SlideShare a Scribd company logo
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่า
วรรณคดีและวรรณกรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วัชรพล วิบูลยศริน
หลักสูตรภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวน
ดุสิต
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 หน้าที่สาคัญของวรรณกรรมและวรรณคดี คือ การแสดงเนื้อเรื่อง หรือการเล่าเรื่อง
 การเล่าเรื่องได้สมจริงเสมือนจาลองมาจากชีวิตจริงต้องมีองค์ประกอบ 6 ประการ
ดังนี้
1. โครงเรื่อง
2. แก่นเรื่อง
3. ตัวละคร
4. บทสนทนา
5. เวลาและสถานที่
6. มุมมอง
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 ในขณะเดียวกันผู้แต่งต้องมีเทคนิค หรือกลวิธีการประพันธ์ให้เนื้อเรื่องน่าสนใจและมี
คุณค่า ได้แก่
1. การดาเนินเรื่อง
2. ท่วงทานองการเขียน
3. ปรัชญา
4. น้าเสียงของผู้ประพันธ์
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 โครงเรื่อง (plot) ได้แก่ โครงสร้างของบทบาท หรือนาฏการ ซึ่งได้จัดระเบียบไว้
เพื่อให้บรรลุผลกระทบทางด้านอารมณ์สะเทือนใจและศิลปะ ประกอบด้วยเนื้อเรื่อง
และความขัดแย้ง
 เนื้อเรื่อง (Story) คือ การประมวลเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามลาดับเวลาในงาน
วรรณกรรมตั้งแต่ต้นจนจบ ดังนั้น เนื้อเรื่องจึงมิใช่โครงเรื่อง แต่มีความสัมพันธ์เป็ นหนึ่ง
เดียวกัน
 ความขัดแย้ง (Conflict) เป็ นสิ่งจาเป็ นอย่างยิ่งของโครงเรื่อง ความขัดแย้งทาให้เห็น
ทิศทางของวรรณคดี ผู้แต่งต้องควบคุมความขัดแย้งนี้อย่างแนบเนียนพิถีพิถัน จึงจะทา
ให้เนื้อเรื่องน่าเชื่อถือและมีคุณค่า
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 ตัวอย่างของความขัดแย้ง เรื่อง รามเกียรติ์ เป็ นความขัดแย้งของตัวละครฝ่ายดี คือ
พระราม (Protagonist) และตัวละครฝ่ ายอธรรม คื อ ทศกัณ ฐ์
(Antagonist) พระรามเป็ นมนุษย์เดินดินมีศรวิเศษ 3 เล่ม ทศกัณฐ์เป็ นยักษ์ที่มี
ฤทธานุภาพ พระรามใช้เวลา 14 ปี กว่าจะสังหารทศกัณฐ์ได้ ความขัดแย้งจึงยุติลง
 ในวรรณคดีอาจกาหนดความขัดแย้งได้ 3 วิธี คือ
1. ความขัดแย้งระหว่างตัวละครเอกกับบุคคลอื่น (มนุษย์กับมนุษย์) เช่น
ขุนแผนกับขุนช้าง นางวิมาลากับนางตะเภาทองตะเภาแก้ว ศรีมาลากับสร้อยฟ้ า ชูชกกับ
นางอมิตดา
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
1. ความขัดแย้งระหว่างตัวละคร
เอกกับบุคคลอื่น (มนุษย์กับมนุษย์) เช่น
ขุนแผนกับขุนช้าง นางวิมาลาและนาง
เลื่อมลายวรรณกับนางตะเภาทอง ศรีมาลา
กับสร้อยฟ้ า ชูชกกับนางอมิตดา
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
2. ความขัดแย้งระหว่างตัวละคร
เอกกับตนเอง อาจเป็ นความขัดแย้งทาง
กายภาพ เช่น ความพิการทางร่างกาย
ความขัดแย้งทางจิตใจ/ทางอารมณ์ และ
คุณธรรม ตัวละครต้องตัดสินใจทาอย่างใด
อย่างหนึ่ง อาจพ่ายแพ้ต่อคุณธรรม หรือ
เอาชนะใจตนเอง เช่น พระเวสสันดร
พระราชทานสองกุมารให้ชูชก
