาอยางหนึ่ง
       เอกวิทย แกวประดิษฐ (2545, หนา 249) ไดใหความหมายของสื่อประสมวา
หมายถึง การรวบรวมการทํางานของสื่อที่มีคุณลักษณะหลายอยางเขาดวย หรือหมายถึง
สื่อหลายชนิดที่นํามาใชรวมกันอยางมระบบสัมพันธกันเพื่อชวยในการถายทอดเนื้อหา
สาระโดยสื่อแตละชนิดที่นํามาใชตองมีความสัมพันธสนับสนุนซึ่งกันและกัน การใชสอ     ื่
ประสมเปนการใชสื่อตั้งแตสองชนิดขึ้นไปเพื่อชวยใหผูเรียนหรือผูรับสารเกิดความรู
ความเขาใจดีขึ้น
       กิดานันท มลิทอง (2548, หนา 192) ไดใหความหมายของสื่อประสมวา
การบรรจบกันของเทคโนโลยีระบบแอนะล็อกและดิจทัล ในปจจุบันทําใหความหมาย
                                                       ิ
ของสื่อประสม สามารถอธิบายไดเปน 2 ลักษณะ โดยเปนความหมายของสื่อประสม
แบบดังเดิมและสื่อประสมแบบใหมที่มีการใชคอมพิวเตอรเปนสื่อกลาง ดังนี้
28



        สื่อประสมแบบดั้งเดิม หมายถึง การนําสื่อหลายอยางมาใชรวมกันทั้งวัสดุ อุปกรณ
                                                              
และวิธีการ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการเรียนการสอน โดยใช
สื่อแตละอยางตามลําดับขั้นตอนของการนําเสนอเนื้อหา
        สื่อประสมแบบใหม หมายถึง การนําเสนอขอมูลดวยคอมพิวเตอรในรูป ตัว
อักขระภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และมีการปฏิสัมพันธโตตอบ เรียกอีกอยางวา
“computer media”
        ไฮนิช และคณะ (Heinich and Othoers, 1986 , page 17) ไดใหความหมายของ
สื่อประสม คือ การรวบรวมเอาวัสดุเพื่อการเรียน ที่ประกอบดวยสื่อมากกวาหนึ่งชนิดมา
จัดรวมไวอยางกี่ยวเนื่องกัน

        จากความหมายของสื่อประสมที่นักการศึกษาไดกลาวไวขางตนพอสรุปไดวา
                                                              
สื่อประสม หมายถึง การนําเอาสื่อการเรียนการสอนมากกวาหนึ่งชนิดขึ้นไป มาสัมพันธ
กันในลักษณะที่สื่อแตละชนิดสงเสริมและสนับสนุนซึ่งกันและกัน เพื่อถายทอดเนื้อหา
ตามลําดับขั้นตอนของการนําเสนอเนื้อหา โดยสื่อดังกลาวอาจเปนวัสดุ อุปกรณ วิธีการ
หรือสื่อที่ใชคอมพิวเตอรเปนการนําเสนอขอมูลในรูป ตัวอักขระ ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว และเสียง

ประเภทของสื่อประสม

        เอกวิทย แกวประดิษฐ (2545, หนา 250 - 252) กลาววา สื่อประสมไดถูกจําแนก
ไวตางๆ กัน แตโดยทั่วไปสื่อประสมอาจแบงออกตามลักษณะการประสมของสื่อ และ
คุณลักษณะการใชมี 3 ประเภทใหญๆ คือ
        1. สื่อประสมที่เปนวัสดุ อุปกรณและกระบวนการเขาดวยกัน นํามาใชสําหรับ
การเรียน การสอนปกติทั่วๆ ไป เชน ชุดอุปกรณ ชุดการเรียนการสอน บทเรียนแบบ
โปรแกรม โปรแกรมสไลด ศูนยการเรียน เปนตน สื่อประสมแตละชนิดที่จัดอยูใน
ประเภทนี้มีหลักการและลักษณะเดนแตกตางกันออกไป คือ
29



            1.1 สามารถใหผูเรียนไดประสบการณดวยตนเอง คือ มีสวนรวมในการกระทํา
หรือฏิบัติกิจกรรมเปนการเราใจแกผูเรียน เชน ศูนยการเรียน บทเรียนโปรแกรม เปนตน
            1.2 สามารถใหผเู รียนไดเรียนรูตามความสามารถ และความแตกตางของแตละ
บุคคล เชน บทเรียนแบบโปรแกรม ชุดการสอน เปนตน
            1.3 สามารถใหผูเรียนใชเรียนดวยตนเองหรือใชเมื่อขาดครูได เชน บทเรียน
แบบโปรแกรม ชุดการสอนรายบุคคล เปนตน
            1.4 สามารถใหผูเรียนไดรับผลตอบกลับทันที และไดรับความรูสึกภาคภูมิใจ
ในความสําเร็จ เชน ศูนยการเรียน ชุดการสอน เปนตน
            1.5 สามารถใชสงเสริมสมรรถภาพการสอนของครู เชน ชุดการสอนประกอบ
คําบรรยาย เปนตน
         2. สื่อประสมประเภทฉาย เปนการประสมสื่อ โดยมีขอจํากัดที่ความสามารถและ
คุณสมบัติเฉพาะตัวของอุปกรณเครื่องฉายเปนสําคัญ เชน สไลดประกอบเสียง วีดีทัศน
ประกอบเสียงสไลดและแผนโปรงใส เปนตน การเสนอดวยสื่อประเภทฉายนี้ แมวา
ในบางครั้งราคาการผลิตอาจจะสูงและการผลิตซับซอนกวาการผลิตสื่อประสมประเภทแรก
แตผลที่ไดรับจากการนําเสนอสื่อประสมประเภทฉายใหผลตรงที่มคุณสมบัติเฉพาะตัวที่
                                                                  ี
สื่ออื่นไมสามารถทําไดคือ ผลในความ รูสึก อารมณสุนทรียภาพ ชวยดึงดูดความสนใจให
ผูชมไดตดตามอยางตื่นตาตื่นใจ และมีประสิทธิภาพ เปนการชวยในการเรียนการสอน สื่อ
          ิ
ประสมประเภทนี้มีคณสมบัติเหมาะแกการนํามาใชในการเรียน การสอน ไดแก
                        ุ
            2.1 ใชเมื่อมีการเปรียบเทียบความคลายคลึงกัน เปนการงายสําหรับผูเรียนใน
การสังเกตและเรียนรูสิ่งที่คลายคลึงกันจากสื่อตางๆ เมื่อภาพของสิ่งนั้นปรากฏบนจอ
พรอมกัน
            2.2 ใชสอนใหเห็นความแตกตาง และการตัดกันเมื่อภาพหลายๆ ภาพปรากฏ
พรอมๆ กัน
            2.3 ใชแสดงภาพซึ่งดําเนินเปนขั้นตอนและสามารถเรียนแบบการเคลื่อนไหว
ได
30



            2.4 ใชแสดงสิ่งที่เกิดขึ้นตามลําดับกอนและหลัง เกิดความตอเนื่องที่ดีมี
ความสัมพันธระหวางภาพและเวลา ประกอบกับการจัดภาพและจอใหมีขนาดตางกันเปน
การงายตอการจดจํา
            2.5 ใชเนนจุดใดจุดหนึ่งโดยตรงได โดยการกําหนดจุดสนใจที่ตองการ ใหอยู
                                                                             
ในตําแหนงและรูปแบบที่ตางกันหรืออาจทําโดยใชภาพที่ซ้ําๆ กันปรากฏบนจอพรอมๆ
กัน
            2.6 ใชยดเวลาการเสนอจุดหรือสวนที่สําคัญของเนื้อหา เชนภาพที่สําคัญ
                     ื
สามารถปรากฏอยูบนจอตอไป ขณะที่รายละเอียดหรือสวนที่เกี่ยวของไดเปลี่ยนแปลง
ไปในจอถัดไป
            2.7 ลักษณะพิเศษประการสุดทายที่เดนของสื่อประสมประเภทนี้ คือ
สามารถแสดง เนื้อหาไดมากในระยะเวลาที่จํากัด ลักษณะพิเศษนี้ผูสอนอาจใชส่อ           ื
ประสมนี้ทําเปนบทนํา หรือบทสรุปได
         3. ประสมระบบการสื่อสารกับเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการใชคอมพิวเตอร
รวมกับอุปกรณอื่น เพื่อใหคอมพิวเตอรสามารถทํางานคํานวณคนหาขอมูล แสดงภาพ
วีดีทัศนและมีเสียงตางๆ การทํางานของสื่อหลายๆ อยางในสื่อประสมประกอบดวยการ
ทํางานของระบบเสียง ภาพ เคลื่อนไหว ภาพนิ่ง วีดีทัศน และไฮเปอรเท็กซ ซึ่งขอมูลที่ใช
ในไฮเปอรเท็กซจะแสดงเนื้อหาหลัก ของเรื่องราวที่กําลังอานขณะนั้นโดยเนนเปนเนื้อหา
ถาคําใดสามารถเชื่อมจากจุดหนึ่งในเนื้อหาไปยังเนื้อหาอื่นไดก็จะทําเปนตัวหนาหรือ
ขีดเสนใต เมื่อผูใชหรือผูอานตองการจะดูเนื้อหาก็สามารถใชเมาสคลิกไปยังขอมูลหรือ
คําเหลานั้นเพื่อเรียกมาดูรายละเอียดของเนื้อหาได
         สรุปไดวา สื่อประสมจะแบงตามลักษณะของสื่อ และคุณลักษณะการใช คือ สื่อ
ที่เปนวัสดุอุปกรณ สื่อที่เปนประเภทฉาย และสื่อประเภทเทคโนโลยีโดยใชคอมพิวเตอร
เปนอุปกรณชวยเสริมเพื่อใหเกิดความนาสนใจ ระบบเสียงแสง สี และเนื้อหามี
ความสัมพันธกัน
31



