SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
ตามกฎของเมนเดล
(Human Pedigree Analysis)
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
ตามกฎของเมนเดล
การถ่ายทอดของจีนเดี่ยวที่เป็น ไปตามกฎของเมนเดล
โดยแยกเป็น 2 แบบใหญ่ๆ คือ
• การถ่ายทอดพันธุกรรมที่ไม่สัมพันธ์กับเพศ
• การถ่ายทอดพันธุกรรมที่สัมพันธ์กับเพศ
• การศึกษาการถ่ายทอดพันธุกรรมในมนุษย์จึงทาโดยการ
สืบประวัติของครอบครัวที่มีลักษณะตามที่เราต้องการ
ศึกษา โดยเก็บข้อมูลบุคคลในครอบครัวหลาย ๆ รุ่นหรือ
ชั่วอายุ แล้วนามาเขียนเป็นแผนภาพแสดงลาดับเครือ
ญาติที่เรียกว่า พันธุประวัติ หรือพงศาวลี (Pedigree
หรือ Family tree)
พันธุประวัติ
สัญลักษณ์ในการเขียนพันธุประวัติ
สัญลักษณ์ในการเขียนพันธุประวัติ
สัญลักษณ์ในการเขียนพันธุประวัติ
• การถ่ายทอดพันธุกรรมที่ไม่สัมพันธ์กับเพศมนุษย์ เป็นการ
ถ่ายทอดผ่านทางออโตโซมแบ่งเป็น 2 แบบ ได้แก่
การถ่ายทอดพันธุกรรมที่ไม่สัมพันธ์กับเพศ
1.การถ่ายทอดพันธุกรรมของจีนเด่นทางออโตโซม (Autosomal
dominant inheritance)
การถ่ายทอดแบบนี้จะแสดงออกในทุกรุ่น ทั้งที่เป็นฮอมอไซกัสและ
เฮเทอโรไซกัส
พันธุประวัติแสดงการถ่ายทอดพันธุกรรม
ของจีนเด่นทางออโตโซม
กฎเกณฑ์การถ่ายทอดพันธุกรรม
ของจีนเด่นทางออโตโซม
กฎเกณฑ์การถ่ายทอดพันธุกรรมของจีนเด่นทางออโตโซม มีดังนี้
1. ความผิดปกติถ่ายทอดโดยตรงจากคนผิดปกติไปสู่คนผิดปกติ
นั่นหมายความว่า พบความผิดปกติได้ในทุกรุ่น
2. มีโอกาสพบเท่ากัน ทั้งในเพศหญิงและเพศชาย
3. ถ้าคนผิดปกติแต่งงานกับคนปกติ โดยเฉลี่ยลูกจะผิดปกติ
ร้อยละ 50
4. คนที่ผิดปกติทุกคนต้องมีพ่อแม่หรืออย่างน้อยคนใดคนหนึ่ง
ผิดปกติ
5. โอกาสการถ่ายทอดความผิดปกติมีเท่ากันทั้งในเพศชายและเพศ
หญิง
การถ่ายทอดพันธุกรรมที่ไม่สัมพันธ์กับเพศ
2. การถ่ายทอดพันธุกรรมของจีนด้อยทางออโตโซม
(Autosomal recessive inheritance)
จีนที่กาหนดลักษณะด้อยจะไม่แสดงออกในผู้ที่เป็นเฮเทอโรไซกัส
เพราะถูกจีนปกติที่กาหนดลักษณะเด่นบังไว้ แต่ก็เป็นพาหะ (Carrier)
ถ่ายทอดไปในครอบครัวหลายรุ่นโดยไม่ทราบ จนกว่าจะไปแต่งงานกับ
ผู้ที่เป็นเฮเทอโรไซกัสด้วยกัน ซึ่งทั้งคู่จะถ่ายทอดจีนผิดปกติให้แก่ลูกที่
เป็นฮอมอไซกัส ลักษณะผิดปกตินั้นจึงจะแสดงออกมา การแต่งงาน
กันในหมู่ญาติจะทาให้มีโอกาสสูงที่จะมีลูกผิดปกติ
พันธุประวัติแสดงการถ่ายทอดพันธุกรรม
ของจีนด้อยทางออโตโซม
กฎเกณฑ์การถ่ายทอดพันธุกรรม
ของจีนด้อยทางออโตโซม
กฎเกณฑ์การถ่ายทอดพันธุกรรมของจีนด้อยทางออโตโซม มีดังนี้
1. โดยทั่วไปพ่อแม่ และต้นตระกูลที่ถัดขึ้นไปมีลักษณะปกติ
2. พี่หรือน้อง พ่อแม่เดียวกันกับคนที่เป็นโรค จะมีโอกาสเป็น
โรคเฉลี่ย 25 เปอร์เซ็นต์
3. ทั้งเพศหญิงและเพศชายมีโอกาสเป็นโรคได้เท่า ๆ กัน
4. มักพบในกรณีการแต่งงานระหว่างญาติในพ่อแม่ของคนที่เป็นบ่อย
กว่าในประชากรทั่วๆ ไป
5. ลักษณะผิดปกติไม่พบติดต่อกันทุกรุ่น
การถ่ายทอดพันธุกรรมที่สัมพันธ์กับเพศ
• การถ่ายทอดพันธุกรรมในมนุษย์ทางโครโมโซมเพศ
เรียกว่า การถ่ายทอดพันธุกรรมที่สัมพันธ์กับเพศ
(Sex-linked inheritance) แบ่งได้เป็น 2 แบบใหญ่ ๆ ได้แก่
1. การถ่ายทอดพันธุกรรมทางโครโมโซม X (X-linked inheritance)