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
3. ความขัดแย้งระหว่างตัวละครเอก
กับสภาพแวดล้อม อาจเป็ นธรรมชาติหรือ
สังคม หรือแม้แต่โชคชะตาของมนุษย์ เช่น
สภาพความแห้งแล้งของอีสานในเรื่อง ลูก
อีสาน และรวมเรื่องสั้นชุด ฟ้ าบ่กั้น น้าป่ า
ไหลท่วมบ้านเมืองในเรื่อง กาพย์พระไชย
สุริยา ความขัดแย้งของแม่พลอยกับสังคม
ที่เปลี่ยนไปในเรื่อง สี่แผ่นดิน
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การวิเคราะห์โครงเรื่อง
 การอธิบายถึงสถานการณ์ในตอนเปิ ด
เรื่อง เป็ นการเล่าอธิบายนาเรื่องเข้าสู่
ปัญหา ปูพื้นฐานให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อเรื่อง
ตอนต่อไป เช่น ขุนช้างขุนแผน กวีเปิ ด
เรื่องด้วยการกล่าวถึงครอบครัว 3
ครอบครัว หัวหน้าครอบครัวสิ้นชีวิตด้วย
สาเหตุต่าง ๆ กัน เหลือแต่ภรรยาม่าย
ตัวละคร 3 ตัวเป็ นเพื่อนกันตั้งแต่เด็ก
เมื่อโตเป็ นหนุ่มสาวพลายแก้วได้แต่งงาน
กับนางพิมพิลาไลย
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การวิเคราะห์โครงเรื่อง
 ปัญหาเริ่มปรากฏ เมื่อพระพันวษารับสั่ง
ให้พลายแก้วไปรบศึกเชียงทอง ขุนช้าง
จึงพยายามใช้กลอุบายเพื่อจะได้พิมพิลา
ไลย นับเป็ นการเริ่มต้นของปัญหา
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การวิเคราะห์โครงเรื่อง
 การขยายตัวคลี่คลายปัญหา หรือเรียก
อีกนัยหนึ่งว่า “การพัฒนาเรื่อง” การ
พยายามแก้ปัญหาของตัวละครทาให้
ความขัดแย้งมากขึ้น พลายแก้วชนะศึก
ได้นางลาวทอง วันทองและลาวทอง
ทะเลาะกันรุนแรงจนขุนแผนโกรธพานาง
ลาวทองไปบ้านกาญจนบุรี ขุนช้างได้นาง
วันทองไป และหาอุบายกราบทูลพระ
พันวษาจนขุนแผนต้องพรากจากนางลาว
ทอง จนเกิดปัญหาบานปลาย
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การวิเคราะห์โครงเรื่อง
 เนื้อเรื่องส่วนใหญ่และความสนุกสนาน
จะปรากฏอยู่ในระยะการพัฒนาเรื่องมาก
ที่สุด ความขัดแย้งของตัวละครทาให้เนื้อ
เรื่องเบี่ยงเบนไปหลายทิศทาง ขึ้นอยู่กับ
ฝีมือของผู้แต่งว่าจะควบคุมเนื้อเรื่องได้
อย่างไร จึงจะทาให้ผู้อ่านคาดเดา
เหตุการณ์ตอนจบไม่ได้
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การวิเคราะห์โครงเรื่อง
 สถานการณ์วิกฤต หรือจุดสุดยอดของ
เรื่อง (Climax) ความขัดแย้งอย่าง
รุนแรงถึงที่สุด ส่งผลให้ตัวละครต้อง
ตัดสินใจอย่างใดอย่างหนึ่งหรือประสบ
ชะตากรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อพระ
พันวษาถามวันทองว่าจะตัดสินใจอยู่กับ
ใคร นางตัดสินใจไม่ได้จึงทูลให้พระ
พันวษาตัดสิน พระองค์กริ้วว่าวันทอง
หลายใจ โลเล จึงตัดสินประหารชีวิต จุด
นี้คือจุดสุดยอดของเรื่องขุนช้างขุนแผน
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การวิเคราะห์โครงเรื่อง
 การคลี่คลายเข้าสู่จุดจบ เมื่อผ่านจุดสุด
ยอดมาแล้ว เนื้อเรื่องคลี่คลายเข้าสู่จุด
จบโดยเร็ว ในงานทาศพนางวันทองซึ่ง
เป็ นงานศพหลวง ตัวละครมาชุมนุมเป็ น
ครั้งสุดท้ายก่อนยุติบทบาท
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การวิเคราะห์โครงเรื่อง