ลักษณะการใชสื่อประสม

        กิดานันท มลิทอง (2548, หนา 192-193) กลาววา ดวยพัฒนาการของเทคโนโลยี
ทําใหปจจุบันมีการใชสอประสมแตกตางจากเดิมที่เคยใชมา ลักษณะการใชสื่อประสม
                        ื่
แบงออกเปน 2 รูปแบบ ดังนี้
            1. สื่อประสม I (multimedia I) เปนการนําสื่อหลายประเภทมาใชรวมกันใน
                                                                           
ลักษณะสื่อประสมแบบดังเดิม โดยที่แตละสื่อจะมีสมบัติเฉพาะตัวของสื่อนั้นๆ เชน สื่อ
สิ่งพิมพเปนขอความและภาพ ของจําลองเปนวัตถุยอสวน สไลดเปนภาพนิ่งกึ่งโปรงแสง
ฯลฯ มีการนําเสนอแตละอยางประกอบหรือเสนอตามลําดับขั้นตอนของเนื้อหา
            2. สื่อประสม II (multimedia II) เปนสื่อประสมที่ใชคอมพิวเตอรเปนอุปกรณ
ในการผลิตสารสนเทศและนําเสนอสารสนเทศในรูปแบบของขอความ ภาพกราฟก ภาพ
แอนิเมชันภาพ เคลื่อนไหวแบบวีดีทัศน และเสียง การใชคอมพิวเตอรลักษณะนี้สามารถ
ใชได 3 วิธีการ คือ
               2.1 การใชคอมพิวเตอรเปนอุปกรณในการควบคุมอุปกรณตางๆ ในการ
ทํางานเพื่อนําเสนอขอมูลสารสนเทศ เชน ควบคุมการเสนอภาพสไลดมัลติวิชั่น เปนตน
               2.2 การใชคอมพิวเตอรเปนอุปกรณในการผลิตไฟลสื่อประสม โดยใช
ซอฟตแวรโปรแกรมสําเร็จรูปตางๆ เชน Power Point, Tool Book และ Author Ware
และนําเสนอไฟลสื่อประสมที่ผลิตแลว ซอฟตแวรโปรแกรมจะชวยในการผลิตไฟลเพื่อ
ใชในบทเรียน ฝกอบรมและ การนําเสนองาน โดยแตละไฟลจะมีลักษณะของขอความ
ภาพกราฟก ภาพแอนิเมชัน และเสียงรวมอยูในไฟลเดียวกัน
               2.3 การใชคอมพิวเตอรเปนอุปกรณในการนําเสนอไฟลสื่อประสมที่ผลิต
และเก็บบันทึกไว โดยสามารถนําเสนอขอมูลเรียงตามลําดับเนื้อหาตั้งแตตนจนจบ เชน
นําเสนอเนื้อหาดวยโปรแกรม Power Point ไปตามลําดับที่ละสไลด การอานหนังสือ
อิเล็กทรอนิกสทละหนา และใชในลักษณะสื่อประสมเชิงโตตอบที่ผูใชสามารถมี
                   ี
ปฏิสมพันธโตตอบกับสื่อโดยตรง โดยการคลิกเมาสหรือใชเสียง ดังเชนบทเรียน
      ั
คอมพิวเตอรชวยสอน ที่เรียกยอๆ วา บทเรียนซีเอไอ
6บทที่2
6บทที่2
6บทที่2
6บทที่2
6บทที่2
6บทที่2
6บทที่2
6บทที่2
6บทที่2

More Related Content

What's hot

Intro bio5 2560
Intro bio5 2560Intro bio5 2560
Intro bio5 2560
Wichai Likitponrak
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
kruwaeo
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstracts
kruwaeo
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1Hathaichon Nonruongrit
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
Wichai Likitponrak
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
Niwat Yod
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01krukrajeab
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 

What's hot (20)

Intro bio5 2560
Intro bio5 2560Intro bio5 2560
Intro bio5 2560
 
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
 
8บทที่4
8บทที่4 8บทที่4
8บทที่4
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstracts
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 

Viewers also liked

บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมkrupornpana55
 
ภาคผนวก ข 6.4
ภาคผนวก ข 6.4ภาคผนวก ข 6.4
ภาคผนวก ข 6.4krupornpana55
 
ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผล
ภาคผนวก ค  วิเคราะห์ผลภาคผนวก ค  วิเคราะห์ผล
ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผลkrupornpana55
 
ภาคผนวก ข.6.3
ภาคผนวก ข.6.3ภาคผนวก ข.6.3
ภาคผนวก ข.6.3krupornpana55
 
ภาคผนวก ข 6.6
ภาคผนวก ข 6.6ภาคผนวก ข 6.6
ภาคผนวก ข 6.6krupornpana55
 
ภาคผนวก ข.6.1docx
ภาคผนวก ข.6.1docxภาคผนวก ข.6.1docx
ภาคผนวก ข.6.1docxkrupornpana55
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 

Viewers also liked (10)

บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ภาคผนวก ข 6.4
ภาคผนวก ข 6.4ภาคผนวก ข 6.4
ภาคผนวก ข 6.4
 
ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผล
ภาคผนวก ค  วิเคราะห์ผลภาคผนวก ค  วิเคราะห์ผล
ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผล
 
ภาคผนวก ข.6.3
ภาคผนวก ข.6.3ภาคผนวก ข.6.3
ภาคผนวก ข.6.3
 
1ปก
1ปก1ปก
1ปก
 
ภาคผนวก ข 6.6
ภาคผนวก ข 6.6ภาคผนวก ข 6.6
ภาคผนวก ข 6.6
 
4สารบัญ
4สารบัญ4สารบัญ
4สารบัญ
 
ภาคผนวก ข.6.1docx
ภาคผนวก ข.6.1docxภาคผนวก ข.6.1docx
ภาคผนวก ข.6.1docx
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 

Similar to 6บทที่2

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Boonlert Aroonpiboon
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
Taweesak Poochai
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
SAKANAN ANANTASOOK
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปกkrupornpana55
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
Weerachat Martluplao
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
Taweesak Poochai
 

Similar to 6บทที่2 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปก
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
วิทยาศาสตร์ ต้น
วิทยาศาสตร์  ต้นวิทยาศาสตร์  ต้น
วิทยาศาสตร์ ต้น
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 