2. การถ่ายทอดพันธุกรรมทางโครโมโซม Y (Y-linked inheritance)
1. การถ่ายทอดพันธุกรรมทางโครโมโซม X
(X-linked inheritance)
การถ่ายทอดพันธุกรรมทางโครโมโซม X (X-linked inheritance)
แบ่งเป็น 2 แบบคือ
1.1 การถ่ายทอดพันธุกรรมของจีนเด่นบนโครโมโซม X (X-linked
dominant) ความผิดปกติที่เกิดจากการถ่ายทอดพันธุกรรมของจีน
เด่นบนโครโมโซม X นั้น พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย เช่น โรค
กระดูกอ่อน เมื่อกาหนดให้จีน R ควบคุมลักษณะเป็นโรค จีน r
ควบคุมลักษณะปกติ เพศหญิงที่ได้รับจีน R เพียงตัวเดียวจากพ่อแม่
ที่เป็นโรค จะมีจีโนไทป์เป็น X X ก็เป็นโรคส่วนเพศชายจะต้องได้รับจีนนี้
จากแม่ที่เป็นโรคนี้เท่านั้นจึงจะมีจีโนไทป์เป็น X Y เป็นโรค
R r
R
พันธุประวัติแสดงการถ่ายทอดพันธุกรรมของจีนเด่น
บนโครโมโซม X ซึ่งพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
กฎเกณฑ์การถ่ายทอดพันธุกรรมของจีน
เด่นบนโครโมโซม X
กฎเกณฑ์การถ่ายทอดพันธุกรรมของจีนเด่นบนโครโมโซม X มีดังนี้
1. ความผิดปกติถ่ายทอดไปทุกรุ่น
2. พบความผิดปกติได้ทั้ง 2 เพศ แต่พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
3. ความผิดปกติในเพศชายรุนแรงกว่าในเพศหญิง
4. เพศหญิงที่เป็นเฮเทอโรไซกัส ลูกมีโอกาสผิดปกติ 50 เปอร์เซนต์ไม่
ว่าจะเป็นเพศใด
5. เพศชายที่ผิดปกติ จะทาให้ลูกสาวผิดปกติทั้งหมด ส่วนลูกชาย
ปกติทั้งหมด
1. การถ่ายทอดพันธุกรรมทางโครโมโซม X
(X-linked inheritance)
1.2 การถ่ายทอดพันธุกรรมของจีนด้อยบนโครโมโซม X
(X-linked recessive)
การถ่ายทอดพันธุกรรมแบบนี้ในเพศชายมีโอกาสแสดงลักษณะออกมา
ได้ง่ายกว่าในเพศหญิง เนื่องจากในเพศหญิงมีโครโมโซม X 2 โครโมโซม
จะต้องมีจีนเป็นฮอมอไซกัสจึงจะแสดงลักษณะได้
พันธุประวัติแสดงการถ่ายทอดพันธุกรรม
ของจีนด้อยบนโครโมโซมX
กฎเกณฑ์การถ่ายทอดพันธุกรรมของจีน
ด้อยบนโครโมโซม X
กฎเกณฑ์การถ่ายทอดพันธุกรรมของจีนด้อยบนโครโมโซม X มีดังนี้
1. คนที่แสดงความผิดปกติส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในเพศหญิงก็พบได้แต่
น้อยกว่าเพศชาย
2. เพศหญิงที่แสดงความผิดปกติ จะต้องมีพ่อผิดปกติ ส่วนแม่อาจจะ
ผิดปกติหรือไม่ก็ได้กรณีที่แม่ปกติแสดงว่าแม่เป็นพาหะ (เฮเทอโรไซกัส)
3. เพศชายที่เป็นมักมีแม่ปกติเป็นพาหะ มีโอกาสจะมีลูกปกติ 50
เปอร์เซ็นต์
4. ลูกของเพศชายที่ผิดปกติจะปกติทั้งลูกชายและลูกสาว แต่ลูกสาวทุก
คนจะเป็นพาหะ ซึ่งจะส่งผลความผิดปกติต่อไปให้ลูกชายรุ่นต่อไป
5. เพศหญิงที่ผิดปกติจะมีลูกชายผิดปกติทุกคน
2. การถ่ายทอดพันธุกรรมทางโครโมโซม Y
(Y-linked inheritance)
กฎเกณฑ์การถ่ายทอดพันธุกรรมที่สัมพันธ์กับโครโมโซม Y มีดังนี้
1. ความผิดปกติจะพบเฉพาะในเพศชาย เนื่องจากโครโมโซม Y มีเฉพาะ
เพศชาย
2. เพศชายที่ผิดปกติต้องมีพ่อที่ผิดปกติ
3. พ่อที่ผิดปกติจะถ่ายทอดความผิดปกติให้ลูกชายทุกคน
จัดทาโดย
• นางสาวนารี ศรีบุญทัน 55131113010
• นางสาวจันทร์จิรา เทียนทอง 55131113016
• นายชัยวัฒน์ แสงทอง 55131113024
• นายวุฒิพงษ์ ทับกระโทก 55131113035
• นางสาวณัฐพร เผือดจันทึก 55131113059
สาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

More Related Content

What's hot

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกWichai Likitponrak
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนThanyamon Chat.
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)Waridchaya Charoensombut
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNattapon
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนMaruko Supertinger
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมYaovaree Nornakhum
 

What's hot (20)

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
 
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
 

More from Wuttipong Tubkrathok

สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมWuttipong Tubkrathok
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตWuttipong Tubkrathok
 
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงเหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงWuttipong Tubkrathok
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติWuttipong Tubkrathok
 
คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์Wuttipong Tubkrathok
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานWuttipong Tubkrathok
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ Wuttipong Tubkrathok
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisaลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ PisaWuttipong Tubkrathok
 
การวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดการวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดWuttipong Tubkrathok
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินWuttipong Tubkrathok
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนWuttipong Tubkrathok
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลWuttipong Tubkrathok
 
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทาแผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทาWuttipong Tubkrathok
 

More from Wuttipong Tubkrathok (20)

สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงเหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
ลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisaลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisa
 
การวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดการวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิด
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
The doppler effect
The doppler effect The doppler effect
The doppler effect
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
 
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทาแผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
 

การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์