 จุดจบของปัญหา ในงานศพนางวันทอง
ก่อนขุนช้างจะบวชเณรและพระไวยบวช
พระ ต่างก็กล่าวสมาลาโทษ ยุติการ
อาฆาตจองเวรกันและกัน ขุนช้างสึกจาก
บวชเณรก็กลับไปสุพรรณ แล้วไม่มี
บทบาทอีกเลย ขุนแผนกลับไปเป็ นเจ้า
เมืองกาญจนบุรี พระไวยเป็ นขุนนางอยู่
กรุงศรีอยุธยาพร้อมด้วยนางศรีมาลา
สร้อยฟ้ า ย่าทองประศรีและพลายชุมพล
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 โครงเรื่องรอง (Subplot) คือ เรื่องที่สองที่สมบูรณ์และน่าสนใจ ซ้อนอยู่ในโครง
เรื่องใหญ่ โครงเรื่องนี้วิเคราะห์ได้ใกล้เคียงกับโครงเรื่องใหญ่ คู่ขนานไปกับโครงเรื่อง
ใหญ่เพื่อแสดงความแตกต่างหรือสนับสนุนโครงเรื่องใหญ่ให้สมบูรณ์มากขึ้น เช่น
 เรื่องกฤษณาสอนน้องคาฉันท์ โครงเรื่องใหญ่คือ นางกฤษณากับพระสวามีทั้งห้า โครง
เรื่องรองคือ นางจันทรประภากับพระสวามีคนเดียว
 เรื่องมหาเวสสันดรชาดก โครงเรื่องของชูชกและนางอมิตดาเป็ นโครงเรื่องรองที่ทาให้
บทบาทของพระเวสสันดรเด่นชัดขึ้น
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 เรื่องเหนือวิสัย (Fantasy) เป็ น
จินตนาการเรื่องที่เหนือจริงของผู้แต่ง
แต่ดูเหมือนจะเป็ นไปได้ ซึ่งผู้อ่าน
ยอมรับและสนุกสนานกับเนื้อเรื่องและ
จินตนาการ เรื่องเหนือวิสัยสมัยก่อน
เป็ นเรื่องเรื่องเวทมนต์คาถา ปาฏิหาริย์
ของวิเศษ มนุษย์ต่างดาว เช่น นางแก้ว
หน้าม้า โดราเอมอน แฮร์รี่พอตเตอร์
กาเหว่าที่บางเพลง
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 เหตุประจวบหรือเหตุบังเอิญ (Co-
incident) หมายถึง เรื่องที่เกิดขึ้ น
โดยไม่น่าจะเป็ นไปได้ในชีวิตมนุษย์ทั่วไป
เหตุประจวบนี้มักมีเมื่อผู้แต่งผูกปมปัญหา
ขึ้นมาแล้วไม่อาจหาวิธีแยบคายที่แก้ไข
ปัญหาได้ จึงต้องใช้วิธีการตัดปัญหาให้
ลุล่วงไปโดยใช้เหตุการณ์ที่ไม่สมจริงหรือ
เป็ นไปได้ยากในชีวิตจริง เช่น ไพโรจน์ใน
น้าตากามเทพพิสูจน์ตัวเองว่าเป็ นหลาน
แท้ ๆ ของตระกูลได้แล้ว แต่ในตอนจบ
กลับมีตัวละครอีกตัวปรากฏขึ้นมาแล้ว
บอกว่าเป็ นหลานตัวจริง
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 ความใคร่รู้เรื่อง (Suspense)
ขณะที่ผู้อ่านอ่านหนังสืออยู่นั้น ผู้อ่าน
จะคาดเดาเหตุการณ์ไว้ล่วงหน้าว่าควร
จะเป็ นอย่างไร อะไรจะเกิดขึ้นต่อไป
ความอยากรู้อยากเห็นทาให้ผู้อ่าน
ติดตามเรื่องต่อไปจนได้คาตอบ
นักเขียนที่มีความสามารถจะวาง
เงื่อนไขอาพรางไว้แล้วเปิ ดเผยตอนจบ
ของเรื่อง
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การประเมินค่าโครงเรื่อง
1. โครงเรื่องมีความสัมพันธ์กัน
ระหว่างเหตุการณ์ต่าง ๆ ในเรื่อง ประดุจ
ลูกโซ่เกี่ยวเนื่องกัน จากเรื่องเล็กไปสู่เรื่อง
ใหญ่อย่างมีเอกภาพ มีรายละเอียดเท่าที่
จาเป็ นไม่มากหรือน้อยจนเกินไปจนเนื้อ
เรื่องแน่นหลวม เหตุการณ์ในเนื้อเรื่อง
ได้รับการคัดเลือกแล้วว่าเหมาะสมกับการ
ดาเนินเรื่อง
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การประเมินค่าโครงเรื่อง