More from krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

More from krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

6บทที่2

  • 1. บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกียวของ ่ การวิจย เรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร เรื่อง ั การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 1 ระหวางการสอน ้ โดยใชสื่อประสม กับการสอนแบบปกติ ผูวิจัยไดศึกษาวรรณกรรมและงานวิจัย ที่เกี่ยวของ ตามหัวขอตอไปนี้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระ  การเรียนรูวิทยาศาสตร 1.1 สาระและมาตรฐานการเรียนรู 1.2 ธรรมชาติและลักษณะเฉพาะของวิทยาศาสตร 1.3 กระบวนการสืบเสาะหาความรู 2. การสอนวิทยาศาสตร 2.1 การเรียนการสอนวิทยาศาสตร 2.2 ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสอนวิทยาศาสตร 2.2.1 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญา 2.2.2 ทฤษฎีการเรียนรูและกระบวนการเรียนรู 2.2.3 ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม 3. สื่อประสม 3.1 ความหมายสื่อประสม 3.2 ประเภทของสื่อประสม 3.3 ลักษณะการใชสื่อประสม 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร 5. งานวิจัยที่เกี่ยวของทั้งในประเทศและตางประเทศ
  • 2. 10 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปนหลักสูตรแกนกลางของ ประเทศที่มีจุดประสงคที่จะพัฒนาคุณภาพของผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีคุณภาพ ชีวิตที่ดี มีขีดความสามารถในการแขงขัน โดยเฉพาะอยางยิ่ง การเพิ่มศักยภาพของผูเรียน ใหสูงขึ้น สามารถดํารงชีวิตอยางมีความสุขไดบนพื้นฐานของความเปนไทยและ ความเปนสากล รวมทั้งความสามารถในการประกอบอาชีพหรือศึกษาตอตามความถนัด และความสามารถของแตละบุคคล สาระและมาตรฐานการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูวทยาศาสตร  ิ มาตรฐานการเรียนรูเปนขอกําหนดคุณภาพผูเรียนดานความรู ความคิด ทักษะ กระบวนการการเรียนรู คุณธรรม จริยธรรมและคานิยม ซึ่งเปนจุดมุงหมายในการพัฒนา ผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรกําหนดไว 2 สวน คือ มาตรฐานการเรียนรูการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปน มาตรฐานการเรียนรูเมื่อผูเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น เปนมาตรฐานการเรียนรูเมื่อผูเรียนจบการศึกษาแตละชวงชั้น สถานศึกษาจะตองจัด สาระการเรียนรูใหผูเรียนทุกคนไดรับการพัฒนาตามมาตรฐานการเรียนรูทกําหนดไว ี่ (กรมวิชาการ. 2545, หนา 10) ในที่นผูวิจัยขอกลาวถึงเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู ี้ ขั้นพื้นฐานที่เปนหลักสากลที่นํามาใชตอเนื่องจนถึงหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระและมาตรฐานการเรียนรูขั้นพื้นฐานของกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมี ดังนี้
  • 3. 11 1. สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร สาระที่เปนองคความรูของกลุมวิทยาศาสตร ประกอบดวย สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดลอม สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร สาระที่ 4 : แรงและการเคลื่อนที่ สาระที่ 5 : พลังงาน สาระที่ 6 : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก สาระที่ 7 : ดาราศาสตรและอวกาศ สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2. สาระและมาตรฐานการเรียนรูวิทยาศาสตร สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 : เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของ โครงสรางและหนาที่ของระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และ นําความรูไปใชในการ ดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต มาตรฐาน ว 1.2 : เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความ หลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผล ตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู และจิต วิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไป ใชประโยชน
  • 4. 12 สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดลอม มาตรฐาน ว 2.1 : เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวาง สิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต ตางๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู และจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไป ใชประโยชน เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช มาตรฐาน ว 2.2 : ทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น ประเทศและโลก นําความรูไปใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน สาระที่ 3 : สารและสมบัตของสาร ิ มาตรฐาน ว 3.1 : เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของ สารกับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค มี กระบวนการ สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน มาตรฐาน ว 3.2 : เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนสถานะ ของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี มี กระบวนการ สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา ศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช ประโยชน
  • 5. 13 สาระที่ 4 : แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 : เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยาง มีคุณธรรม มาตรฐาน ว 4.2 : เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุใน ธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและ จิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไป ใชประโยชน สาระที่ 5 : พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 : เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและ พลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและ สิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน สาระที่ 6 : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว 6.1 : เขาใจกระบวนการตางๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและ ภายในโลกความสัมพันธของกระบวนการตางๆ ที่มีผลตอ การเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของ โลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา ศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใช ประโยชน