2. ถ้ามีโครงเรื่องรอง จะต้องให้มี
ความหมายต่อโครงเรื่องใหญ่ และมี
ความสัมพันธ์กัน
3. มีกลวิธีในการลาดับเรื่องให้เข้าใจ
ได้กระจ่างแจ้ง มีวิธีเปิ ดและปิ ดเรื่องอย่าง
น่าประทับใจ
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การประเมินค่าโครงเรื่อง
4. สร้างความสนใจใคร่รู้เรื่อง
ต่อไป คือการสร้างเงื่อนไขที่ต้องการคาอา
อธิบาย
5. มีข้อขัดแย้งที่น่าสนใจในโครง
เรื่อง เช่น ข้อขัดแย้งระหว่างคนต่างวัย
ต่างความคิด ข้อขัดแย้งระหว่างวัฒนธรรม
ของสามีภรรยาที่ต่างเชื้อชาติกัน
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การประเมินค่าโครงเรื่อง
6. ไม่มีเหตุประจวบหรือเหตุ
บังเอิญ และถ้าหากมี ผู้แต่งก็ต้องมี
ความสามารถที่เรียกว่าใช้เป็ น
7. ชี้ให้ผู้อ่านเห็นโลก หรือสังคม
มนุษย์ และชีวิตมนุษย์อย่างกว้างขวาง
ลึกซึ้ง
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 แก่นเรื่อง หรือสารัตถะ (theme)
เป็ นสารที่ผู้แต่งสื่อมายังผู้อ่าน แสดงให้
เข้าใจว่าวิถีทางแห่งโลกเราหรือมนุษย์
เราก็เป็ นเช่นนี้ ผู้อ่านเข้าใจแก่นเรื่อง
ได้ เพราะมนุษย์เรามีชีวิตอยู่บนโลก
เดียวกัน มีประสบการณ์ร่วมกัน เผชิญ
ปัญหาทั่วไปของชีวิตคล้ายกัน รับรู้
อารมณ์และประสบการณ์ร่วมกัน
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 ด้วยเหตุที่วรรณคดีไทยหลายเรื่องมีบ่อ
เกิดจากศาสนาและเรื่องชาดก แก่น
เรื่องของวรรณคดีไทยจึงสะท้อน
ปรัชญาพุทธศาสนาเป็ นส่วนมาก เช่น
 เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวรใน
เรื่อง ฑีฆาวุกุมาร
 ผู้มีความเมตตากรุณาย่อมได้รับ
ผลตอบแทนดีในเรื่อง สุวรรณสาม
ชาดก
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 สัจธรรมของโลกอาจไม่ใช่หลัก
ศีลธรรมทางพุทธศาสนาเพียงอย่าง
เดียว กวีบางคนสะท้อนลักษณะวิสัย
ธรรมดาของมนุษย์และโลกได้อย่าง
เฉียบคม
“มนุษย์นี่ที่รักอยู่สองสถาน
บิดามารดารักมักเป็ นผล
ที่พึ่งหนึ่งพึ่งได้แต่กายตน
เกิดเป็ นคนคิดเห็นจึงเจรจา”
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การอ่านเพื่อค้นหาแก่นเรื่อง
1. พิจารณาจากตัวละครในเรื่อง
ว่าเป็ นคนอย่างไร แบบไหน เป็ นตัวแทน
ของอะไร สื่อความหมายถึงสิ่งใด
2. สถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับตัว
ละครและปัญหาที่ตัวละครเผชิญ
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การอ่านเพื่อค้นหาแก่นเรื่อง
3. ตัวละครมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับ
สถานการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นอย่างไร
4. ผลที่เกิดขึ้นคืออะไร
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การประเมินค่าแก่นเรื่อง
1. แก่นเรื่องนั้นมีลักษณะสมจริง
ต่อสภาพสังคม และของมนุษย์เพียงใด ทา
ให้ผู้อ่านเข้าใจโลกและพฤติกรรมของ
มนุษย์ได้กว้างขวางลึกซึ้งเพียงใด
2. ผู้แต่งสามารถแสดงลักษณะ
ธรรมชาติของมนุษย์ได้ชัดเจนแจ่มแจ้ง
หรือคลุมเครือสื่อความหมายไม่ชัดเจน
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การประเมินค่าแก่นเรื่อง
3. แ ก่ น เรื่ องนั้น เป็ นกา ร
สร้างสรรค์ ส่งเสริมระดับจิตใจ หรือ
ตระหนักในอุดมการณ์ของมนุษย์เพียงใด
ช่วยให้บังเกิดความรู้ ความเข้าใจชีวิตและ
โลกให้แก่ผู้อ่านเพียงใด สะท้อนให้แง่มุม
ชีวิตหลากหลายหรือไม่
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 ตั ว ล ะ ค ร แ ล ะ บ ท ส น ท น า
(Character and dialogue)
เป็ นผู้ที่มีบทบาทในวรรณคดีประเภท
เรื่องเล่าและบทละคร ผู้อ่านจะตีความ
เอาเองว่า ตัวละครมีศีลธรรมจรรยา
และอารมณ์อย่างไร จากการแสดงออก
ด้วยบทสนทนาและการกระทาเรียกว่า
บทบาท
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 ตัวละครส่วนใหญ่เป็ นคน แต่ตัวละคร
จะเป็ นสัตว์หรือสิ่งของก็ได้ตามแต่
ผู้ประพันธ์กาหนด เช่ น ลิ งใน
รามเกียรติ์ ม้านิลมังกร ม้าสีหมอก นิก
กับพิม วาฬโมบิดิก (Moby-Dick;
or, The Whale) ผ้าขี้ริ้วในเรื่อง
การผจญภัยของผ้าขี้ริ้ว
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การสร้างลักษณะนิสัยของตัวละคร
 1. ตัวลักษณะแบบแบน (Flat
Character) ได้แก่ ตัวละครที่มี
ลักษณะนิสัยเพียงอย่างเดียวคงที่
ตลอดเรื่อง เช่น พระเวสสันดร (มุ่ง
บาเพ็ ญทานบารมี ) นางสี ดา
(จงรักภักดี) ยศในเรื่องมาลัยสาม
ชาย (อวดดี ถือตัว) ลอออร (ดีงาม)
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การสร้างลักษณะนิสัยของตัวละคร
 2. ตัวลักษณะแบบกลม (Round
Character) ได้แก่ ตัวละครที่มี
บุคลิกภาพซับซ้อน ปมปัญหาและ
ความขัดแย้งจะทาให้ตัวละคร
เปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพและอารมณ์
ความรู้สึกนิดคิดอย่างสมเหตุสมผล
เช่น วันทอง ขุนแผน ไอ้ฟัก
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การสร้างลักษณะนิสัยของตัวละครให้
ผู้อ่านรับรู้ได้
 1. การบรรยาย ผู้แต่งจะเป็ นผู้เล่า
เรื่อง อธิบายลักษณะที่ปรากฏแก่ตา
ตลอดจนความรู้สึกนึกคิด อารมณ์
ของตัวละครให้ผู้อ่านทราบ หรืออาจ
ให้ผู้เล่าเรื่องที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
เหตุการณ์เป็ นผู้เล่า ทรรศนะของเขา
จึงถูกจากัดเฉพาะสิ่งที่เขาเห็นได้เห็น
ได้รับรู้ หรือได้ยิน
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การสร้างลักษณะนิสัยของตัวละครให้
ผู้อ่านรับรู้ได้
 2. การแสดงให้เห็น ผู้แต่งเสนอตัว
ละครโดยให้พูดและให้แสดงบทบาท
แล้วให้ผู้อ่านวินิจฉัยเองว่า ตัวละครมี
ลักษณะนิสัยเป็ นเช่นไร
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การประเมินคุณค่าของตัวละคร
 พิจารณาลักษณะนิสัยของตัวละคร
(กลมหรือแบน)
 ตัวละครมีลักษณะสมจริง ใกล้เคียง
กับชีวิตมนุษย์หรือไม่ เป็ นตัวละครที่มี
ชีวิตจิตใจในความทรงจาของผู้อ่าน
หรือไม่
 การเปลี่ยนแปลงนิสัยของตัวละคร
ต้องเป็ นไปอย่างสมเหตุสมผล เป็ น
ความสมจริงที่ผู้อ่านเชื่อและยอมรับ
ได้