  • 6. 14 สาระที่ 7 : ดาราศาสตรและอวกาศ มาตรฐาน ว 7.1 : เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะและกาแล็กซี ปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะ และผลตอสิ่งมีชีวิตบน โลกมีกระบวนการ สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา ศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช ประโยชน มาตรฐาน ว 7.2 : เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชใน การสํารวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ ดาน การเกษตรและการสื่อสาร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนํา ความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและ สิ่งแวดลอม สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 : ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตร ในการ สืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวา  ปรากฏการณทางธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นสวนใหญมี รูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจ วาวิทยาศาสตรเทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอมมี ความเกี่ยวของสัมพันธกัน
  • 7. 15 ธรรมชาติและลักษณะเฉพาะของวิทยาศาสตร ความรูทางวิทยาศาสตรไดมาดวยความพยายามของมนุษยที่ใชกระบวนการ สืบเสาะหาความรู (scientific inquiry) การสังเกต สํารวจตรวจสอบ ศึกษาคนควาอยางเปน ระบบ และการสืบคนขอมูล ทําใหเกิดองคความรูใหมเพิ่มพูนตลอดเวลา ความรู และกระบวนการดังกลาวมีการถายทอดตอเนื่องกันเปนเวลายาวนาน ความรูวิทยาศาสตรตองสามารถอธิบายและตรวจสอบได เพื่อนํามาใชอางอิงทั้ง ในการสนับสนุน หรือโตแยงเมื่อมีการคนพบขอมูล หรือหลักฐานใหม หรือแมแตขอมูล เดิมเดียวกัน ก็อาจเกิดความขัดแยงขึ้นได ถานักวิทยาศาสตรแปลความหมายดวยวิธีการ หรือแนวคิดที่แตกตางกัน ความรูวิทยาศาสตรจึงอาจเปลี่ยนแปลงได วิทยาศาสตรเปนเรื่องที่ทุกคนสามารถมีสวนรวมไดไมวาจะอยูในสวนใดของ โลก วิทยาศาสตรจึงเปนผลจากการสรางเสริมความรูของบุคคล การสื่อสารและ การเผยแพรขอมูลเพื่อใหเกิดความคิดในเชิงวิเคราะหวิจารณ มีผลใหความรูวิทยาศาสตร  เพิ่มขึ้นอยางไมหยุดยั้งและสงผลตอคนในสังคม การศึกษาคนควาและการใชความรู ทางวิทยาศาสตรจึงตองอยูภายในขอบเขต คุณธรรม จริยธรรม เปนที่ยอมรับของสังคม ความรูวิทยาศาสตรเปนพื้นฐานที่สําคัญในการพัฒนาเทคโนโลยี เทคโนโลยีเปน กระบวนการในงานตางๆ หรือกระบวนการพัฒนา ปรับปรุงผลิตภัณฑโดยอาศัยความรู วิทยาศาสตรรวมกับศาสตรอ่นๆ ทักษะ ประสบการณ จินตนาการและความคิดริเริ่ม ื สรางสรรคของมนุษย โดยมีจุดมุงหมายที่จะใหไดผลิตภัณฑที่ตอบสนองความตองการ และแกปญหาของมวลมนุษย เทคโนโลยีเกี่ยวของกับทรัพยากร กระบวนการ และระบบ การจัดการ จึงตองใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคตอสังคมและสิ่งแวดลอม (กรมวิชาการ. 2545, หนา 2) กระบวนการสืบเสาะหาความรู (scientific inquiry) กรมวิชาการ ( 2545, หนา 219) ไดกลาวถึงกระบวนการสืบเสาะหาความรูวา การที่นักเรียนจะสรางองคความรูได ตองผานกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายตาม ทฤษฎีการเรียนรูและกระบวนการเรียนรู และกระบวนการสืบเสาะหาความรู (inquiry process) เปนกระบวนการหนึ่งที่ทําใหผูเรียนสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและพัฒนา
  • 8. 16 ความคิด ความสามารถ กระบวนการสืบเสาะหาความรู ประกอบดวยขั้นตอนที่สําคัญ ดังนี้ ขั้นสรางความสนใจ (engagement) เปนการนําเขาสูบทเรียนหรือเรื่องที่สนใจ ซึ่งอาจเกิดขึ้นเองจากความสงสัย หรืออาจเริ่มจากความสนใจของตัวนักเรียนเองหรือ เกิดจากการอภิปรายกลุม ขั้นสํารวจและคนหา (exploration) เมื่อทําความเขาใจในประเด็นหรือคําถาม ที่สนใจจะศึกษาอยางถองแทแลว ก็มีการวางแผนกําหนดแนวทางการสํารวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน กําหนดทางเลือกที่เปนไปได ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูล ขอสนเทศ ขั้นอธิบายและลงขอสรุป (explanation) เมื่อไดขอมูลอยางเพียงพอจาก การสํารวจตรวจ สอบแลว จึงนําขอมูล ขอสนเทศที่ไดมาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดในรูปตางๆ ขั้นขยายความรู (elaboration) เปนการนําความรูที่สรางขึ้นไปเชื่อมโยงกับ ความรูเดิมหรือแนวคิดที่ไดคนควาเพิ่มเติม หรือนําแบบจําลองหรือขอสรุปที่ไดไปใช อธิบายสถานการณหรือเหตุการณอื่นๆ ชวยใหเชือมโยงกับเรื่องตางๆ และทําใหเกิด ่ ความรูกวางขวางขึ้น ขั้นประเมิน (evaluation) เปนการประเมินการเรียนรูดวยกระบวนการตางๆ วานักเรียนมีความรูอะไรบาง อยางไร และมากนอยเพียงใด จากขั้นนี้จะนําไปสู การนําความรูไปประยุกตใชในเรื่องอื่นๆ สรุปไดวาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระ  การเรียนรูวิทยาศาสตร สาระและมาตรฐานการเรียนรู ธรรมชาติและลักษณะเฉพาะของ วิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู เปนแกนกลางที่สําคัญที่ใชเปนมาตรฐานที่ มุงใหผูเรียนไดเรียนรูวิทยาศาสตรอยางมีเปาหมาย และประสบความสําเร็จในการเรียนรู
  • 9. 17 การสอนวิทยาศาสตร การเรียนการสอนวิทยาศาสตร การเรียนการสอนวิทยาศาสตรเปนกระบวนการหนึ่งที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร และกระบวนการสืบเสาะหาความรูเพื่อใหผูเรียน คิดเปน ทําเปนและแกปญหาได สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2545, หนา 76) กลาวถึง การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีวา เปนการเนนกระบวนการที่ นักเรียนเปนผูคิดลงมือปฏิบัติ ศึกษาคนควาอยางมีระบบดวยกิจกรรมหลากหลาย ทั้งการ ทํากิจกรรมภาคสนาม การสังเกต การสํารวจตรวจสอบ การทดลองในหองปฏิบัติการ การสืบคนขอมูลจากแหลงขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การทําโครงงานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี การศึกษาจากแหลงเรียนรูในทองถิ่นโดยคํานึงถึงวุฒิภาวะ ประสบการณเดิม สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมตางกันที่นักเรียนไดรบรูมาแลวกอนเขาสูหองเรียน ั การเรียนรูของนักเรียนจะเกิดขึ้นระหวางที่นักเรียนมีสวนรวมโดยตรงในการทํากิจกรรม การเรียนเหลานั้น จึงจะมีความสามารถในการสืบเสาะหาความรู มีความสามารถในการ แกปญหาดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร ไดพัฒนากระบวนการคิดขั้นสูงและคาดหวังวา  กระบวนการเรียนรูดังกลาว จะทําใหนักเรียนไดรบการพัฒนาเจตคติและคานิยมที่ ั เหมาะสมตอวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรวมทั้งความสามารถในการสื่อสารและ การทํางานรวมกับผูอื่น ไดอยางมีประสิทธิภาพ หนวยศึกษานิเทศก สํานักงานการศึกษา กรุงเทพมหานคร (2544, หนา 6) กลาวถึงการเรียนการสอนวิทยาศาสตรวา ครูผูสอนจะตองจัดการเรียการสอนใหนักเรียน ไดรับความรูในเนื้อหาวิชา ใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการแสวงหาความรู และสรางเจตคติทางวิทยาศาสตร มีโอกาสคนพบความรูดวยตนเองและไดฝกคิดตาม ขั้นตอนของวิธีการทางวิทยาศาสตร จะชวยใหนักเรียนสามารถแกปญหาตางๆ ไดและ ปรับตัวอยูในสังคมไดดี กระบวนการเรียนการสอวิทยาศาสตรมีองคประกอบสําคัญ คือ ผูเรียนและกระบวนการเรียนกับผูสอนและกระบวนการสอนองคประกอบทั้งสองสวนนี้ มีความเกี่ยวของสัมพันธกนชวยใหการเรียนรูของนักเรียนบรรลุผลตามจุดมุงหมายและ ั