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 บทสนทนา (dialogue) คือการ
สนทนาโต้ตอบระหว่างตัวละครในเรื่อง
ผู้แ ต่ ง จ ะ ใ ช้บ ท ส น ท น า โ ด ย มี
วัตถุประสงค์ คือ
 เพื่อดาเนินเรื่องแทนการบรรยายของ
ผู้แต่ง โดยเฉพาะบทละคร บทสนทนา
เป็ นการดาเนินเรื่องโดยตรง
 เพื่อช่วยให้รู้จักตัวละครในเรื่อง ทั้ง
รูปร่างลักษณะนิสัยใจคอโดยผู้แต่งไม่
ต้องชี้แจงตรง ๆ
 “สวดมนต์เย็นบนพระที่นั่งบ่ายวันนี้มังคะ เสด็จให้มา
ทูลถามเสด็จ ว่าจะเสด็จหรือไม่เสด็จ ถ้าเสด็จจะ
เสด็จ เสด็จจะเสด็จด้วย”
 และเสด็จก็ตรัสตอบว่า …
 “พลอยถ้าจะยังไม่เคยได้ยินภาษาชาววัง ไหน พลอย
บอกมาลัยเขาสิว่า …เสด็จให้ไปทูลเสด็จว่าเสด็จจะ
เสด็จ ถ้าเสด็จจะเสด็จด้วย เสด็จก็จะดีพระทัย
มาก”
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 บทสนทนา (dialogue) คือการ
สนทนาโต้ตอบระหว่างตัวละครในเรื่อง
ผู้แ ต่ ง จ ะ ใ ช้บ ท ส น ท น า โ ด ย มี
วัตถุประสงค์ คือ
 เพื่อสร้างความสมจริง คาพูดที่สมมติ
ว่าเป็ นถ้อยคาจริง ๆ ของตัวละคร ทา
ให้รู้สึกใกล้ชิดกับความจริงมากกว่า
คาบรรยายของผู้แต่ง
 เพื่อทาให้บทประพันธ์น่าอ่าน น่าสนใจ
มีชีวิตชีวา โดยเฉพาะบทสนทนาที่
เป็ นโวหารคมคายกินใจ
 “ฉันตายโดยปราศจากคนที่รักฉัน แต่ฉันก็อิ่มใจว่า ฉันมีคนที่ฉัน
รัก”
 “โอ้ว่าอนิจจาความรัก พึ่งประจักษ์ดั่งสายน้าไหล
ตั้งแต่จะเชี่ยวเป็นเกลียวไป ที่ไหนเลยจะไหลคืนมา
สตรีใดในพิภพจบแดน ไม่มีใครได้แค้นเหมือนอกข้า
ด้วยใฝ่รักให้เกินพักตรา จะมีแต่เวทนาเป็นเนืองนิตย์”
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การประเมินค่าบทสนทนา
 พิจารณาว่าบทสนทนามีประโยชน์
อย่างไรในเรื่อง
 ผู้แต่งมีความสามารถเพียงใดในการ
สร้างบทสนทนาให้สอดคล้องกับ
บทบาท อุปนิสัยใจคอ ฐานะของตัว
ละคร
 มีความหมายและโวหารไพเราะกินใจ
ผู้อ่าน เป็ นข้อคิดให้ผู้อ่านได้เพียงไร
 “แล้วสอนว่าอย่าไว้ใจมนุษย์ มันแสนสุดลึกล้าเหลือกาหนด
ถึงเถาวัลย์พันเกี่ยวที่เลี้ยวลด ก็ไม่คดเหมือนหนึ่งในน้าใจคน
มนุษย์นี้ที่รักอยู่สองสถาน บิดามารดารักมักเป็นผล
ที่พึ่งหนึ่งพึ่งได้แต่กายตน เกิดเป็นคนคิดเห็นจึง
เจรจา
แม้นใครรักรักมั่งชังชังตอบ ให้รอบคอบคิดอ่านนะหลาน
หนา
รู้สิ่งไรไม่สู้รู้วิชา รู้รักษาตัวรอดเป็นยอดดี”
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 ฉาก (Setting) หมายถึง สถานที่
เวลาทางประวัติศาสตร์ และกรณี
แวดล้อมทางสังคมที่เกิดเหตุการณ์ใน
เรื่องนั้น ๆ เช่น ในเรื่องสีแผ่นดิน ฉาก
คือ บริเวณพระบรมมหาราชวัง บ้านแม่
พลอยที่คลองบางหลวง เวลาคือตั้งแต่
รัชกาลที่ 5-8
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 ฉากในวรรณคดีหรือนวนิยายบางครั้ง
เ ป็ น ส ถ า น ที่ จ ริ ง แ ล ะ เ ว ล า ใ น
ประวัติศาสตร์จริง เช่น ลิลิตยวนพ่าย
(เชียงใหม่) ระเด่นลันได (โบสถ์
พราหมณ์) พระอภัยมณี (เกาะแก้ว
พิสดาร)
 หรือบางครั้งอาจเป็ นฉากสมมติอย่าง
กว้าง ๆ เช่น สังข์ทอง รามเกียรติ์
จันทรโครพ