  • 10. 18 เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวา การเรียนการสอนวิทยาศาสตรใหประสบผลสําเร็จ คือ การสอนดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร คนหาความรูทางวิทยาศาสตรดวยตนเอง และการแกปญหาดวกระบวนการทางวิทยาศาสตรซ่งตองอาศัยองคประกอบที่สําคัญ ึ 3 ประการ คือ วิธีการทางวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเจตคติ ทางวิทยาศาสตร เบญจมาส ชุมจิตต (2549, หนา 53) ไดใหความหมายของการสอนวิทยาศาสตร วา เปนการจัดการเรียนการสอนที่เนนกระบวนการที่นักเรียนไดเปนผูลงมือคิดปฏิบัติ ศึกษาคนควาความรูดวยตนเองอยางเปนระบบดวยกิจกรรมที่หลากหลาย โดยใชทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรในการแสวงหาความรูและฝกคิดดวยขั้นตอนวิธีการ ทางวิทยาศาสตร นักเรียนก็จะเปนผูท่สามารถแกปญหาตางๆ ได โดยครูผสอนเปนเพียง ี ู ผูชี้แนะแนวทาง สรุปไดวาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ตองจัดการเรียนการสอนใหนักเรียน สามารถสรุปองคความรูไดดวยตนเอง และโดยใชวธการทางวิทยาศาสตร ทักษะ ิี กระบวนการทางวิทยาศาสร กระบวนการสืบเสาะหาวามรู ใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติ กิจกรรมการทดลอง สํารวจตรวจสอบสิ่งที่เรียนรู ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร ทฤษฎีท่ีเกี่ยวกับการสอนวิทยาศาสตร ทฤษฎีพฒนาการทางสติปญญา (Theory of Cognitive Development) ั  กรมวิชาการ (2545, หนา 144-145) ไดกลาวถึงทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญา ดังนี้ การพัฒนาการของเด็กดานตางๆ มีมาแลวตั้งแตอยูที่บาน ทั้งในสวนของรางกาย จิตใจและความรูความสามารถตางๆ เมื่อเด็กเหลานั้นเขามาสูระบบโรงเรียนจึงมีความรู ความสามารถมา สวนหนึ่งแลว ที่จะใชเปนพื้นฐานในการเรียนรูตามระบบของ โรงเรียนตอไป ทฤษฎีทยอมรับโดยทั่วไป คือทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของเพียเจต ี่ (Piaget) นักจิตวิทยาชาวสวิส ซึ่งไดเสนอไววา พัฒนาการเรียนรูของเด็กตั้งแตแรกเกิด จนสูวัยผูใหญจะแบงออกเปน 4 ระยะคือ
  • 11. 19 1. ระยะใชประสาทสัมผัส (sensory-organs stage) เปนการพัฒนาของเด็ก ตั้งแตแรกเกิดจนถึง 2 ป ในวัยนี้เด็กจะเริ่มพัฒนาการรับรูโดยใชประสาทสัมผัสตางๆ ตลอดจนเริ่มมีการพัฒนาการใชอวัยวะใหสามารถทํางานเบื้องตนได การพัฒนาเหลานี้ จัดเปนการพัฒนาที่พื้นฐานสําคัญในการพัฒนาขั้นตอไป เด็กในวัยนี้จึงเรียนรูโดยการได หยิบจับ สัมผัสกับสิ่งตางๆ รอบตัว 2. ระยะควบคุมอวัยวะตาง ๆ (proportional stage) เปนการพัฒนาในชวงอายุ 2 ป จนถึง 7 ป เด็กวัยนี้จะเริ่มพัฒนารางกายอยางเปนระบบมากขึ้น มีการพัฒนาของสมองเพื่อ ใชควบคุมการพัฒนาลักษณะใหมีความสัมพันธกันภายใตการควบคุมของสมองและ เชื่อมโยงกับสิ่งตางๆ ที่เปนรูปธรรม 3. ระยะที่คิดอยางเปนรูปธรรม (concrete - operational stage) เปนพัฒนาการ ในชวงอายุ 7 ป ถึง 11 ป เด็กชวงนี้จะมีการพัฒนาสมองมากขึ้นอยางรวดเร็ว จนสามารถ เรียนรูและจําแนกสิ่งตางๆ ที่เปนรูปธรรมได แตจะยังไมสามารถสรางจินตนาการกับ เรื่องราวที่เปนนามธรรมได 4. ระยะที่คิดอยางเปนนามธรรม (formal - operational stage) เปนพัฒนาการ ในชวงสุดทายของเด็กอายุประมาณ 12 - 15 ป กอนจะเปนผูใหญ เด็กในชวงนี้สามารถ คิดอยางเปนเหตุผลและคิดในสิ่งที่ซับซอนอยางเปนนามธรรมไดมากขึ้น เมื่อเด็กพัฒนา ไดอยางเต็มที่แลว จะสามารถคิดอยางเปนเหตุเปนผลและแกปญหาไดอยางดี จนพรอมที่ จะเปนผูใหญที่มีวุฒิภาวะตอไป สรุปไดวา การพัฒนาของเด็กจะเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง จากระดับตนในวัยเด็กไปสู ระดับที่สูงขึ้น จนเขาสูความเปนผูใหญ โดยทั่วไปการพัฒนาของเด็กจะไมกระโดดขาม ขั้น แตในบางชวงของการพัฒนาอาจเกิดขึ้นเร็วหรือชาได การพัฒนาเหลานี้จะเกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ แตสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม และประเพณีรวมทั้งวิธีการดํารงชีวิตอาจมี สวนชวยใหเด็กพัฒนาไดชาเร็วแตกตางกันได
  • 12. 20 ทฤษฎีการเรียนรูและกระบวนการเรียนรู กรมวิชาการ (2545, หนา 146) ไดกลาวถึงทฤษฎีการเรียนรูและกระบวนการ เรียนรูดังนี้ การเรียนรูเปนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การพัฒนาความคิดและ ความสามารถ โดยอาศัยประสบการณ และปฏิสมพันธระหวางผูเรียนและสิ่งแวดลอม ั ทําใหบุคคลดําเนินชีวิตไดอยางมีความสุขในสังคม การเรียนรูเปนกระบวนการที่ซับซอน การจัดการเรียนการสอนที่จะทําใหเด็ก เกิดการเรียนรูอยางครบถวนจึงไมเปนเรื่องงาย นักปรัชญาและนักจิตวิทยาการศึกษา หลายคน ไดพยายามคิดคนทฤษฎีและกระบวนการเกี่ยวกับการเรียนรูกันมานานแลว เชน การเรียนรูจากการปฏิบัติ (learning by doing) ของดิวอี้ (Dewey, 1922) ทฤษฎี พัฒนาการทางสติปญญาของเด็ก (theory of cognitive development) ของเพียเจต (Piaget, 1958) การเรียนรูดวยการคนพบ (discovery learning) ของบรูเนอร (Bruner, 1961) การเรียนรูอยางมีความหมายของออซูเบล (Ausubel, 1969) เปนตน โรเบิรต กาเย (Robert Gagne , 1970) ไดเสนอเงื่อนไขของการเรียนรู  (conditions of learning) ไว 8 ประการคือ การเรียนรูเมื่อไดรับสัญญาณ (signal learning) การเรียนรูในลักษณะของการกระตุนและการตอบสนอง (stimulus response learning) การเรียนรูโดยการเชื่อมโยงการกระตุนและการตอบสนองหลายๆ อยางเขาดวยกัน (chaining) การเรียนรูโดยการสรางความสัมพันธระหวางการกระตุนและการตอบสนอง หลายๆ อยางดวยภาษา (verbal association) การเรียนรูแบบแยกแยะ (discrimination learning) การเรียนรูในแนวความคิดหลัก (concept learning) การเรียนรูในกฎเกณฑ (rule learning) และการเรียนรูเชิงแกปญหา (problem solving process) ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรูที่พูดกันมากในปจจุบันนี้คือ ทฤษฎีการสรางเสริม  ความรู (constructivism) ซึ่งเชื่อกันวานักเรียนทุกคนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับบางสิ่ง บางอยางมาแลว ไมมากก็นอย กอนที่ครูจะจัดการเรียนการสอนใหเนนวาการเรียนรู เกิดขึ้นดวยตัวของผูเรียนรูเอง และการเรียนรูเรื่องใหมจะมีพื้นฐานมาจากความรูเดิม ดังนั้น ประสบการณเดิมของนักเรียนจึงเปนปจจัยสําคัญตอการเรียนรูเปนอยางยิ่ง กระบวนการเรียนรู (process of learning) ที่แทจริงของนักเรียนไมไดเกิดจากการบอกเลา