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 ฉากในละคร หมายถึง เวที ส่วนประกอบเวที ข้าวของเครื่องใช้และเครื่องตกแต่ง
ทั้งหลายในเวที แสง สี เสียง และบรรยากาศทั้งหมด
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 การประเมินคุณค่าฉาก
 ต้องคานึงถึงเนื้อเรื่อง ถ้าเป็ นเรื่องจริง
ฉากควรเป็ นสถานที่จริง เวลา และ
เหตุการณ์แวดล้อมในสังคม
 ฉากควรถูกต้องตามประวัติศาสตร์
แต่ถ้าเวลาและสถานที่มิใช้จุดเน้นใน
เรื่อง ฉากอาจกล่าวเพียงกว้าง ๆ ก็ได้
และควรสอดคล้องกับเนื้อเรื่อง
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 มุมมอง เป็ นกลวิธีในการเลือกผู้เล่า
เรื่อง
 กลวิธีการเล่าเรื่องโดยใช้บุรุษที่สาม
ผู้เล่าเรื่องเป็ นผู้รู้แจ้งเห็นจริงทุก
อย่าง รู้ความรู้สึกนึกคิดของตัวละคร
ผู้เล่าเรื่องเล่าอย่างมีขอบเขตจากัด
ทาหน้าที่เสมือนผู้สังเกตการณ์
จากัดตนเองให้เล่าได้เฉพาะ
เหตุการณ์ที่ประสบได้เห็นและได้
รู้สึกเท่านั้น
องค์ประกอบของวรรณกรรมและวรรณคดี
 มุมมอง เป็ นกลวิธีในการเลือกผู้เล่า
เรื่อง
 กลวิธีการเล่าเรื่องโดยใช้บุรุษที่หนึ่ง
บุรุษที่หนึ่งเป็ นผู้เล่าเรื่องและเป็ นตัว
เอก ผู้เล่าปรากฏในนวนิยายใน
ฐานะตัวละครเอกเล่าเรื่องตาม
มุมมองของตน
บุรุษที่หนึ่งเป็ นผู้เล่าเรื่องและเป็ นผู้รู้
เห็นเหตุการณ์ มิได้เป็ นตัวละครเอก
แต่เข้ามาเกี่ยวข้องและได้รับทราบ
เรื่องราวไม่มากก็น้อย
กิจกรรมมอบหมาย
คาชี้แจง
 นักศึกษาแต่ละคนยืมเรื่องสั้น/นวนิยาย จานวน 1 เล่ม ที่ห้องสมุด สานัก
วิทยาบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ (หรือหากมีเรื่องสั้น/นวนิยายเป็นของ
ตน ไม่จาเป็นต้องยืม)
 ต้องอ่านเรื่องสั้น/นวนิยายที่ยืมมาให้จบตลอดทั้งเล่มก่อน แล้วนามาติดตัว
เพื่อแสดงให้ผู้สอนพิจารณาในสัปดาห์หน้า (สัปดาห์ที่ 9)
หมายเหตุ: หากลืมนาติดตัวมา จะไม่มีคะแนนการทากิจกรรมครั้งหน้า
กิจกรรมมอบหมาย
คาชี้แจง
 นักศึกษาดาวน์โหลดเอกสารจากเว็บลิงก์ต่อไปนี้แล้วนามาในสัปดาห์หน้า
http://www.mediafire.com/
view/vrnnv1shf5uw9vb/
แนวทางในการวิจารณ์วรรณกรรม.pdf
กิจกรรมท้ายบทเรียน
คาชี้แจง
 อ่านบทประพันธ์ต่อไปนี้แล้ววิเคราะห์และประเมินคุณค่าตามองค์ประกอบ
ของวรรณคดีและวรรณกรรมทั้ง 6 ประการ ดังนี้
1. โครงเรื่อง 2. แก่นเรื่อง
3. ตัวละคร 4. บทสนทนา
5. เวลาและสถานที่ 6. มุมมอง
ขอทานตื่นแต่เช้าถือขันเปล่ามา
แถวสงฆ์งามสง่าออกบิณฑบาต
แม่ค้ากล่าวเท็จจนตลาดวาย
แว่วเสียงทางวัดร้องขายเครื่องราง
สายสายมีเล่นกลที่ตลาดกลาง
ที่วัดเสียงแจ้วเอ่ยอ้างปาฏิหาริย์
นักเล่นกลพิชิตงูเห่า
นักบุญเล่าพิชิตกิเลสตัณหา
งูเห่าถูกการาบจนสิ้นฤทธิ์
กิเลสก็ถูกพิชิตจนสิ้นร้อน
เดี๋ยวพังพอนจะกัดกับงูเห่า
ทางวัดเล่าก็บอกบุญเสียงเอื้อยอ่อน
คนไปวัดก็มากมาย
คนดูกลก็มากมุง
เด็กน้อยตื่นแตกแหวกคนเข้าไปดู
เห็นพอดีเขาเอางูออกจากถุง
กลับบ้านแม่อวดได้อ้ายขิกมา
ลูกยาจ้อเล่าเรื่องงูเห่าน้าลายฟุ้ ง
เล่าเกินเห็นมากมายไปแล้วหนู
เพียงได้ดูเขาเอางูออกจากถุง