  • 13. 21 ของครู หรือนักเรียนเพียงแตจดจําแนวคิดตางๆ ที่มีผูบอกใหเทานั้น แตการเรียนรู วิทยาศาสตรตามทฤษฎีการสรางเสริมความรู เปนกระบวนการที่นักเรียนจะตองสืบคน เสาะหา สํารวจตรวจสอบ และคนควาดวยวิธีการตางๆ จนทําใหนักเรียนเกิดความเขาใจ และเกิดการรับรูความรูนั้นอยางมีความหมาย จึงจะสามารถสรางเปนองคความรูของ นักเรียนเอง และเก็บเปนขอมูลไวในสมองไดอยางยาวนาน สามารถนํามาใชไดเมื่อมี สถานการณใดๆ มาเผชิญหนา ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม (Learning Theory : Behaviorism) ทิศนา แขมมณี (2548, หนา 50) ไดกลาวถึงทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม  ดังนี้ การเรียนรูเปนกระบวนการในการพัฒนาความสามารถ และศักยภาพของ มนุษยในดานตางๆ อาทิ ดานความรู ดานทักษะ ดานเจตคติ เปนตน ซึ่งแนวคิดเกี่ยวกับ การเรียนรูของมนุษยไดรับความสนใจจากนักปรัชญาและนักจิตวิทยามาตั้งแตในอดีต ซึ่งตางก็มีแนวคิดหรือทัศนะที่หลากหลาย และไดพัฒนาไปเปนรากฐานในการจัดการ เรียนรู “ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม” (Learning Theory : Behaviorism) ซึ่งเปน  ทฤษฎีการเรียนรูจาก 4 ทฤษฎี ไดแก 1. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) 2. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพุทธินิยม หรือกลุมความรูความเขาใจ (Cognitivism) 3. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมมนุษยนิยม (Humanism) 4. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมผสมผสาน (Eclecticism) การเรียนรูเปนกระบวนการทั้งดานสมรรถภาพ ทักษะและทัศนคติที่คนเราไดรับ ตั้งแตเปนทารกจนเปนผูใหญ กระบวนการเรียนรูจงเปนสวนสําคัญของความสามารถ ึ ของคนเรา มีนักการศึกษาหลายทานไดกลาววา “การเรียนรู คือ การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ซึงเปนผลมาจากประสบการณที่คนเรามีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม” ซึ่งใน ่ การเรียนรูที่เกิดขึ้น ไดมีการศึกษาคนควาดานความรูที่เกี่ยวของกับการเรียนรู จนเกิดเปน ทฤษฎีการเรียนรู (วารินทร รัศมีพรหม, 2542, หนา 152) ซึ่งสอดคลองกับ ทิศนา แขมมณี (2548, หนา 43) ที่กลาววา “ทฤษฎีการเรียนรู เปนแนวความคิดที่ไดรับ
  • 14. 22 การยอมรับวาสามารถใชอธิบายลักษณะของการเกิดการเรียนรู หรือการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมได” นักคิด นักจิตวิทยาในกลุมพฤติกรรมนิยมมองธรรมชาติของมนุษยในลักษณะ เปนกลาง คือ ไมดีไมเลว (neutral - passive) การกระทําตางๆ เกิดจากอิทธิพลของ สิ่งแวดลอมภายนอก พฤติกรรมของมนุษยเกิดจากการตอบสนองตอสิ่งเรา (stimulus- response) การเรียนรูเกิดจากการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเราและการตอบสนอง กลุม พฤติกรรมนิยมใหความสําคัญกับ “พฤติกรรม” มาก เพราะพฤติกรรมเปนสิ่งที่ สังเกตเห็นได สามารถวัดและทดสอบได ทฤษฎีการเรียนรูในกลุมพฤติกรรมนิยม ประกอบดวยแนวคิดสําคัญ 3 แนวคิด (ทิศนา แขมมณี, 2548, หนา 50) ดังตอไปนี้ 1. ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอรนไดค (Thorndike’s Connectionism Theory) 2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) 3. ทฤษฎีการเรียนรูของฮัลล (Hull’s Systematic Behavior Theory) ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอรนไดค (Thorndike’s Connectionism Theory) ธอรนไดค (Thorndike) ไดใหกําเนิดทฤษฎีการเรียนรูทฤษฎีหนึ่งขึ้นมา ซึ่งเปนที่ยอมรับแพรหลายตั้งแตป ค.ศ. 1899 เปนตนมาจนถึงปจจุบน ทฤษฎีของเขาเนน ั ความสัมพันธเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรากับการตอบสนอง ทฤษฎีของธอรนไดคเรียกวา ทฤษฎีการเชือมโยง (Connectionism Theory) ทฤษฎีนี้กลาวถึงการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรา ่ (Stimulus - S) กับการตอบสนอง (Response - R) โดยมีหลักเบื้องตนวา “การเรียนรูเกิดจาก การเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรากับการตอบสนอง โดยที่การตอบสนองมักจะออกมาเปน รูปแบบตางๆ หลายรูปแบบ จนกวาจะพบรูปแบบที่ดี หรือเหมาะสมที่สุด เราเรียก การตอบสนองเชนนี้วาการลองถูกลองผิด (trial and error) นั่นคือการเลือกตอบสนอง ของผูเรียนรูจะกระทําดวยตนเองไมมีผใดมากําหนดหรือชี้ชองทางในการปฏิบัติให ู และเมื่อเกิดการเรียนรูขึ้นแลว การตอบสนองหลายรูปแบบจะหายไปเหลือเพียง การตอบสนองรูปแบบเดียวที่เหมาะสมที่สุด และพยายามทําใหการตอบสนองเชนนั้น
  • 15. 23 เชื่อมโยงกับสิ่งเราที่ตองการใหเรียนรูตอไปเรื่อยๆ ทิศนา แขมมณี (2548 : 51) สามารถ สรุปเปนกฎการเรียนรู ไวดังนี้ 1. กฎแหงความพรอม (Law of Readiness) การเรียนรูจะเกิดขึ้นไดดี ถาผูเรียนมี ความพรอมทั้งทางรางกายและจิตใจ 2. กฎแหงการฝกหัด (Law of Exercise) การฝกหัดหรือกระทําบอยๆ ดวย ความเขาใจจะทําใหการเรียนรูนั้นคงทนถาวร ถาไมไดกระทําซ้ําบอยๆ การเรียนรูนั้นจะ ไมคงทนถาวร และในทีสุดอาจลืมได ่ 3. กฎแหงการใช (Law of Use and Disuse) การเรียนรูเกิดจากการเชื่อมโยง ระหวาง สิ่งเรากับการตอบสนอง ความมั่งคงของการเรียนรูจะเกิดขึ้น หากไดมี การนําไปใชบอยๆ หากไมมีการนําไปใชอาจมีการลืมเกิดขึ้นได 4. กฎแหงผลที่พึงพอใจ (Law of Effect) เมื่อบุคคลไดรับผลที่พึงพอใจยอม อยากจะเรียนรูตอไป แตถาไดรับผลที่ไมพึงพอใจจะไมอยากเรียนรู ดังนันการไดรับผล ้ ที่พึงพอใจ จึงเปนปจจัยสําคัญในการเรียนรู ถวัลย มาศจรัส (2548, หนา 16) ไดกลาวถึงทฤษฎีของธอรนไดคสอดคลองกับ ทิศนา แขมมณี (2548, หนา 51) วาเปนทฤษฎีที่ศึกษาคนควาเรื่องการเรียนรูโดยอาศัย วิธีการทางวิทยาศาสตรสรุปเปนทฤษฎีสัมพันธเชื่อมโยงที่เปนความสัมพันธระหวาง สิ่งเรากับการตอบสนอง และทฤษฎีของธอรนไดค สามารถนํามาใชเปนพื้นฐานในการ สรางบทเรียนเพื่อการเรียนรูของผูเรียน ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) 1. พฤติกรรมเรสปอนเดนท (Respondent behavioral) เปนพฤติกรรมที่เกิดขึ้น โดยสิ่งเรา เมื่อมีสิ่งเราพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น ซึ่งจะสามารถสังเกตได นิยม เรียกกันวาทฤษฎีการเรียนรูแบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classic Conditioning Theory) 2. พฤติกรรมโอเปอแรนท (Operant behavioral) เปนพฤติกรรมที่บคคลหรือ ุ สัตวแสดงพฤติกรรมการตอบสนองออกมา (Emitted) โดยปราศจากสิ่งเราที่แนนอน
  • 16. 24 และพฤติกรรมนี้มีผลตอสิ่งแวดลอม นิยมเรียกกันวา ทฤษฎีการเรียนรูแบบการวาง เงื่อนไขแบบโอเปอแรนท (Operant Conditioning Theory) ทฤษฎีการเรียนรูแบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค ของพาฟลอฟ (Pavlov) ตอมาภายหลัง วัตสัน (Watson) ไดนําเอาแนวคิดของพาฟลอฟไปดัดแปลงแกไขให เหมาะสมยิ่งขึ้นสามารถสรุปออกมาเปนทฤษฎีการเรียนรู และกฎการเรียนรูดังนี้ (ทิศนา แขมมณี, 2548, หนา 52 – 53) 1. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยเกิดจากการวางเงื่อนไขที่ ตอบสนองตอ ความตองการทางธรรมชาติ 2. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยสามารถเกิดขึ้นไดจากสิ่งเราที่ เชื่อมโยงกับสิ่งเราตามธรรมชาติ 3. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยที่เกิดจากสิ่งเราที่เชื่อมโยงกับสิ่งเรา ตามธรรมชาติจะลดลงเรื่อยๆ และหยุดลงในที่สุดหากไมไดรับการตอบสนองตาม ธรรมชาติ 4. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยสิ่งเราที่เชื่อมโยงกับสิ่งเราตาม ธรรมชาติจะลดลงและหยุดไปเมื่อไมไดรับการตอบสนองตามธรรมชาติ และจะกลับ ปรากฏขึ้นไดอีกโดยไมตองใชสิ่งเราตามธรรมชาติ 5. มนุษยมีแนวโนมที่จะจําแนกลักษณะของสิ่งเราใหแตกตางกันและเลือก ตอบสนองไดถูกตอง ทฤษฎีการเรียนรูแบบการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท (Operant Conditioning Theory) ทฤษฎีการเรียนรูแบบการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท (Operant Conditioning Theory) หรือ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทํา ซึ่งมี สกินเนอร (Skinner) เปนเจาของทฤษฎี สกินเนอรไดทดลองการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนทกับหนูและนกในหองทดลอง จนกระทั่งไดหลักการตางๆ มาเปนแนวทางการศึกษาการเรียนรูของมนุษย
  • 17. 25 สกินเนอรมีแนวคิดวา การเรียนรูเกิดขึ้นภายใตเงื่อนไขและสภาวะแวดลอมที่ เหมาะสม เพราะทฤษฎีนี้ตองการเนนเรื่องสิ่งแวดลอม สิ่งสนับสนุนและการลงโทษ โดย พัฒนาจากทฤษฎีของ พาฟลอฟ และธอรนไดค โดยสกินเนอรมองวาพฤติกรรมของ มนุษยเปนพฤติกรรมที่กระทําตอสิ่งแวดลอมของตนเอง พฤติกรรมของมนุษยจะคงอยู ตลอดไป จําเปนตองมีการเสริมแรง ซึงการเสริมแรงนี้มีท้งการเสริมแรงทางบวก ่ ั (Positive Reinforcement) และการเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) การเสริมแรง หมายถึง ผลของพฤติกรรมใดๆ ที่ทาใหพฤติกรรมนั้น ํ เขมแข็งขึ้น การเสริมแรงทางบวก หมายถึง สภาพการณที่ชวยใหพฤติกรรมโอเปอ แรนทเกิดขึ้นในดานความ ที่นาจะเปนไปได สวนการเสริมแรงทางลบเปนการ เปลี่ยนแปลงสภาพการณอาจจะทําใหพฤติกรรมโอเปอแรนทเกิดขึ้นได ซึ่งสอดคลองกับ ถวัลย มาศจรัส (2548, หนา 17) ที่ไดกลาวถึงทฤษฎีของสกินเนอร ไวดังนี้ สกินเนอรไดศึกษาเรื่องราวของพฤติกรรมมนุษย โดยอาศัยพื้นฐานทาง ธรรมชาติและลักษณะของมนุษยที่เสริมทฤษฎีของธอรนไดค 3 ประการ ไดแกเงื่อนไข ของการตอบสนองการเสริมแรง และความแตกตางระหวางบุคคล ที่เปนจุดเดนที่นํามาใชใน การสรางบทเรียนที่สําคัญ ไดแก 1. เงื่อนไขของการตอบสนอง (Operant Conditioning) ไดแกพฤติกรรม ของมนุษยที่แสดงออกจะเกิดขึ้นบอยแคไหนนั้น ขึ้นอยูกับการตอบสนองอัตราการ แสดงออกของพฤติกรรม 2. การเสริมแรง (Reinforcement) ไดแก สิ่งเราที่ทําใหอัตราการแสดงออก ของพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ตองการ และตัดหรือกําจัดพฤติกรรมบางอยาง ออกไปได ซึ่งจะทําใหผูเรียนเกิดความกระตือรือรนที่จะศึกษาเรียนรูดวยความตั้งใจ 3. ความแตกตางระหวางบุคคล (Individual differences) เปนการเปด โอกาสใหผูเรียนที่เรียนรูไดเร็ว สามารถนําเวลาที่เหลือไปทํากิจกรรมอื่นโดยไมตองรอ  ผูเรียนรูไดชาในขณะเดียวกันผูที่เรียนรูไดชาก็สามารถที่จะเรียนรูเรื่องตางๆ จากบทเรียนได ตามศักยภาพของตนเองโดยไมถูกบีบคั้นวาจะตองจบเนื้อหาสาระที่ผูสอนกําหนด พรอมกับผูเรียนที่เรียนรูโดยที่ตนเอง “ไมเกิดการเรียนรู” อยางแทจริง 
  • 18. 26 ทฤษฎีการเรียนรูของฮัลล (Hull’s Systematic Behavior Theory) ฮัลล (Clark L. Hull) เปนนักจิตวิทยาพฤติกรรมนิยมที่มีชื่อเสียงผูหนึ่งของ สหรัฐอเมริกา ไดเสนอกฎการเรียนรูไวดังนี้  1. กฎแหงสมรรถภาพในการตอบสนอง (Law of Reactive Inhibition) หรือการยับยั้งปฏิกิริยา คือ ถารางกายเกิดความเหนื่อยลา การตอบสนองหรือการเรียนรู จะลดลง 2. กฎแหงการลําดับกลุมนิสัย (Law of Habit Hierarchy) เมื่อมีสิ่งเรามา กระตุน แตละคนจะมีการตอบสนองตางๆ กัน ในระยะแรกการแสดงออกมีลักษณะ งาย ๆ ตอเมื่อเรียนรูมากขึ้นก็สามารถเลือกแสดงการตอบสนองในระดับที่สูงขึ้น หรือ ถูกตองตามมาตรฐานของสังคม 3. กฎแหงการใกลจะบรรลุเปาหมาย (Goal Gradient Hypothesis) เมื่อ ผูเรียนยิ่งใกลบรรลุเปาหมายเทาใดจะมีสมรรถภาพในการตอบสนองมากขึ้นเทานั้นการ เสริมแรงที่ใหในเวลาใกลเคียงเปาหมายจะชวยทําใหเกิดการเรียนรูไดดีที่สุด นอกจากนี้ฮัลลยังกลาวถึงองคประกอบตางๆ ที่จําเปนในการเรียนรูดังนี้ 1. ความสามารถ (Capacity) ในการเรียนรูของแตละบุคคลที่มีความ แตกตางกัน 2. การจูงใจ (Motivation) คือ การชวยใหเกิดพฤติกรรมการเรียนรูขึ้น โดย การสรางแรงขับ (Drive) ใหเกิดขึ้นมากๆ ในตัวผูเรียน 3. การเสริมแรง (Reinforcement) ฮัลลเนนวาการเสริมแรงทําใหเกิดการ เรียนรูไดดี และเนนจํานวนครั้งของการเสริมแรงมากกวาปริมาณของการเสริมแรงที่ให ในแตละครั้ง 4. ความเขาใจ (Understanding) การเรียนรูโดยการสรางความเขาใจให เกิดขึ้นอยางแทจริง เมื่อไปประสบปญหาที่คลายคลึงกับประสบการณเดิม ยอมจะ แกปญหาโดยใชความเขาใจไดเปนผลสําเร็จอยางดียิ่ง 5. การถายโยงการเรียนรู (Transfer of Learning) ถาการเรียนใหมคลายคลึง กับการเรียนรูเดิมในอดีต อินทรียจะสามารถตอบสนองตอการเรียนรูใหมเหมือนกับ การเรียนรูเดิม
  • 19. 27 6. การลืม (Forgetting) เมื่อกาลเวลาผานไปนานๆ และอินทรียไมไดใช สิ่งเราที่เรียนรูนั้นบอยๆ (Law of Disused) จะทําใหเกิดการลืมได สรุปไดวาการสอนวิทยาศาสตร ตองนําแนวคิด ทฤษฎีท่มีนักการศึกษา ี และนักวิชาการไดทดลองใชและปฏิบัติกันมาจนเปนที่ยอมรับ และเชื่อถือไดมาใช ทดลองสอนในการสอนวิทยาศาสตร สื่อประสม ความหมายของสื่อประสม มีผูใหความหมายของสื่อประสมไวดังนี้ วรวิทย นิเทศศิลป (2551, หนา 23) กลาววา สื่อประสม หมายถึง การนําสื่อที่ หลากหลาย ที่มีความสัมพันธกันมีคุณคาในตัวของมันเอง สื่อแตละชนิดใชไดดแตกตาง ี กันไป สื่อทีดจะชวยใหตัวผูเรียนมีประสบการณจากประสาทสัมผัสที่ผสมผสานกัน ่ี การใชสื่อประสมถือวาเปนนวัตกรรมการศึกษาอยางหนึ่ง เอกวิทย แกวประดิษฐ (2545, หนา 249) ไดใหความหมายของสื่อประสมวา หมายถึง การรวบรวมการทํางานของสื่อที่มีคุณลักษณะหลายอยางเขาดวย หรือหมายถึง สื่อหลายชนิดที่นํามาใชรวมกันอยางมระบบสัมพันธกันเพื่อชวยในการถายทอดเนื้อหา สาระโดยสื่อแตละชนิดที่นํามาใชตองมีความสัมพันธสนับสนุนซึ่งกันและกัน การใชสอ ื่ ประสมเปนการใชสื่อตั้งแตสองชนิดขึ้นไปเพื่อชวยใหผูเรียนหรือผูรับสารเกิดความรู ความเขาใจดีขึ้น กิดานันท มลิทอง (2548, หนา 192) ไดใหความหมายของสื่อประสมวา การบรรจบกันของเทคโนโลยีระบบแอนะล็อกและดิจทัล ในปจจุบันทําใหความหมาย ิ ของสื่อประสม สามารถอธิบายไดเปน 2 ลักษณะ โดยเปนความหมายของสื่อประสม แบบดังเดิมและสื่อประสมแบบใหมที่มีการใชคอมพิวเตอรเปนสื่อกลาง ดังนี้
  • 20. 28 สื่อประสมแบบดั้งเดิม หมายถึง การนําสื่อหลายอยางมาใชรวมกันทั้งวัสดุ อุปกรณ  และวิธีการ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการเรียนการสอน โดยใช สื่อแตละอยางตามลําดับขั้นตอนของการนําเสนอเนื้อหา สื่อประสมแบบใหม หมายถึง การนําเสนอขอมูลดวยคอมพิวเตอรในรูป ตัว อักขระภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และมีการปฏิสัมพันธโตตอบ เรียกอีกอยางวา “computer media” ไฮนิช และคณะ (Heinich and Othoers, 1986 , page 17) ไดใหความหมายของ สื่อประสม คือ การรวบรวมเอาวัสดุเพื่อการเรียน ที่ประกอบดวยสื่อมากกวาหนึ่งชนิดมา จัดรวมไวอยางกี่ยวเนื่องกัน จากความหมายของสื่อประสมที่นักการศึกษาไดกลาวไวขางตนพอสรุปไดวา  สื่อประสม หมายถึง การนําเอาสื่อการเรียนการสอนมากกวาหนึ่งชนิดขึ้นไป มาสัมพันธ กันในลักษณะที่สื่อแตละชนิดสงเสริมและสนับสนุนซึ่งกันและกัน เพื่อถายทอดเนื้อหา ตามลําดับขั้นตอนของการนําเสนอเนื้อหา โดยสื่อดังกลาวอาจเปนวัสดุ อุปกรณ วิธีการ หรือสื่อที่ใชคอมพิวเตอรเปนการนําเสนอขอมูลในรูป ตัวอักขระ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ประเภทของสื่อประสม เอกวิทย แกวประดิษฐ (2545, หนา 250 - 252) กลาววา สื่อประสมไดถูกจําแนก ไวตางๆ กัน แตโดยทั่วไปสื่อประสมอาจแบงออกตามลักษณะการประสมของสื่อ และ คุณลักษณะการใชมี 3 ประเภทใหญๆ คือ 1. สื่อประสมที่เปนวัสดุ อุปกรณและกระบวนการเขาดวยกัน นํามาใชสําหรับ การเรียน การสอนปกติทั่วๆ ไป เชน ชุดอุปกรณ ชุดการเรียนการสอน บทเรียนแบบ โปรแกรม โปรแกรมสไลด ศูนยการเรียน เปนตน สื่อประสมแตละชนิดที่จัดอยูใน ประเภทนี้มีหลักการและลักษณะเดนแตกตางกันออกไป คือ
  • 21. 29 1.1 สามารถใหผูเรียนไดประสบการณดวยตนเอง คือ มีสวนรวมในการกระทํา หรือฏิบัติกิจกรรมเปนการเราใจแกผูเรียน เชน ศูนยการเรียน บทเรียนโปรแกรม เปนตน 1.2 สามารถใหผเู รียนไดเรียนรูตามความสามารถ และความแตกตางของแตละ บุคคล เชน บทเรียนแบบโปรแกรม ชุดการสอน เปนตน 1.3 สามารถใหผูเรียนใชเรียนดวยตนเองหรือใชเมื่อขาดครูได เชน บทเรียน แบบโปรแกรม ชุดการสอนรายบุคคล เปนตน 1.4 สามารถใหผูเรียนไดรับผลตอบกลับทันที และไดรับความรูสึกภาคภูมิใจ ในความสําเร็จ เชน ศูนยการเรียน ชุดการสอน เปนตน 1.5 สามารถใชสงเสริมสมรรถภาพการสอนของครู เชน ชุดการสอนประกอบ คําบรรยาย เปนตน 2. สื่อประสมประเภทฉาย เปนการประสมสื่อ โดยมีขอจํากัดที่ความสามารถและ คุณสมบัติเฉพาะตัวของอุปกรณเครื่องฉายเปนสําคัญ เชน สไลดประกอบเสียง วีดีทัศน ประกอบเสียงสไลดและแผนโปรงใส เปนตน การเสนอดวยสื่อประเภทฉายนี้ แมวา ในบางครั้งราคาการผลิตอาจจะสูงและการผลิตซับซอนกวาการผลิตสื่อประสมประเภทแรก แตผลที่ไดรับจากการนําเสนอสื่อประสมประเภทฉายใหผลตรงที่มคุณสมบัติเฉพาะตัวที่ ี สื่ออื่นไมสามารถทําไดคือ ผลในความ รูสึก อารมณสุนทรียภาพ ชวยดึงดูดความสนใจให ผูชมไดตดตามอยางตื่นตาตื่นใจ และมีประสิทธิภาพ เปนการชวยในการเรียนการสอน สื่อ ิ ประสมประเภทนี้มีคณสมบัติเหมาะแกการนํามาใชในการเรียน การสอน ไดแก ุ 2.1 ใชเมื่อมีการเปรียบเทียบความคลายคลึงกัน เปนการงายสําหรับผูเรียนใน การสังเกตและเรียนรูสิ่งที่คลายคลึงกันจากสื่อตางๆ เมื่อภาพของสิ่งนั้นปรากฏบนจอ พรอมกัน 2.2 ใชสอนใหเห็นความแตกตาง และการตัดกันเมื่อภาพหลายๆ ภาพปรากฏ พรอมๆ กัน 2.3 ใชแสดงภาพซึ่งดําเนินเปนขั้นตอนและสามารถเรียนแบบการเคลื่อนไหว ได
  • 22. 30 2.4 ใชแสดงสิ่งที่เกิดขึ้นตามลําดับกอนและหลัง เกิดความตอเนื่องที่ดีมี ความสัมพันธระหวางภาพและเวลา ประกอบกับการจัดภาพและจอใหมีขนาดตางกันเปน การงายตอการจดจํา 2.5 ใชเนนจุดใดจุดหนึ่งโดยตรงได โดยการกําหนดจุดสนใจที่ตองการ ใหอยู  ในตําแหนงและรูปแบบที่ตางกันหรืออาจทําโดยใชภาพที่ซ้ําๆ กันปรากฏบนจอพรอมๆ กัน 2.6 ใชยดเวลาการเสนอจุดหรือสวนที่สําคัญของเนื้อหา เชนภาพที่สําคัญ ื สามารถปรากฏอยูบนจอตอไป ขณะที่รายละเอียดหรือสวนที่เกี่ยวของไดเปลี่ยนแปลง ไปในจอถัดไป 2.7 ลักษณะพิเศษประการสุดทายที่เดนของสื่อประสมประเภทนี้ คือ สามารถแสดง เนื้อหาไดมากในระยะเวลาที่จํากัด ลักษณะพิเศษนี้ผูสอนอาจใชส่อ ื ประสมนี้ทําเปนบทนํา หรือบทสรุปได 3. ประสมระบบการสื่อสารกับเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการใชคอมพิวเตอร รวมกับอุปกรณอื่น เพื่อใหคอมพิวเตอรสามารถทํางานคํานวณคนหาขอมูล แสดงภาพ วีดีทัศนและมีเสียงตางๆ การทํางานของสื่อหลายๆ อยางในสื่อประสมประกอบดวยการ ทํางานของระบบเสียง ภาพ เคลื่อนไหว ภาพนิ่ง วีดีทัศน และไฮเปอรเท็กซ ซึ่งขอมูลที่ใช ในไฮเปอรเท็กซจะแสดงเนื้อหาหลัก ของเรื่องราวที่กําลังอานขณะนั้นโดยเนนเปนเนื้อหา ถาคําใดสามารถเชื่อมจากจุดหนึ่งในเนื้อหาไปยังเนื้อหาอื่นไดก็จะทําเปนตัวหนาหรือ ขีดเสนใต เมื่อผูใชหรือผูอานตองการจะดูเนื้อหาก็สามารถใชเมาสคลิกไปยังขอมูลหรือ คําเหลานั้นเพื่อเรียกมาดูรายละเอียดของเนื้อหาได สรุปไดวา สื่อประสมจะแบงตามลักษณะของสื่อ และคุณลักษณะการใช คือ สื่อ ที่เปนวัสดุอุปกรณ สื่อที่เปนประเภทฉาย และสื่อประเภทเทคโนโลยีโดยใชคอมพิวเตอร เปนอุปกรณชวยเสริมเพื่อใหเกิดความนาสนใจ ระบบเสียงแสง สี และเนื้อหามี ความสัมพันธกัน
  • 23. 31 ลักษณะการใชสื่อประสม กิดานันท มลิทอง (2548, หนา 192-193) กลาววา ดวยพัฒนาการของเทคโนโลยี ทําใหปจจุบันมีการใชสอประสมแตกตางจากเดิมที่เคยใชมา ลักษณะการใชสื่อประสม ื่ แบงออกเปน 2 รูปแบบ ดังนี้ 1. สื่อประสม I (multimedia I) เปนการนําสื่อหลายประเภทมาใชรวมกันใน  ลักษณะสื่อประสมแบบดังเดิม โดยที่แตละสื่อจะมีสมบัติเฉพาะตัวของสื่อนั้นๆ เชน สื่อ สิ่งพิมพเปนขอความและภาพ ของจําลองเปนวัตถุยอสวน สไลดเปนภาพนิ่งกึ่งโปรงแสง ฯลฯ มีการนําเสนอแตละอยางประกอบหรือเสนอตามลําดับขั้นตอนของเนื้อหา 2. สื่อประสม II (multimedia II) เปนสื่อประสมที่ใชคอมพิวเตอรเปนอุปกรณ ในการผลิตสารสนเทศและนําเสนอสารสนเทศในรูปแบบของขอความ ภาพกราฟก ภาพ แอนิเมชันภาพ เคลื่อนไหวแบบวีดีทัศน และเสียง การใชคอมพิวเตอรลักษณะนี้สามารถ ใชได 3 วิธีการ คือ 2.1 การใชคอมพิวเตอรเปนอุปกรณในการควบคุมอุปกรณตางๆ ในการ ทํางานเพื่อนําเสนอขอมูลสารสนเทศ เชน ควบคุมการเสนอภาพสไลดมัลติวิชั่น เปนตน 2.2 การใชคอมพิวเตอรเปนอุปกรณในการผลิตไฟลสื่อประสม โดยใช ซอฟตแวรโปรแกรมสําเร็จรูปตางๆ เชน Power Point, Tool Book และ Author Ware และนําเสนอไฟลสื่อประสมที่ผลิตแลว ซอฟตแวรโปรแกรมจะชวยในการผลิตไฟลเพื่อ ใชในบทเรียน ฝกอบรมและ การนําเสนองาน โดยแตละไฟลจะมีลักษณะของขอความ ภาพกราฟก ภาพแอนิเมชัน และเสียงรวมอยูในไฟลเดียวกัน 2.3 การใชคอมพิวเตอรเปนอุปกรณในการนําเสนอไฟลสื่อประสมที่ผลิต และเก็บบันทึกไว โดยสามารถนําเสนอขอมูลเรียงตามลําดับเนื้อหาตั้งแตตนจนจบ เชน นําเสนอเนื้อหาดวยโปรแกรม Power Point ไปตามลําดับที่ละสไลด การอานหนังสือ อิเล็กทรอนิกสทละหนา และใชในลักษณะสื่อประสมเชิงโตตอบที่ผูใชสามารถมี ี ปฏิสมพันธโตตอบกับสื่อโดยตรง โดยการคลิกเมาสหรือใชเสียง ดังเชนบทเรียน ั คอมพิวเตอรชวยสอน ที่เรียกยอๆ วา บทเรียนซีเอไอ