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
Surapong Klamboot
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
Watcharapol Wiboolyasarin
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกKruBowbaro
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
marisa724
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
Nanthida Chattong
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
Warodom Techasrisutee
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
Surapong Klamboot
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
Patzuri Orz
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
Decha Sirigulwiriya
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
enksodsoon
 
โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6
WijittraSreepraram
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
 
โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 

Similar to การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม

ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
Ruangrat Watthanasaowalak
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
Watcharapol Wiboolyasarin
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)Mu Koy
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔r2d2ek
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรม
Attaporn Saranoppakun
 
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่างคำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
Kun Cool Look Natt
 
03 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น3
03 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น303 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น3
03 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น3
โรงเรียนเพลินพัฒนา สื่อสารองค์กร
 
9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797CUPress
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมOrapan Chamnan
 
9789740330295
97897403302959789740330295
9789740330295
CUPress
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1Tae'cub Rachen
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 

Similar to การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม (20)

ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรม
 
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่างคำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
 
03 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น3
03 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น303 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น3
03 +วิชาภูมิปัญญาภาษาไทยชั้น3
 
9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
7 2
7 27 2
7 2
 
9789740330295
97897403302959789740330295
9789740330295
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 

More from Watcharapol Wiboolyasarin

การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
Watcharapol Wiboolyasarin
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
Watcharapol Wiboolyasarin
 
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
Watcharapol Wiboolyasarin
 
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
Watcharapol Wiboolyasarin
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
Watcharapol Wiboolyasarin
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
Watcharapol Wiboolyasarin
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
Watcharapol Wiboolyasarin
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
Watcharapol Wiboolyasarin
 
Week 3 of TTFL
Week 3 of TTFLWeek 3 of TTFL
Week 2 of TTFL
Week 2 of TTFLWeek 2 of TTFL
Week 3 of WS4T
Week 3 of WS4TWeek 3 of WS4T
Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
Watcharapol Wiboolyasarin
 
Week 1 of TTFL
Week 1 of TTFLWeek 1 of TTFL
Week 1 of WS4T
Week 1 of WS4TWeek 1 of WS4T
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...Watcharapol Wiboolyasarin
 

More from Watcharapol Wiboolyasarin (16)

การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
 
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
Week 3 of TTFL
Week 3 of TTFLWeek 3 of TTFL
Week 3 of TTFL
 
Week 2 of TTFL
Week 2 of TTFLWeek 2 of TTFL
Week 2 of TTFL
 
Week 3 of WS4T
Week 3 of WS4TWeek 3 of WS4T
Week 3 of WS4T
 
Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 
Week 1 of TTFL
Week 1 of TTFLWeek 1 of TTFL
Week 1 of TTFL
 
Week 1 of WS4T
Week 1 of WS4TWeek 1 of WS4T
Week 1 of WS4T
 
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...
 
ความงามทางภาษา
ความงามทางภาษาความงามทางภาษา
ความงามทางภาษา
 

Recently uploaded

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม